Swai
ผ้าไหมใต้ถุนเรือน
By ปฏิพล สัทธฑรมมา 6242215627
คำนำ
หนังสือเล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 2751494 ธุรกิจ
ศึกษาเพื่อการพัฒนาเศรฐกิจชุมชน จัดทำขึ้นเพื่อ สืบสาน พัฒนา
และต่อยอด อาชีพของชุมชน เพื่อสร้างคุณค่าและมูลค่าของสิ่งที่
มีอยู่ในชุมชนให้เพิ่มมากขึ้นจากเดิม และทำให้ตระหนักถึงคุณค่า
ของภูมิปัญญาท้องถิ่นของชุมชนนั้นๆ และเห็นความสำคัญของสิ่ง
ที่มีอยู่ในชุมชนของตนเอง
ชุมชนผ้าไหมใต้ถุนเรือน ที่ตำบลสวาย จังหวัดสุรินทร์มี
ความเกี่ยวข้องกับผ้าไหมมาอย่างช้านาน และเป็นของขึ้นชื่อของ
จังหวัดสุรินทร์ และครอบครัวของผู้จัดทำมีความเกี่ยวข้องกับ
จังหวัดสุรินทร์โดยกำเนิดจึงเรียกได้ว่าเป็นสินค้าในบ้าน จึงสนใจ
และเลือกที่จะศึกษาและค้นหาแนวทางหรือวิธีที่จะช่วยเหลือสิ่งที่
ชุมชนของตนเองมีอยู่ ให้เพิ่มมูลค่าเพิ่มไปอีกได้
ปฏิพล
สารบัญ หน้า
รายการ 1
3
ประวัติชุมชน 4
5
โครงสร้างชุมชน 7
9
แผนที่เดินดิน 10
ปฏิทินชุมชน 12
ต้นทุนทางสังคม 13
แผนที่ทรัพยากร 14
ประวัติสินค้า 15
Video แนะนำ 19
SWOT 21
เป้าหมายและวัตถุประสงค์ 23
ขั้นตอนการผลิตสินค้า 24
Business Model Canvas
การออกแบบผลิตภัณฑ์
4p
ผู้จัดทำ
ประวัติชุมชน
► บ้านสวาย เคยเป็นชุมชนที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาก่อน
มีชุมชนโบราณ คือ ชุมชนบ้านโคกเมือง
เป็นชุมชนโบราณหนึ่งใน ๒๘ แห่ง ที่อยู่ในตอนกลาง
อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์
สันนิษฐานว่าอาจเป็นส่วนของอาณาจักรโบราณ ◄
ที่ปรากฎในดินแดนไทย คือ อาณาจักรทวาราวดี
อาณาจักรเจนละ อาณาจักรฟู นาน และอาณาจักรขอมหรือเขมร
โบราณ มีอายุราวประมาณ พุทธศตวรรษที่ ๑๖
สมัยขอมเรืองอำนาจ เดิมบ้านโคกเมืองเป็นเมืองหน้าด่าน
อยู่ทางทิศใต้มีกำแพงดินเป็ นคูค่ายล้อมรอบ
-1-
ชุมชน บ้านสวายในสมัยเมืองสุรินทร์(ปัจจุบัน) เริ่มก่อตั้ง
เมืองตั้งแต่ พ.ศ.๒๓๐๖ – พ.ศ.๒๔๓๓ สมัยพระยาสุรินทร์
ภักดีศรีไผทสมันต์(เยียบ) เป็นเจ้าเมืองสุรินทร์
ได้มีราษฎรจากในกำแพงเมืองสุรินทร์อพยพไปอยู่นอก
เมือง เพื่อประกอบอาชีพเกษตรกรรมและตั้งหลักแหล่งใหม่
ได้แก่ บ้านสลักได บ้านแสลงพัน บ้านอาโพน บ้านแกน้อย
บ้านแกใหญ่ บ้านพระปืด และไปทางทิศใต้ คือ หมู่บ้าน
สวายนาแห้ว บางพวกไปตั้งรกรากที่อำเภอกระสัง อำเภอ
ประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ บรรพบุรุษของคนบ้านสวายที่
อพยพมาอยู่บ้านสวายนาแห้ว(หมู่ที่ ๗ ปัจจุบัน) มีอาชีพ
ทำนาทำไร่ เส้นทางที่ใช้เดินจากบ้านสวายไปที่นามีความ
ลำบากมาก มีระยะทางประมาณ ๓ – ๕ กิโลเมตร
ชาวบ้านจึงอพยพครอบครัวไปอยู่ที่หัวไร่ปลายนา บริเวณที่
ทำนานั้นมีหนองน้ำและต้นมะม่วงใหญ่ต้นหนึ่ง จึงพากัน
ตั้งชื่อบ้านว่า“บ้านสวาย” โดยเอาชื่อมะม่วงเป็นชื่อหมู่บ้าน
(สวายเป็นภาษา คแมร (เขมร) แปลว่า มะม่วง) ต่อมาเริ่มมี
ประชากรเพิ่มมากขึ้นจึงขยายหมู่บ้านออกไปทางทิศเหนือ
และทิศตะวันออก เกิดเป็นหมู่บ้านสวายใหม่ (หมู่ที่ ๓ ใน
ปัจจุบัน) และเรียกบ้านสวายเดิมว่า“บ้านสวายจ๊ะ” (หมู่ที่ ๑
ในปั จจุบัน)(จ๊ะเป็ นภาษาพื้นเมืองคแมร(เขมร)แปล
ว่า“เก่า”)
-2-
โครงสร้างชุมชนผ้าไหมใต้ถุนเรือน
อบต. สวาย
ประธานชุมชน
ประธาน ประธาน ประธาน ประธาน
กลุ่ม
กลุ่ม กลุ่ม กลุ่ม เกษตร
ตลาดไหม สตรีทอผ้าไหม ปลูกหม่อน อินทรีย์
เลี้ยงไหม
ประธานกลุ่ม = ผู้ใหญ่บ้าน
เวียนทุก 2 ปี
-3-
ปฏิทินชุมชน
มกราคม
ปีใหม่ (สวดมนต์ข้ามปีตามวัด)
มีนาคม
ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 4 งานแสวงบุญ
(ขึ้นเขาสวาย)
เมษายน
สงกรานต์ (ขนทรายเข้าวัด)
รำตรุษ
กรกฎาคาคม-กันยายน
เข้าพรรษาทำบุญเลี้ยงพระทุกวันเสาร์ วนตามวัด
แซนโฎนตา
ตุลาคม
ตักบารตเทโว
-4-
แผนที่เดินดิน 1 3
ตำบลสวาย 2
5
12 11 4 6
8
7
-5- 14
10 9
13
1 ต้นน้ำปลูกหม่อนเลี้ยงไหมกลุ่มอารยธรรมไหมสวาย ม.10 8 สระน้ำตาระวี
-6- 2 โรงเรียนบ้านสวาย 9 กลุ่มหัตถกรรมสตรีทอผ้าไหมบ้านสวาย
3 พระดินปั้ นวัดตาตอมจอมสวาย 10 ชุมชนถนนสายไหม
4 อบต. สวาย 11 กลุ่มเกษตรอินทรีย์ ม.4
5 วัดแสงบูรพา 12 อุตสาหกรรมครัวเรือน อุตมะ ไหมไทย ม.4
6 เรือนไหมโฮมเสตย์ ม.2 13 ร่องเรือเกาะตาเล็ก
7 ตลาดไหมใต้ถุนเรือน 14 วนอุทยานแห่งชาติพนมสวาย
ต้นทุน
ทุนมนุษย์
มีผู้เฒ่าผู้แก่ ที่สืบทอด กรรมวิธีการทอผ้าและสามารถ
ถ่ายทอดให้คนรุ่นใหม่ๆได้
นอกจากนี้ในชุมชนยังมีคนรุ่นใหม่ที่มีหัวคิดพัฒนาชุมชน
ด้วย
ทุนสังคม
คนในชุมชนเปรียบเสมือน พี่น้อง ครอบครัวเดียวกัน
มีความสนิทชิดเชื้อ มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนกันตลอด
ทำให้การทำงานเป็นกลุ่มเป็นระบบระเบียบ ลื่นไหล
ทุนกายภาพ
ผู้คนในชุมชน มีเครื่องมือในการทอผ้า
เช่น อุปกรที่เอาไว้ ทอผ้า กวักไหม อันตวง มัดหมี่
-7-
ทุนธรมชาติ
ชุมชนเป็นชุมชนชนบท ซึ่งมีความได้เปรียบเรื่อง
พื้นที่ไร่นาที่เยอะ มีแหล่งน้ำที่อยู่ใกล้กับชุมชน
ทำให้ชุมชนมีทั้ง ปลา ปศุสัตว์ ฟาร์ม รวมถึง
พื้นที่สำหรับปลูกหม่อนเลี้ยงไหม
ทุนการเงิน
มีกองทุนของหมู่บ้าน และได้เงินสนับสนุนจาก
อบต.สวาย รวมถึงมีสหกรณ์ของตำบลอีกด้วย
ทุนวัฒนธรรม ประเพณี
การเล่นทอยสะบ้า แข่งกันในวันสงกรานต์
เอาถ่านก้นหม้อทาหน้า
ประเพณี ทำบุญหาบรรพบุรุษ (แซนโฎนตา)
รำตรุษ (รำตรด) รำบอกบุญ
-8-
แผนที่ทรัพยากร
= ป่าไม้
= สระน้ำ
= ทุ่ง/ที่นา/ไร่
= พระพุทธรูปดินปั้ น
= วัดแสงบูรพา
= วนอุทยานแห่งชาติพนมสวาย
-9-
ประวัติสินค้า
ผ้าไหมใต้ถุนเรือน
ผู้คนในจังหวัดสุรินทร์มีความผูดพันธ์กับการทอผ้าไหมมาตั้งแต่สมัย
ก่อนมาเนิ่นนานแล้ว โดยมีการทอกผ้าเป็นลายต่างๆ มาเรื่อยๆ จนมี
เป็นร้อยๆลาย แตที่ขึ้นชื่อของสวายคือลายผ้า "โฮล"
ที่ได้ชื่อว่าเป็น ผ้าไหมใต้ถุนเรือน เพราะว่าลักษณะบ้านของคนใน
ชุมชนเป็ นบ้านทรงไทยยกใต้ถุนสูงเมื่อเวลาน้ำมาจะสามารถหนีน้ำได้
แต่เมื่อไม่ถึงฤดูที่น้ำมาก็จะใช้ใต้ถุนเป็ นที่ทำกิจกรรมต่างๆรวมถึงการ
ทอผ้าด้วย
-10-
ในช่วงปี 2559 เกิดวิกฤตการณ์ผ้า
ไหม เป็นปีที่ผ้ามัดหมี่ราคาตกต่ำเป็น
อย่างมาก นายทุนร้านค้าต่างพากัน
กดราคาผ้าไหม ทำให้ช่างทอไม่มี
ตลาดที่จะส่งผ้าไหม ช่างทอภาพจึง
ขาดรายได้มาจุนเจือครอบครัว
ทำให้เกิดการรวมกลุ่มของช่างทอผ้า
ในหมู่บ้านตารอด ที่มีอาจารย์
ดร.อัครเดช สุพรรณฝ่าย จาก
มหาวิทยาลัยราชภัฎสุรินทร์ชักชวนตั้ง
กลุ่ม นำผ้ามาขาย
ออนใลน์ จนทำให้มีคนสนใจเข้ามา
ซื้อผ้าไหมและเยี่ยมชมตลาด สามารถ
เดินชมกระบวนการผลิตได้ด้วย
-11-
การส่งเสริมธุรกิจ
Strength
มีลายผ้าที่เป็นเอกลักษณ์ และยังมีลายผ้าอื่นๆ ให้ผู้ที่สนใจได้
เลือกชมด้วย
มีผลิตภันฑ์หลายรูปแบบที่เกี่ยวกับผ้าไหม เช่น ผ้าถุง ผ้าพัน
คอ กระเป๋า และอื่นๆ
ผ้าไหมจากสุรินทร์เป็ นที่เลื่องลืออยู่แล้ว
Weekness
ช่องทางขายน้อย
ใช้เวลาทำนาน
ราคาแพง
เก็บรักษายาก
Opportunity
ได้รับผ้าลายพระราชทานลาย "ลายนารีรตนราชกัญญา"
งาน i-san Fashion Design
มีการจัดตลาดสนับสนุนการขายผ้าไหม
Threat
ไม่ค่อยได้รับความนิยมในหมู่คนรุ่นใหม่
การผลิตไหมเองไม่เพียงพอ
-12-
Video แนะนำ
-13-
เป้าหมายและวัตถุประสงค์
เป้าหมาย
ทำให้ผ้าไหมใต้ถุนเรือนเป็ นที่รู้จักของคนทั่วไป
ทุกเพศทุกวัย และเพิ่มรายได้ให้กับชุมชน
วัตุประสงค์
เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับชุมชนผ้าไหมใต้ถุนเรือน
เพิ่มภาพลักษณ์ที่้เป็ นที่จดจำให้กับผ้าไหม
สร้างแบรนด์ ขยายฐานลูกค้า
-14-
ขั้นตอนการผลิต
1.ปลูกหม่อนเลี้ยงไหม
2.สาวไหม
-15-
3.กวักไหม
4.ย้อมไหม
-16-
5.อันตวง
6.มัดหมี่
-17-
7.ย้อมหลังมัดหมี่
8.ทอ
-18-
Business Model Canvas
1.Customer Segments
ผู้ชื่นชอบผ้าไหมและลายมัดหมี่โบราณ
ผู้สูงอายุ
ผู้ที่ชื่นชอบในวัฒนธรรมผ้าไหม
2.Value Proposition
มีลายที่เป็ นเอกลักษณ์
และลายอื่นๆให้เลือก
มีผ้าไหมในรูปแบบอื่นๆ
สามารถเดินชมกระบวนการผลิตได้
3.Channel
FB: ตลาดไหมใต้ถุนเรือน
Shopee
หน้าร้านที่หมู่บ้าน
เพิ่มหน้าร้านในตัวเมือง
4.Customer Relationship
การให้ลูกค้าได้เลือกลายเอง
รวมถึงการให้ลูกค้าได้ลองการ
มัดหมี่ลายผ้าเพื่อสร้าง
มูลค่าทางจิตใจ -19-
5.Revenue Streams
การขายสินค้าผ้าไหม
6.Key Resources
ไร่หม่อนไหม
เงินสนับสนุน
เครื่องมือในกระบวนการทอผ้า
7.Key Activity
กระบวนการผลิตผ้าไหม
รับไหมจากนอกชุมชน
นำผ้าลงตลาด
8.Key Partners
อบต. สวาย
ตลาดในตัวเมือง
ผู้ผลิตไหม
9.Cost Structure
เงินรับซื้อไหม
ค่าเช่าบูธ
ค่าสาธารณูปโภค
เงินค่าแรงสำหรับคนในชุมชน
-20-
การออกแบบผลิตภัณฑ์
Logo
สีที่เลือกใช้
Font
Yellowtai Endlishl
sriracha ภาษาไทย
พื้นหลังทึบ พื้นหลังสว่าง
Swai
ใช้สีม่วงเป็ นหลักเพราะ ใช้ชื่อแบรนด์เป็นชื่อของ ตำบล "สวาย"
ได้ไปดูแพคเกจต้นแบบของ เพราะว่าสั้นและจำได้ง่าย รวมถึงเป็น
ทางชุมชน ใช้เป็นสีม่วงเข้มเป็นส่วน ตำบลที่คนในชุมชนร่วมกันทำจริงๆ
ใหญ่ และออกแบบ และยังสามารถอ่านว่า "ไสว"
ให้มีความ minimal เพื่อเพิ่มความ ซึ่งหมายถึง กิริยาของผ้าเวลาต้องลม
หรูหราและร่วมสมัยมากขึ้น จะมีการปลิวไสว
-21-
Swai ผ้าไหมใต้ถุนเรือน
บ้านตารอด หมู่ 2 ตำบลสวาย จังหวัดสุรินทร์
FB:ตลาดไหมใต้ถุนเรือน
ในช่วงปี 2559 เกิดวิกฤตราคาผ้าไหมตกต่ำ ประวัติคร่าวๆของ
จนเกิดการรวมกลุ่มของช่างทอผ้าในหมู่บ้านตารอด ผ้าไหมใต้ถุนเรือน
ตำบลสวาย โดยการชักชวนของ อาจารย์ ดร.อครเดช ตรา มอก. และ
ฝ่ายสุพรรณ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏจังหวัดสุรินทร์ ตราโอทอป รวมถึง
ที่ทำการวิจัยและนำผ้าไหม มาขายในตลาดออนใลน์ ช่องทางติดต่อสั่ง
และตั้งชื่อว่าตลาดไหมใต้ถุนเรือน เพราะชาวบ้านมัก ซื้อ
จะทอผ้าไหมใต้ถุนบ้าน เพราะบ้านส่วนมากเป็นบ้าน
ไทยที่ยกใต้ถุนสูง โลโก้ Swai
ตลาดไหมใต้ถุนเรือน
มอก. xxxx-xxxx
ถุงกระดาษ
-22-
4P
Product
ผ้าไหมลายมัดหมี่
สินค้าที่ทำจากผ้าไหม เช่น กระเป๋า สะไบ ผ้าพันคอ ผ้าถุง
Price
ราคาผ้าจะอยู่ที่ผืนละ 1500-3500 บาท ขึ้นอยู่กับ ลวดลายและ
ขั้นตอนการขึ้นลาย
สินค้าอื่นๆ เริ่มต้นที่ 600 บาท
Place
มีร้านค้าหลักอยู่ที่ บ้านตารอด หมู่สอง ตำบลสวาย จังหวัด
สุรินทร์ ขยายเข้าไปในอำเภอเมือง และกรุงเทพมหานคร
Shopee Lazada
Facebook Marketplace
Website
Promotion
ซื้อผ้า 1 ผืนแถมของแถมอย่างอื่นด้วยเช่น กระเป๋า หรือ
ผ้าพันคอ
สั่งซื้อผ่าน Website หรือช่องทางออนใลน์ ลด 10%
สลักชื่อ บน Packgage หรือ การ์ดขอบคุณเมื่อสั่งซื้อ
บน Website -23-
ผู้จัดทำ
นายปฏิพล สัทธพรมมา
คณะครุศาสตร์
สาขาธุรกิจและอาชีวศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
รหัสนิสิต 6242215627
-24-