The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รูปแบบการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by torsak12350, 2021-09-16 23:03:55

รูปแบบการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E

รูปแบบการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสืบเสาะหาความรู้แบบ 5E

คำนำ

คำนำหนังสอื เล่มน้ีจัดทำข้นึ เพ่ือเป็นส่วนหน่ึงของวชิ ำวิทยำกำรจัดกำรเรียนรู้ 1
เพ่ือให้ได้ศึกษำหำควำมรู้ในเร่ืองกำรจัดกำรเรียนรู้ด้วยกระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้
แบบ 5E และได้ ศึกษำอย่ำงเข้ ำใจเพ่ือเป็ นประโยชน์กับกำรเรียนรู้ผู้จัดทำ
ขอขอบพระคุณอำจำรย์ท่ีปรึกษำ อำจำรย์รัชกร ประสีระเตสัง ท่ีคอยให้คำแนะนำใน
กำรทำหนงั สอื เล่มน้ี

ผู้จัดทำหวังว่ำรำยงำนเล่มน้ ีจะเป็ นประโยชน์กับผู้อ่ำนหรือนักเรียนนักศึกษำท่ี
กำลังหำข้อมูลเร่ืองน้ีอยู่ หำกมีข้อแนะนำหรือข้อผิดพลำดประกำรใดผู้จัดทำขอน้อม
รับไว้และขออภยั มำ ณ ท่นี ้ีด้วย

คณะผ้จู ดั ทำ



สำรบญั หนำ้

เรื่อง ก

คำนำ 1
สำรบัญ 2
3
ควำมหมำยของจัดกำรเรียนร้ดู ้วยกระบวนกำรสบื เสำะหำควำมร้แู บบ 5E 4
กระบวนกำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้ 5
บทบำทผ้สู อนในกระบวนกำรสบื เสำะหำควำมรู้ 6
บทบำทของผ้เู รียนในกำรเรียนกำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้
คณุ ลกั ษณะสำคัญของกำรสบื เสำะหำควำมรู้ 7
ควำมแตกต่ำงของกำรเรียนร้แู บบ 5E กบั กำรเรียนร้แู บบด้งั เดมิ 8
ข้อดี-ข้อจำกดั ในกำรเรียนแบบ 5E 9
ตวั อย่ำงแผนกำรจัดกำรเรียนร้รู ปู แบบกำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้ 5E
สรุป
บรรณำนุกรรม



ควำมหมำยของจัดกำรเรียนรูด้ ว้ ยกระบวนกำรสบื เสำะหำควำมรูแ้ บบ 5E

กำรจัดกำรเรียนรู้ด้วยกระบวนกำรสบื เสำะหำควำมรู้แบบ 5E เน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้ค้นคว้ำ
หำควำมรู้ด้วยตนเอง หรือสร้ำงควำมร้ดู ้วยตนเอง โดยใช้กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ผู้สอนเป็นผู้
อำนวยควำมสะดวก เพ่ือให้ผู้เรียนบรรลุ เป้ ำหมำย วิธีสบื สอบควำมรู้จะเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของ
กำรเรียน หรือเป็นวิธสี อนท่ฝี ึกให้ผู้เรียนร้จู ักค้นคว้ำหำควำมรู้ โดยใช้กระบวนกำรทำงควำมคิดหำ
เหตุผล จะค้นพบควำมรู้หรือแนวทำงท่ถี ูกต้องด้วยตนเอง โดยผ้สู อนต้ังคำถำมประเภท กระตุ้นให้
ผู้เรียนใช้ควำมคิดหำวิธกี ำรแก้ปัญหำได้เอง และสำมำรถนำกำรแก้ปัญหำมำใช้ในชีวิตประจำวนั ได้
หรือเป็นกำร สอนท่เี น้นกระบวนกำรแสวงหำควำมรู้ท่ชี ่วยให้ผู้เรียนได้ค้นพบควำมจริงต่ำงๆ ด้วย
ตนเองให้ผู้เรียนมีประสบกำรณ์ตรงใน กำรเรียนรู้เน้ือหำ อกี ท้งั กำรจัดกำรเรียนรู้แบบสืบเสำะหำ
ควำมรู้เป็นยุทธวธิ ใี นกำรจดั กำรเรียนกำรสอนสบื เสำะท่เี น้น ผ้เู รียนเป็นศูนย์กลำงให้ผ้เู รียนได้สร้ำง
องค์ควำมรู้ด้วยตนเอง ผู้เรียนได้เรียนรู้ร่วมกันและประเมินผลกำรเรียนรู้ด้วยตัวของ ผู้เรียนเอง
ด้วย นอกจำน้ันกำรสบื เสำะหำควำมร้ยู ังเก่ยี วข้องกบั กระบวนกำรเรียนรู้ท่หี ลำกหลำย คือ กำรถำม
คำถำม ออกแบบกำรสำรวจข้อมูล กำรสำรวจข้อมูล กำรวิเครำะห์กำรสรุปผล กำรคิดค้นประดิษฐ์
กำรแลกเปล่ยี นควำมคิดเหน็ และส่อื สำรคำอธบิ ำยด้วย

เป็ นวิธีสอนท่ีเน้นควำมสำคัญท่ีผู้เรียนเป็ นสำคัญวิธีกำรสอนน้ี เป็ นกำรให้ผู้เรียนเป็ น
ศนู ย์กลำงของกำรปฏบิ ตั ิ กจิ กรรมกำรเรียนกำรสอนอย่ำงแท้จริงโดยผ้เู รียนค้นคว้ำใช้ควำมสำมำรถ
ในกำรเรียนรู้ด้วยตนเอง ให้เป็นคนช่ำงสังเกต ช่ำงสงสัย และพยำยำมหำข้อสรุปจนในท่สี ุดจะเกิด
ควำมคิดรวบยอดในเร่ืองท่ีศึกษำน้ัน กำรสอนแบบสืบเสำะหำควำมรู้น้ี ผู้สอนมีหน้ำท่ีเป็ น
ผ้สู นบั สนุน ช้แี นะ ช่วยเหลือ ตลอดจนแก้ปัญหำท่อี ำจเกดิ ข้นึ ระหว่ำงกำรเรียนกำรสอน

รูปแบบกำรเรียนกำรสอน 5E เป็นกำรจัดกำรเรียนร้เู พ่ือให้ผู้เรียนสร้ำงควำมร้ดู ้วยตนเอง
มีพ้ืนฐำนมำจำกทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) โดยมีรำกฐำนสำคัญมำจำกทฤษฎี
พฒั นำกำรทำงสติปัญญำของเพียเจต์ (Piaget’s Theory of Cognitive Development) ซ่งึ อธบิ ำยว่ำ
พัฒนำกำรทำงเชำว์ปัญญำของบุคคลมีกำรปรับตัวทำงกระบวนกำร ดูดซึม (Assimilation) และ
กระบวนกำรปรับโครงสร้ำงทำงปัญญำ (Accommodation)พัฒนำกำรเกดิ ข้นึ เม่ือบุคคลรับ และซึม
ทรำบข้อมูลหรือประสบกำรณ์เข้ำไปสัมพันธก์ ับควำมรู้หรือโครงสร้ำงทำงปัญญำท่มี ีอยู่เดิมหำกไม่
สำมำรถสมั พันธ์ กนั ได้จะเกดิ ภำวะไม่สมดุลข้ึน (Disequilibrium) บุคคลจะพยำยำมปรับสภำพให้
อยู่ในสภำวะสมดุล (Equilibrium) โดย ใช้กระบวนกำรปรับโครงสร้ำงทำงปัญญำ เพียเจต์เช่ือว่ำ
คนทุกคนจะมีพัฒนำเชำว์ปัญญำเป็ นลำดับข้ันจำกกำรมี ปฏิสัมพันธ์และประสบกำรณ์กับ
ส่งิ แวดล้อมตำมธรรมชำติและประสบกำรณ์ท่เี ก่ียวกับกำรคิดเชิงตรรกะ และคณิตศำสตร์ รวมท้งั
กำรถ่ำยทอดควำมรู้ทำงสงั คม วุฒิภำวะและกระบวนกำรพัฒนำควำมสมดุลของบคุ คลน้ัน

1

กระบวนกำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้ (Inquiry) 5Es ประกอบด้วยข้นั ตอนทส่ี ำคัญ ดงั น้ี

1.กำรสร้ำงควำมสนใจ (Engagement) เป็นกำรนำเข้ำสู่บทเรียนหรือเร่ืองท่สี นใจ ซ่ึงอำจ
เกดิ ข้นึ เอง จำกเร่ืองท่สี งสยั จำกควำมสนใจของตวั ผ้เู รียนเอง หรือเกดิ จำกกำรอภปิ รำยภำยในกล่มุ
เร่ืองท่ีน่ำสนใจอำจมำจำก เหตุกำรณ์ท่ีกำลังเกิดข้ึนในช่วงเวลำน้ัน หรือเป็ นเร่ืองท่ีเช่ือมโยงกับ
ควำมรู้เดิมท่เี พ่ิงเรียนมำแล้ว เป็นตัวกระตุ้นให้ผู้เรียน สร้ำงคำถำม กำหนดประเดน็ ท่จี ะศึกษำ ใน
กรณีท่ยี ังไม่มีประเดน็ ท่นี ่ำสนใจ ผู้สอนอำจให้ศึกษำจำกส่อื ต่ำงๆ หรือเป็นผู้ กระตุ้นด้วยกำรเสนอ
ประเดน็ ข้ึนมำก่อน แต่ไม่ควรบังคับให้ผู้เรียนยอมรับประเดน็ ท่ผี ู้สอนกำลังสนใจเป็นเร่ืองท่ีจะใช้
ศึกษำ เม่อื มคี ำถำมท่นี ่ำสนใจและผู้เรียนส่วนใหญ่ยอมรับให้เป็นประเดน็ ท่ตี ้องกำรศึกษำ จงึ ร่วมกนั
กำหนดขอบเขตและ แจกแจงรำยละเอียดของเร่ืองท่ศี ึกษำให้มีควำมชัดเจนย่ิงข้ึน อำจรวมท้งั กำร
รวบรวมควำมรู้ประสบกำรณ์เดิมหรือควำมรู้ จำกแหล่งต่ำงๆ ท่จี ะช่วยให้นำไปสู่ควำมเข้ำใจเร่ือง
หรือประเดน็ ท่จี ะศึกษำมำกข้นึ และมีแนวทำงในกำรสำรวจตรวจสอบ อย่ำงหลำกหลำย

2. กำรสำรวจและค้นหำ (Exploration) เม่ือทำควำมเข้ำใจในประเดน็ หรือคำถำมท่สี นใจ
ศึกษำ อย่ำง ถ่องแท้แล้วให้มีกำรวำงแผนกำหนดแนวทำงในกำรสำรวจตรวจสอบต้ังสมมติฐำน
กำหนดทำงเลือกท่เี ป็นไปได้ลงมือ ปฏิบัติเพ่ือรวบรวมข้อมูล ข้อสนเทศ หรือปรำกฏกำรณ์ต่ำงๆ
วิธีกำรตรวจสอบทำได้หลำยวิธเี ช่น ทำกำรทดลอง ทำ กิจกรรมภำคสนำม กำรใช้คอมพิวเตอร์เพ่ือ
ช่วยในกำรสร้ำงสถำนกำรณ์จำลอง กำรศึกษำหำข้อมูลจำกเอกสำรอ้ำงอิงหรือ แหล่งข้อมูลต่ำงๆ
เพ่อื ให้ได้มำซ่งึ ข้อมลู อย่ำงเพยี งพอท่จี ะนำไปใช้ในข้ันต่อไป

3. กำรอธิบำยและลงข้อสรุป (Explanation) เม่ือได้ข้อมูลอย่ำงเพียงพอต่อกำรสำรวจ
ตรวจสอบ แล้ว จึงนำข้อสนเทศท่ไี ด้มำวิเครำะห์แปลผล สรุปผล และนำเสนอผลท่ไี ด้ในรูปต่ำงๆ
เช่น บรรยำยสรปุ สร้ำงแบบจำลองทำง คณติ ศำสตร์หรือวำดรูป สร้ำงตำรำง ฯลฯ กำรค้นพบในข้ัน
น้ีเป็นไปได้หลำยทำง เช่น สนับสนุนสมมติฐำนท่ตี ้ังไว้โต้แย้ง กับสมมติฐำนท่ตี ้ังไว้หรือไม่เก่ยี วข้อง
กับประเด็นท่ีกำหนดไว้แต่ผลท่ีได้จะอยู่ในรูปแบบใดกส็ ำมำรถสร้ำงควำมรู้และช่วย ให้เกิดกำร
เรียนร้ไู ด้

4. กำรขยำยควำมรู้ (Elaboration) เป็นกำรนำควำมรู้ท่สี ร้ำงข้ึนไปเช่ือมโยงกบั ควำมรู้เดิม
หรือ แนวคิด ท่ไี ด้ค้นคว้ำเพ่ิมเติมหรือนำแบบจำลองหรือข้อสรุปท่ไี ด้ไปใช้อธิบำยสถำนกำรณ์หรือ
เหตุกำรณ์อ่ืนๆ ถ้ำใช้อธิบำยเร่ืองต่ำงๆ ได้มำกแสดงว่ำข้อจำกดั น้อย ซ่ึงจะช่วย เช่ือมโยงกับเร่ือง
ต่ำงๆ ทำให้เกดิ ควำมรู้กว้ำงขวำงข้นึ

5. กำรประเมินผล (Evaluation) เป็ นกำรประเมินกำรเรียนรู้ด้วยกระบวนกำรต่ำงๆ ว่ำ
ผ้เู รียนมี ควำมรู้อะไรบ้ำง อย่ำงไร มำกน้อยเพยี งใด จำกน้นั จึงนำควำมรู้ไปประยุกต์ใช้ในเร่อื งอ่นื ๆ
กำรนำควำมรู้และแบบจำลอง ไปใช้อธิบำยหรือประยุกต์ใช้กบั เหตุกำรณ์หรือเร่ืองอ่นื ๆ จะนำไปสู่
ข้อโต้แย้งหรือข้อจำกดั ซ่ึงจะก่อให้เกิดประเดน็ หรือ คำถำม หรือปัญหำท่ตี ้องกำรสำรวจตรวจสอบ
ต่อไป ทำให้เกิดกระบวนกำรท่ตี ่อเน่ืองกันไปเร่ือยๆ จึงเรียกว่ำ Inquiry cycle กระบวนกำรสืบเสำะ
หำควำมรู้จึงช่วยให้ผู้เรียนเกิดกำรเรียนรู้ท้งั เน้ือหำ หลักกำร และทฤษฎีตลอดจนกำรลงมือ ปฏบิ ัติ

2เพ่ือให้ได้ควำมรู้ซ่งึ จะเป็นพ้นื ฐำนในกำรเรียนร้ตู ่อไป

บทบำทผูส้ อนในกระบวนกำรสบื เสำะหำควำมรู้

ข้นั ตอนกำรเรียนกำรสอนในกระบวนกำรสบื เสำะหำควำมรู้ 5 ข้นั ตอน ส่งิ ท่ผี ้สู อนควรทำ
1.กำรสร้ำงควำมสนใจ(Engagement) โดยผู้สอนควรสร้ำงควำมสนใจ สร้ำงควำมอยำกรู้

อยำกเห็น มีกำรต้ัง คำถำมกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดดึงเอำคำตอบท่ยี ังไม่ครอบคลุมส่ิงท่ผี ู้เรียนรู้หรือ
แนวคดิ หรือเน้อื หำ

2.กำรสำรวจและค้นหำ(Exploration) โดยผู้สอนส่งเสริมให้ผู้เรียนทำงำนร่วมกันในกำร
สำรวจ ตรวจสอบ สงั เกตและฟังกำรโต้ตอบกนั ระหว่ำงผู้เรียนกบั ผู้เรียน ทำกำรซักถำมเพ่ือนำไปสู่
กำรสำรวจตรวจสอบของผู้เรียน และให้ เวลำผ้เู รียนในกำรคิดข้อสงสยั ตลอดจนปัญหำต่ำง ๆ และ
ทำหน้ำท่ใี ห้คำปรึกษำแก่ผ้เู รียน

3.กำรอธิบำยและลงข้อสรุป(Explanation) โดยผู้สอนส่งเสริมให้ผู้เรียนอธิบำยแนวคิด
หรือให้คำจำกดั ควำม ด้วยคำพูดของผู้เรียนเอง ให้ผู้เรียนแสดงหลักฐำน ให้เหตุผลและอธบิ ำยให้
กระจ่ำง ให้ผู้เรียนอธิบำย ให้คำจำกัดควำมและ ช้ีบอกส่วนต่ำงๆ ในแผนภำพให้ผู้เรียนใช้
ประสบกำรณเ์ ดิมของตนเป็นพ้นื ฐำนในกำรอธบิ ำยแนวคดิ

4.กำรขยำยควำมรู้(Elaboration) โดยผู้สอนคำดหวังให้ผูู้ เรียนได้ใช้ประโยชน์จำกกำร
ช้ีบอก ส่วนประกอบต่ำง ๆ ในแผนภำพคำจำกัดควำมและอธิบำยส่ิงท่เี รียนรู้มำแล้ว ส่งเสริมให้
ผู้เรียนนำส่ิงท่ผี ู้เรียนได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้หรือ ขยำยควำมรู้และทกั ษะในสถำนกำรณ์ใหม่ ให้
ผู้เรียนอธิบำยอย่ำงมีควำมหมำย ให้ผู้เรียนอ้ำงอิงข้อมูลท่มี ีอยู่พร้อมท้งั แสดง หลักฐำนและถำม
คำถำมผ้เู รียนว่ำได้เรียนร้อู ะไรบ้ำง หรือได้แนวคิดอะไร

5.กำรประเมินผล (Evaluation) โดยผู้สอนสงั เกตผู้เรียนในกำรนำแนวคิดและทกั ษะใหม่
ไปประยุกต์ใช้ประเมิน ควำมรู้และทกั ษะผู้เรียน หำหลักฐำนท่แี สดงว่ำผู้เรียนเปล่ียนควำมคิดหรือ
พฤติกรรม ให้ผู้เรียนประเมินกำรเรียนรู้และ ทักษะกระบวนกำรกลุ่ม ถำมคำถำมปลำยเปิ ด เช่น
ทำไมผ้เู รียนจึงคิดเช่นน้นั

3

บทบำทของผูเ้ รียนในกำรเรียนกำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้

1.กำรสร้ำงควำมสนใจ (Engagement) โดยผ้เู รียนถำมคำถำม เช่น ทำไมสง่ิ น้ีจงึ เกดิ ข้นึ ฉนั
ได้เรียนร้อู ะไรบ้เก่ยี ว กบั สง่ิ น้ีแสดงควำมสนใจ

2. กำรสำรวจและค้นหำ (Exploration) โดยผู้เรียนคิดอย่ำงอิสระแต่อยู่ในขอบเขตของ
กิจกรรม ทดสอบกำร คำดคะเนและสมมติฐำน คำดคะเนและต้ังสมมติฐำนใหม่ พยำยำมหำทำง
เลือกในกำรแก้ปัญหำและอภิปรำยทำงเลือกเหล่ำน้ัน กบั คนอ่นื บันทกึ กำรสังเกตและให้ข้อคดิ เหน็
และลงข้อสรปุ

3. กำรอธบิ ำยและลงข้อสรปุ (Explanation) โดยผ้เู รียนอธบิ ำยกำรแก้ปัญหำหรือคำตอบท่ี
ซบั ซ้อน ฟังคำอธบิ ำย ของคนอ่นื อย่ำงคดิ วิเครำะห์ถำมคำถำมเก่ยี วกบั ส่งิ ท่คี นอ่นื ได้อธบิ ำย ฟังและ
พยำยำมทำควำมเข้ำใจเก่ยี วกบั ส่งิ ท่คี รูอธิบำย อ้ำงอิงกิจกรรมท่ไี ด้ปฏบิ ัติมำแล้ว ใช้ข้อมูลท่ไี ด้จำก
กำรบันทกึ หรือสงั เกตในกำรอธบิ ำย

4. กำรขยำยควำมรู้ (Elaboration) โดยผู้เรียนอธิบำยกำรแก้ปัญหำหรือคำตอบท่ซี ับซ้อน
ฟังคำอธบิ ำยของคนอ่นื อย่ำงคิดวเิ ครำะห์ถำมคำถำมเก่ยี วกบั ส่งิ ท่คี นอ่นื ได้อธบิ ำย ฟังและพยำยำม
ทำควำมเข้ำใจเก่ียวกบั ส่ิงท่ผี ู้สอนอธิบำย อ้ำงองิ กจิ กรรมท่ไี ด้ปฏิบัติมำแล้ว ใช้ข้อมูลท่ไี ด้จำกกำร
บันทกึ หรือสงั เกตในกำรอธบิ ำย

5. กำรประเมินผล (Evaluation) โดยผู้เรียนตอบคำถำมปลำยเปิ ด โดยใช้กำรสังเกต
หลกั ฐำนและคำอธบิ ำยท่ี ยอมรับมำแล้ว แสดงออกถึงควำมรู้ควำมเข้ำใจเก่ยี วกบั ควำมคิดรวบยอด
หรือทกั ษะประเมินควำมก้ำวหน้ำด้วยตนเอง ถำม คำถำมเพ่ือให้มีกำรตรวจสอบต่อไป

4

คณุ ลกั ษณะสำคญั ของกำรสืบเสำะหำควำมรู้ (5 Essential features of Inquiry)

1.ผู้เรียนต้ังคำถำมทำงวิทยำศำสตร์โดยส่วนใหญ่คนเรำจะต้ังคำถำมต่ำงๆ ได้กต็ ่อเม่ือ เกิด
กำรสังเกต เกดิ ปัญหำ หรือข้อสงสัยต่ำงๆข้ึนในตนเอง แม้ว่ำผู้สอนจะกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดทกั ษะ
และฝึกกระบวนกำรกำรสร้ำงคำถำม แต่จะพบ ได้ว่ำ ในสถำนกำรณ์จริงเรำอำจจะไม่สำมำรถตอบ
คำถำมได้ทุกเร่ืองในช่วงเวลำน้ัน ท้งั น้ีอำจเป็นเพรำะข้อจำกัดของ ควำมรู้วัสดุอุปกรณ์ต่ำงๆ ท่จี ะ
มำช่วยในกำรตอบคำถำมท่ีสงสัย ดังน้ันผู้สอนควรจะเป็ นผู้ช่วย เป็ นผู้แนะนำให้ผู้เรียนใช้
กระบวนกำรคิดหรือปรับข้อคำถำมให้เป็นคำถำมท่สี ำมำรถสำรวจตรวจสอบ (Testable question)
หรือสำมำรถ ต้งั สมมตฐิ ำนท่ตี รวจสอบได้ผ่ำนกระบวนกำรทำงำนทำงวิทยำศำสตร์

2.ผู้เรียนให้ควำมสำคัญกับหลักฐำนหรือประจักษ์พยำนของคำถำมท่ีต้ังข้ึน ซ่ึงจำกคำถำมท่ี
ต้ังข้ึนผู้เรียนจะทำ กำรปฏิบัติเพ่ือหำคำตอบ ด้วยวิธีกำรต่ำงๆเช่น จำกกำรสำรวจตรวจสอบหรือ
จำกกำรทดลอง ผู้เรียนจึงจำเป็ นต้องเก็บ ข้อมูลด้วยควำมละเอียด ถูกต้องและแม่นยำ ด้วย
กระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ซ่งึ กำรจะให้ได้มำซ่ึงข้อมูลท่ถี ูกต้องและ แม่นยำ ผ้เู รียนควรได้รับกำร
ฝึกฝนทกั ษะในกำรใช้เคร่ืองมอื และอุปกรณ์ต่ำงๆ ประเมินถึงข้อดีและข้อด้อยของเคร่ืองมือ แต่ละ
ชนิดเสียก่อน เพ่ือจะได้เลือกใช้ได้ถูกต้องเหมำะสมด้วยควำมชำนำญ ดังน้ันครูจึงควรให้
ควำมสำคญั กบั กำรฝึกทกั ษะ กำรปฏบิ ัตกิ ำรเบ้อื งต้นก่อนกำรใช้กำรเรียนร้แู บบสบื เสำะหำควำมรู้

3. ผู้เรียนสร้ำงคำอธิบำยจำกข้อมูลและหลักฐำนท่ีมีซ่ึงเม่ือผู้เรียนได้เกบ็ ข้อมูลต่ำงๆ ด้วย
ควำมละเอียดแล้ว ข้อมูลดิบท่ีได้มำ จะถูกนำมำวิเครำะห์และใช้เป็ นหลักฐำนในกำรใช้สร้ำง
คำอธิบำย ดังน้ันผู้เรียนจึงจำเป็นต้องใช้เหตุผลใน กำรคิดวิเครำะห์ด้วยวิธีกำรท่เี หมำะสม อย่ำง
ซ่อื สตั ย์และสอดคล้องกบั คำถำมหรือปัญหำท่ตี ้ังไว้

4.ผู้เรียนเช่ือมโยงอ งค์ควำ มร้ ูท่ีได้ สู่องค์ควำ มร้ ูทำ งวิทยำศำสตร์เม่ือ ผู้เรี ยนได้ หลัก ฐำ น
สำมำรถสร้ำงคำอธบิ ำย และใช้กระบวนกำรสงั เครำะห์ออกมำเป็นคำอธบิ ำยของตนเองแล้ว ผ้เู รียน
ควรได้ทำกำรสืบค้น เพ่ือศึกษำเพ่ิมเติมว่ำจำก องค์ควำมรู้ท่ผี ู้เรียนได้น้ัน มีควำมสอดคล้องหรือ
แตกต่ำงจำกองค์ควำมรู้เช่น หลักกำร กฎ ทฤษฎีหรือแนวคิดทำง วิทยำศำสตร์ท่มี ีอยู่ในปัจจุบัน
อย่ำงไร

5. ผู้เรียนส่ือสำรและประเมินองค์ควำมรู้อย่ำงมีเหตุผล กำรท่ผี ู้เรียนได้สร้ำงองค์ควำมรู้จำก
กำรลงมือปฏิบัติและ สืบเสำะด้วยตนเอง ควำมรู้ใหม่ท่ไี ด้จะช่วยให้ผู้เรียนได้รู้สึกเห็นคุณค่ำของ
กำรทำงำนดังเช่นนักวิทยำศำสตร์ซ่ึงกำรทำงำน ของนักวิทยำศำสตร์จะไม่ส้นิ สดุ ลงท่กี ำรได้ผลกำร
ทดลอง แต่นักวิทยำศำสตร์จะนำเอำองค์ควำมรู้ท่ีได้มำใช้ส่ือสำรต่อ ประชำคมโลก ดังน้ัน กำร
ส่ือสำรจึงเป็ นอีกคุณลักษณะหน่ึงท่ีจำเป็ น กล่ำวคือ กำรเปิ ดโอกำสให้ผู้อ่ืนได้วิพำกษ์วิจำรณ์
ผลงำน เพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้กันน้ัน เป็ นกำรช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และฝึ กกำรให้และรับ
ข้อเสนอแนะจำกผู้อ่ืน ซ่ึงเป็น กำรช่วยเติมเตม็ ควำมรู้ในส่วนท่ยี ังไม่สมบูรณ์ให้ดีย่ิงข้ึน อีกท้งั ยัง

5เป็นกำรฝึกให้ผ้เู รียน เรียนร้ทู ่จี ะรับฟังควำมคดิ เหน็ ข้อ วิพำกษแ์ ละวิจำรณ์จำกผ้อู ่นื ได้ด้วย

ควำมแตกต่ำงของกำรเรียนรูแ้ บบ 5E กบั กำรเรียนรูแ้ บบด้งั เดมิ

แนวคิดกำรเรียนรูแ้ บบ 5E
1. กำหนดจุดประสงคก์ ำรเรียนร้ทู ่เี น้นกำรฝึก กระบวนกำรเรียน ท่จี ะทำให้ได้มำซ่งึ องค์ควำมรู้
2. เน้นกำรเรียนท่ใี ห้ผ้เู รียนเป็นผู้กระทำ หรือปฏบิ ตั ิให้ เกดิ องค์ควำมร้มู ำกกว่ำเป็นผู้รับองคค์ วำมรู้
3. มักมีควำมเช่ือว่ำผู้สอนต้องรับผิดชอบ ให้ควำม สนใจติดตำมรูปแบบวิธีกำรคิดและกำร
เปล่ยี นแปลง กำรคดิ ของผ้เู รียนในทุกข้นั ตอนของกำรเรียนรู้

แนวคิดกำรเรียนรูแ้ บบด้งั เดมิ
1. กำหนดจุดประสงค์กำรเรียนรู้ท่เี น้นกำรนำเสนอ แนวคิด ควำมรู้และข้อเทจ็ จริงให้กับนักเรียน
เป็ นหลัก
2. ขำดกำรมุ่งเน้นท่ีกระบวนกำรกำรเรียนรู้และ กระบวนกำรคิดท่ีจำเป็ นต่อกำรเรียนรู้ คิดของ
ผ้เู รียนในทุกข้นั ตอนของกำรเรียนรู้
3. มักมีควำมเช่ือว่ำควำมสำมำรถในกำรคิดเป็ นส่งิ ท่มี ี มำแต่กำเนิด กำรให้เวลำกบั กำรคิดเป็ นกำร
เสยี เวลำ ดงั น้ันควรม่งุ เน้นไปท่กี ำรให้เน้ือหำสำระแกผ่ ้เู รียน

ขอ้ ดี-ขอ้ จำกดั ในกำรเรียนแบบ 5E

ขอ้ ดีวิธีจดกำรเรียนรูด้ ว้ ยกระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้ แบบ 5E
1. ผ้เู รียนสำมำรถพฒั นำควำมคดิ ได้อย่ำงเตม็ ท่ี ร้จู กั ใช้ เหตุผลมำวิเครำะห์บทเรียน
2. ผ้เู รียนสำมำรถคิดเร่ืองอย่ำงเป็นระบบมขี ้นั ตอนใน กำรคดิ อนั จะส่งผลต่อผ้เู รียนในกำร

พัฒนำตวั เองเพ่ือ นำไปประยุกตใ์ ช้กบั วชิ ำอ่นื ๆ
3. กำรเรียนกำรสอนให้ควำมสำคัญกบั ผ้เู รียนหรือ ผ้เู รียนเป็นศนู ยก์ ลำง

ขอ้ จำกดั วิธีจัดกำรเรียนรูด้ ว้ ยกระบวนกำรสืบเสำะหำ ควำมรูแ้ บบ 5E
1. ในกำรสอนแต่ละคร้ังใช้เวลำค่อนข้ำงจะมำก
2. หำกสถำนกำรณ์ท่ผี ู้สอนสร้ำงข้ึนไม่เร้ำใจผู้เรียน อำจจะทำให้ผู้เรียนให้ควำมร่วมมือใน

กิจกรรมกำรเรียน กำรสอนน้อยลง มีผลทำให้บรรยำกำศกำรเรียนกำร สอนไม่เร้ำใจเท่ำท่ีควร
ดังน้ันผู้สอนต้องเตรียมยก สถำนกำรณท์ ่สี ำมำรถทำให้ผ้เู รียนอยำกมสี ่วนร่วมมำกท่สี ดุ

3. สำหรับเน้ือหำวิชำท่มี ีควำมซับซ้อน และค่อนข้ำง ยำก จะทำให้นักเรียนท่ีสติปัญญำต่ํำ
อำจมีปัญหำในกำร เรียนร้ดู ้วยตนเอง

4. ผู้เรียนท่มี ีวุฒิภำวะท่ยี ังไม่เป็นผู้ใหญ่พอ อำจไม่มี แรงจูงใจพียงพอท่จี ะทำให้ผู้เรียนได้

6เรียนรู้

ตวั อย่ำงแผนกำรจดั กำรเรียนร้โู ดยใช้รปู แบบกำรสอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้ 5E

กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี ๖
รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๑๖๑๐๑ ภาคการเรียนที่ ๑ ปี ๒๕๖๔
หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๗ เรื่อง ส านวนชวนคดิ ภาษติ สอนใจ
เร่ือง การวเิ คราะห์ส านวนท่ีเป็ นค าพงั เพย สุภาษิต เวลา ๑๒ ช่ัวโมง
เวลา ๑ ชั่วโมง

7

สรุป

กำรให้กำรศึกษำสำหรับศตวรรษท่ี 21 จะมีควำมยืดหยุ่น สร้ำงสรรคท์ ้ำทำย และซบั ซ้อน
เป็นกำรศึกษำท่จี ะทำ ให้โลกเกิดกำรเปล่ียนแปลงอย่ำงรวดเร็วอย่ำงเตม็ ไปด้วยส่ิงท้ำทำยและ
ปัญหำ รวมท้งั โอกำสและส่งิ ท่เี ป็นไปได้ใหม่ๆ ท่นี ่ำ ต่นื เต้น ควำมท้ำทำย โดยกำรจดั กจิ กรรมกำร
เรียนรู้ด้วยกระบวนกำรสืบเสำะหำควำมรู้แบบ 5E เป็ นกำรเรียนกำรสอน ให้ควำมสำคัญกับ
ผู้เรียนหรือผู้เรียนเป็นศูนย์กลำง มีกำรจัดกำรเรียนรู้ท่ฝี ึกให้ผู้เรียนรู้จักค้นคว้ำหำควำมรู้โดยใช้
กระบวนกำรทำงควำมคิดหำเหตุผล ทำให้ค้นพบควำมรู้หรือแนวทำงแก้ปัญหำท่ีถูกต้องด้วย
ตนเอง โดยผู้สอนต้ังคำถำม ประเภทกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ควำมคิด หำวิธีกำรแก้ปัญหำได้เอง
สำมำรถนำกำรแก้ปัญหำมำใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ได้ซ่ึงได้เสนอข้ันตอนในกำรจัดกำร
เรียนกำรสอนเป็ น 5 ข้ันตอน คือข้ันสร้ำงควำมสนใจ (Engagement) ข้ันสำรวจและ ค้นหำ
(Exploration) ข้ันอธิบำยและลงข้อสรุป (Explanation) ข้ันขยำยควำมรู้(Elaboration) และข้ัน
ประเมนิ (Evaluation) กระบวนกำรสบื เสำะหำควำมร้แู บบ 5E ดังท่กี ล่ำวน้ันได้เน้นท่อี งค์ควำมรู้
ทักษะ ควำมเช่ียวชำญและ สมรรถนะท่เี กิดกับตัวผู้เรียน เพ่ือใช้ในกำรดำรงชีวิตในสังคมแห่ง
ควำมเปล่ยี นแปลงในปัจจุบนั

8

บรรณำนุกรรม

ทศิ นำ แขมมณแี ละคณะ. (2545). กำรคดิ และกำรสอนเพ่ือพัฒนำ
กระบวนกำรคิด. กรุงเทพฯ: สำนกั งำนพัฒนำ คณุ ภำพวิชำกำร (พว.)
กรงุ เทพฯ: สำนักพิมพเ์ ดอะมำสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท.์
สวุ ทิ ยม์ ูลคำ; และ อรทยั มลู คำ. (2545). 21 วธิ จี ัดกำรเรียนร้เู พ่อื พฒั นำ
กระบวนกำรคดิ . กรงุ เทพฯ: โรงพมิ พภ์ ำพพิมพ์.
สมบตั กิ ำญจนรักพงค;์ และคณะ. (2549). เทคนิคกำรจดั กจิ กรรมกำร
เรียนร้แู บบ 5E ท่เี น้นพัฒนำ ทกั ษะกำรคดิ ข้นั สงู : กลุ่มสำระสงั คมศกึ ษำ ศำสนำ
และวฒั นธรรม. กรุงเทพฯ: สำนกั พิมพธ์ ำรอกั ษร.
สำขำชีววทิ ยำ สถำบนั ส่งเสริมกำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี
(สสวท.). 2550. รูปแบบกำรเรียน กำรสอนท่พี ัฒนำกระบวนกำรคดิ ระดับสงู วิชำ
ชวี วทิ ยำ ระดับช้ันมัธยมศกึ ษำตอนปลำย (Online).Available:
http://www.ipst.ac.th/biology/Bio-Articles/mag-content10.html
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศกึ ษำข้ันพ้นื ฐำน. 2550. รูปแบบกำรเรียนกำร
สอนแบบสบื เสำะหำควำมรู้ (5Es) (Online). Available:
http://school.obec.go.th/nitade/data/Inquiry%20process.pdf.
Wu H. and Hsieh, C. 2006. Developing sixth grades’ inquiry skills to
construct explanations in inquiry-based learning environments. International
Journal of Science Education 28 (11): pp. 1289-1313.

9


Click to View FlipBook Version