The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการสอนสำหรับครูศิลปะ ฮูปเเต้มเมืองน่านองค์ความรู้ด้านจิตรกรรมสกุลช่างน่าน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chaichetphoto, 2022-12-02 02:15:43

คู่มือการสอนสำหรับครูศิลปะ ฮูปเเต้มเมืองน่าน องค์ความรู้ด้านจิตรกรรมสกุลช่างน่าน

คู่มือการสอนสำหรับครูศิลปะ ฮูปเเต้มเมืองน่านองค์ความรู้ด้านจิตรกรรมสกุลช่างน่าน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

คูม อื ประกอบการสอนฉบบั นจี้ ัดทําข้ึนเพ่ือใชเสริมการเรียนการสอน ดานจติ รกรรมฝาผนังรูปแบบสกุลชางนาน
เสริมในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (มัธยมศึกษาปที่ 4 – 6) กลุมสาระการเรียนรูวิชาศิลปศึกษา
โดยออกแบบและจัดทําใหมีเนื้อหาที่สอดคลองกับเนื้อหาของหนังสือออนไลน E – Book เรื่อง “ฮูปแตม
เมืองนาน” องคความรูดานจิตรกรรมฝาผนังสกุลชางนาน ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับจิตรกรรมฝาผนังสกุลชางนาน
พรอ มกับชุดภาพจิตรกรรมมีชวี ิต หรือ แอนเิ มชนั่ คณะผจู ดั ทาํ หวงั เปนอยางย่ิงวาคูมือประกอบการสอนฉบับน้ี
จะเปนประโยชนสําหรับกระบวนการเรียนรูของนักเรียน และครูสามารถนําไปใชเพื่อประกอบการเรียน
การสอนไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ และสามารถทาํ ใหนักเรยี นมีความเขาใจที่ถูกตองในเร่ืองของจิตรกรรมฝาผนัง
พนื้ ถ่ินรูปแบบสกุลชา งนาน ตลอดจนสามารถนําไปปรบั ใชในการสรางสรรคผ ลงานทางศลิ ปะในมติ ิตา งๆใหเกิด
ประโยชนอ ยา งสงู สดุ ตอไปในอนาคต

ผจู ดั ทำ
หอภาพถายลานนา
โดยมลู นธิ ิรองศาสตราจารย กันต พูนพิพัฒน
30 พฤศจิกายน พ.ศ.2565

1.1 กรอบองคความรูดา นจิตรกรรมฝาผนังพ้นื ถน่ิ สกุลชางนาน
ความรูพนื้ ฐาน

ดานจิตรกรรมฝาผนัง
พื้นถิ่นรปู แบบสกลุชา งนาน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 - 6

สรางความเขาใจ

จิตรกรรมฝาผนังใน จิตรกรรมฝาผนัง จิตรกรรมฝาผนังใน
ประเทศไทย ใน “ภูมิภาคเอเชยี “ลา นนา”
ตะวันออกเฉียงใต”

องคค วามรู

จติ รกรรมฝาผนัง
“สกุลชางนาน”
บูรณาการการเรยี นการสอนในสาระวชิ าศลิ ปะ แขวงวชิ าทัศนศิลป ดนตรี
และนาฏศลิ ป และขา มสาระ เชน สาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระภาษาไทย
สาระภาษาองั กฤษ ฯลฯ

• เขาใจรปู แบบการสรา งสรรคจ ติ รกรรมฝาผนังลา นนาและสกุลชางนา น นำไปสูแรงบนั ดาลใจทจี่ ะสรางสรรคผลงาน
ของตน ในดานตา งๆ

• เกิดความเขา ใจความเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร สังคม วฒั นธรรมและการเมอื งในอดีตเชอ่ื มโยงสูชวี ิตใน
ปจจบุ ัน สามารถใหความคดิ เหน็ ได

• เขาใจหลกั ธรรมในพระพทุ ธศาสนาทน่ี ำเสนอในจติ รกรรมฝาผนัง
• ตระหนักในคุณคา ของมรดกภูมปิ ญ ญาของบรรพชนลา นนา โดยเฉพาะสกลุ ชางนาน นำไปใชใ หเ กดิ ประโยชน

1.2 เนือ้ หาสาระการบรู ณาการเขา กบั การเรียน การสอน ในสาระวชิ าศลิ ปะและขา มสาระ
• สว นเสรมิ ในหลักสตู รการเรยี นการสอนในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย โดยมีวตั ถุประสงคเพื่อใหค รูได
ใชเปนส่ือการเรยี นการสอน แนะนำใหนักเรียนไดเรียนรอู งคความรูเ บ้ืองตน เกี่ยวกบั จติ รกรรมฝาผนงั
พนื้ ถิ่นรูปแบบสกุลชา งนา น อาจเกิดแรงบันดาลใจไปสรางสรรคผลงานทเี่ ปนเอกลักษณเฉพาะตน อัน
เปนการสงเสริมใหเกิดการตระหนักในคุณคางานจิตรกรรมพื้นถิ่น เกิดความรัก ความหวงแหน
อนรุ ักษ และสบื ทอดงานชางฝมอื ของทองถิน่
• ครูสามารถนำหนังสือเลมนี้ไปบูรณาการขามสาระ เพื่อกระตุนใหผูเรียนไดเรียนรูอยางมีความหมาย
โดยเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ใหผูเรียนฝกคิดวิเคราะห และเขาใจความเปลี่ยนแปลงทางประวัติศาสตร
สังคม วัฒนธรรมและการเมืองในอดีต เชื่อมโยงสูชีวิตในปจจุบัน ตระหนักในคุณคาของมรดกภูมิ
ปญญาของบรรพชนลานนา โดยเฉพาะสกลุ ชา งนา น
• ครูสามารถใชหนังสือเลมนเ้ี ปนสื่อใหผูเรียนเขาใจหลักธรรมในพระพุทธศาสนาท่ีนำเสนอในจิตรกรรม
ฝาผนัง
• ครูอาจใชหนังสือเลมน้ีเปนโจทยใหนักเรียนทำโครงงานเพื่อบูรณาการไปสูสาระภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษ ตลอดจนจัดกิจกรรมตางๆสงเสริมการทองเที่ยว และสามารถตอยอดใหเกิดเปนอาชีพ
และรายไดต อ ไปในอนาคต โดยยกตวั อยางประกอบการสอน ดังน้ี

1. ประวตั ิความเปน มาของ “จติ รกรรมฝาผนงั ” ในโลกและในประเทศไทย
ครูอาจแบงนักเรียนเปน 4 หรือ 5 กลุม แนะนำใหนักเรียนแตละกลุมเลือกไปสืบคนเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
ภาพเขียนจิตรกรรมบนฝาผนังที่ปรากฏในสถานที่ตางๆที่มีชื่อเสียงทั่วโลก ในประเทศเพื่อนบานในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต” และในภูมิภาคตา งๆของประเทศไทย ลา นนาตอนบน รวมทั้งนา น แลว ทำรายงาน
กลมุ หรือนำเสนอเก่ยี วกบั ที่มา ความโดดเดน และความหมายของจิตรกรรมเหลาน้ี
1.1. จิตรกรรมฝาผนงั ในโลก
1) ภาพเขียน “The Toreador Fresco” หรือ”วัวกระทิงวิ่งกระโจน” ท่ีเกาะครตี ประเทศกรซี
2) ภาพเขยี นจิตรกรรมบนผนงั ถ้ำอชนั ตา (Ajanta Caves) ประเทศอินเดีย
3) ภาพเขียนพระสมั มาสัมพทุ ธเจาปราบชางนาฬาครี ี ประเทศพมา
4) ภาพเขยี นชาดก วัดเตนมาซี อาณาจักรพกุ าม ประเทศพมา
5) ภาพจติ รกรรมฝาผนัง วดั ปา ฮวก (ปา รวก) หลวงพระบาง ประเทศลาว
6) ภาพอน่ื ๆท่นี กั เรียนชอบ
1.2. จิตรกรรมฝาผนงั ในประเทศไทย
1) ภาพเขยี นจิตรกรรมฝาผนงั วดั ชอ งนนทรี กรุงเทพฯ
2) ภาพเขยี นจิตรกรรมฝาผนังวดั เขยี น จังหวัดอางทอง
3) ภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังในพระทีน่ ัง่ พทุ ไธสวรรย
4) ภาพเขียนจิตรกรรมวัดคงคาราม จังหวัดราชบุรี
5) ภาพเขยี นจิตรกรรมฝาผนงั วัดปราสาท จังหวดั นนทบุรี
6) ภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังพระอโุ บสถหลงั เกาวัดบางพระ จงั หวัดนครปฐม
7) ภาพเขยี นจิตรกรรมฝาผนงั วัดมชั ฌมิ าวาส จังหวดั สงขลา
8) ภาพเขียนจติ รกรรมฝาผนงั วัดคเู ตา จังหวดั สงขลา
9) ภาพจติ รกรรมฝาผนังวดั ไชยศรี จังหวดั ขอนแกน
10) ภาพจติ รกรรมฝาผนัง วัดโพธ์ิคำ จงั หวดั นครพนม

1.3. ภาพจิตรกรรมฝาผนังใน “ลานนา”
1) ภาพจติ รกรรมในกรพุ ระเจดีย วัดแสนขาน (วัดราง) อำเภอเมอื งเชียงใหม จังหวดั เชยี งใหม
2) ภาพจิตรกรรมฝาผนัง วดั พระธาตุลำปางหลวง อำเภอเกาะคา จงั หวัดลำปาง
3) ภาพจติ รกรรมฝาผนังวัดปา แดด อำเภอเเมแ จม จงั หวัดเชยี งใหม
4) ภาพจิตรกรรมฝาผนัง วดั บวกครกหลวง อำเภอสันทราย จงั หวัดเชียงใหม
5) ภาพจิตรกรรมฝาผนัง วัดกองแขก อำเภอเเมแ จม จังหวดั เชียงใหม
6) ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดทาขา ม อำเภอเเมแ ตง จงั หวดั เชยี งใหม
7) ภาพจติ รกรรมฝาผนังวดั สบลี อำเภอเมืองปาน จังหวดั ลำปาง
8) ภาพจิตรกรรมฝาผนังวัดเวยี งตา อำเภอลอง จงั หวดั เเพร

1.4. ภาพจติ รกรรมฝาผนัง “สกุลชางนา น”
1) ภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนงั วัดหนองบัว อำเภอทา วังผา จังหวดั นา น
2) ภาพเขียนจติ รกรรมฝาผนังวัดภมู นิ ทร อำเภอเมอื งนา น จังหวัดนาน
3) ภาพเขยี นจติ รกรรมฝาผนังวัดพระธาตชุ า งคำ้ วรวหิ าร อำเภอเมืองนา น จังหวดั นาน
4) ภาพเขียนจิตรกรรมวดั รอ งแง อำเภอปว จังหวัดนาน
5) ภาพเขียนจติ รกรรมวดั หนองแดง อำเภอเชยี งกลาง จงั หวดั นาน
6) ภาพเขียนจิตรกรรมวดั ปา เหมอื ด อำเภอปว จังหวดั นา น

2. เนื้อหาสาระสำคญั ทีป่ รากฏในงานจิตรกรรมสกลุ ชา งนา น
2.1. ครูฉายภาพใหเห็นจิตรกรรมสกุลชางนานในรูปแบบตางๆเพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจวาจิตรกร
ในอดีตรังสรรคภาพวาดทั้งบนฝาผนัง บนผืนผา ภาพเขียน “พระบฏ”ปบสาผายันต ภาพเขียน
พระพุทธเจาบนแผงไม ฯลฯ ใหน กั เรียนเลือกภาพท่ตี นชอบ อธบิ ายสาเหตุทช่ี อบ ท้งั ในเชิงวิธีการวาด
ภาพ และความหมายของภาพ ลงคะแนนวาภาพใดเปน ท่ีนิยมในหอ งเรียน
2.2. จิตรกรรมพุทธประวตั ิ
2.3. ภาพเขยี นบคุ คล
2.4. ภาพเขยี นสถาปต ยกรรม
2.5. ภาพเขยี นสัตว
2.6. ภาพเขยี นอืน่ ๆ

3. กระบวนการและเทคนิคในการเขยี นภาพจติ รกรรมรูปแบบสกุลชางนาน
ฝกปฏิบัตกิ ารเขียนภาพจิตรกรรมรูปแบบสกลุ ชา งนา น เพอ่ื ใหน กั เรียนเกิดการเรยี นรู และเขาใจในรูปแบบ
การเขียนภาพจิตรกรรมรูปแบบสกุลชางนั้น เชน การเขียนภาพบุคคล การเขียนภาพเครื่องแตงกายของ
ชนชั้นตางๆ การเขียนภาพสถาปตยกรรม และการเขียนภาพสัตว ที่ปรากฏบนงานจิตรกรรมฝาผนังนาน
ดงั รายละเอยี ดตอ ไปนี้
3.1. ขั้นตอนการเตรยี มวัสดุและอุปกรณในการเขียนภาพจิตรกรรม
3.2. ข้นั ตอนการรา งภาพ
3.3. ขั้นตอนการเขยี นภาพ
3.4. ขัน้ ตอนการระบายสี
3.5. ขนั้ ตอนการตดั เสน

ตวั อยา งกจิ กรรมการเรียนรู
• สาระศิลปศึกษา ครูใหนักเรียนนำเสนอภาพที่ฝกวาด พรอมใหเขียนบรรยายภาพสั้นๆ โดยผลัดกัน
วิจารณภ าพของตนวาด และเพื่อนวาด แลว นำไปจดั นทิ รรศการในหรอื นอกหอ งเรียน
• สาระศิลปศึกษา นักเรียนฝกวาดภาพบุคคลผูมีสีหนา ทาทางหรืออารมณตางๆ สัตวประเภทตางๆ
ฝกเขียนคำบรรยายใตภาพสั้นๆ เปนภาษาไทยและอังกฤษ เชน The princess fighting on
elephant back เปนตน
• นักเรียนอาจลองทำงานกลุม โดยชว ยกันคัดลอกภาพจติ รกรรมรว มกนั บนกระดาษแผนใหญ
• ในสาระสังคมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม ใหนักเรียนสืบคนเก่ียวกับประเภทบุคคล สัตว หรือเครื่องใช
เพิ่มเติมในประเด็นที่เกี่ยวกับความเปนมา สัญลักษณหรือความหมาย การแตงกาย เครื่องประดับ
ลวดลายบนผา เชน ชนกลุมนอย ชาวตางประเทศ อาวุธ สัตวในอุดมคติ ฯลฯ โดยอาจเปรียบเทียบ
กบั ภาพในสงั คมปจ จบุ ัน
• ในสาระพระพุทธศาสนา นักเรียนอาจผลัดกันถามตอบปริศนาธรรมหรือธรรมะจากชาดกบน
จติ รกรรมฝาผนงั

1.3 แนวทางการนำองคความรู ไปบูรณาการในการสรา งสรรค ใหเกดิ ประโยชน
แนวทางการนำองคความรูที่อยูในทองถิ่นของตนไปบูรณาการในการสรางสรรคผลงานศิลปะในแขนงตางๆ
ใหเ กดิ ประโยชน ตวั อยางเชน
• การนำภาพจากจิตรกรรมทต่ี นชอบมาประดษิ ฐ จัดวางบนผลติ ภัณฑ เชนเลอื กนำภาพสัตวน า รกั หรือสัตว

ที่มีความหมายเปนมงคล ลวดลายพรรณพฤกษา ภาพเทวีตอสูบนหลังชาง เปนตนมาจัดวางบน ปกสมุด
ขนาดตางๆ ฝากลอ งขนาดตา งๆ ท่คี ัน่ หนงั สือ พดั กระดาษ แผนไม ฯลฯ
• การนำองคความรูจ ากชาดกและพระพทุ ธประวัติในจติ รกรรมฝาผนังสูการแสดงประกอบดนตรีพ้ืนบา นที่
มเี อกลักษณเฉพาะตน
• การบูรณาการองคความรูสูการสรา งรายไดในระดับวิสาหกจิ ชุมชน เชน การจัดทำของที่ระลกึ ผลิตภณั ฑ
ชุมชน ฯลฯ
• การสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเท่ียวทีส่ ามารถดึงดูดความสนใจของนักทองเที่ยวใหเขามาทองเทีย่ วใน
พื้นที่เพิ่มมากขึ้น ตลอดจนสงเสริมใหเยาวชนเกิดการตระหนักในคุณคางานศิลปวัฒนธรรมทองถิ่น เกิด
ความรกั ความหวงแหน และรว มกันสืบทอดมรดกวฒั นธรรมอันทรงคุณคาใหธ ำรงอยูตอ ไปในอนาคต
โดยยกตัวอยางผลงานสรางสรรคจากการนำองคความรูทางศิลปะที่มีอยูในชุมชนของตนมาตอยอดสรางสรรค
ใหเกิดประโยชนในมิติตางๆ โดยเปดตัวอยางการสรางสรรคผลงานที่บูรณาการองคความรูจนเกิดเปน
เอกลักษณเ ฉพาะตน ดังตวั อยางตอไปนี้
• ศูนยศิลปะ หมอลำหุน อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม ทางรายการ สีสันมหรสพ ชื่อชุดการแสดง
“หมอลำหุนกระตบิ๊ ขาวแหงนาดูน” ทางชองสถานีโทรทัศนไทยพีบเี อส Thai PBS
https://www.facebook.com/watch/live/?ref=watch_permalink&v=1937288049994741
• ผลติ ภณั ฑ : A.Nan (อนันต) - จ.นา น http://cosci.swu.ac.th/showcase/inno/2020/anan
• ผลิตภัณฑข องฝากจากนา น
https://www.facebook.com/photo/?fbid=4757882864319494&set=pb.100063983405753.-
2207520000.
• ตวั อยา งวีดที ศั นการทองเทย่ี วเมอื งนา น จากเฟซบกุ Let's Go : เหนอ่ื ยตอ งเทย่ี ว
https://www.facebook.com/doisterwannabe/videos/4159933434103741
https://www.facebook.com/100044244528690/videos/1578436205693257


Click to View FlipBook Version