The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by koo-dee, 2021-03-30 08:53:38

ikkiw

ikkiw

BIOLOGY.TERMINOLOG
Y

Digestive system

ระบบยอ่ ยอาหาร

STOMACH

กระเพาะอาหาร

กระเพาะอาหาร เป็ นอวยั วะของทางเดนิ อาหารทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
กบั กระบวนการยอ่ ยอาหารท่ีผา่ นการเค้ียวภายในชอ่ งปาก
มาแลว้ กระเพาะอาหารยงั เป็ นอวยั วะที่มีสภาพแวดลอ้ มเป็ น
กรด โดยมกั จะมคี า่ พีเอชอยทู่ ี่ประมาณ 1-4 โดยขนึ้ กบั
อาหารที่รบั ประทานและปัจจยั อ่ืน ๆ นอกจากนใี้ นกระเพาะ
อาหารยงั มีการสรา้ งเอนไซมเ์ พอื่ ชว่ ยในการยอ่ ยอาหารอีก
ดว้ ย

LARYNX
กลอ่ งเสยี ง

เป็ นอวยั วะในคอของสตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยนา้ นมที่ทาหนา้ ที่ใน
การป้ องกนั ทอ่ ลม (trachea) และการทาใหเ้ กิดเสียง ในกลอ่ ง
เสียงมีสายเสยี งแทห้ รือเสน้ เสียงแท้ (vocal fold) ซึ่งอยใู่ ต้
บริเวณที่คอหอย (pharynx) แยกออกเป็ นทอ่ ลมและหลอด
อาหาร (esophagus)

BILE SALT
เกลอื นา้ ดี

คือเกลอื โซเดยี มไกลโคคอเลต และโซเดยี มทอโรคอเลต มี
บทบาทในการทาหนา้ ท่ีเป็ นอิมลั ซิไฟอิงเอเจนต์ ชว่ ยในการ
ยอ่ ยและดดู ซึมไขมนั และนา้ มนั ในลาไสเ้ ล็ก

PHARYNX
คอหอย

คอหอยเป็ นสว่ นหนง่ึ ของระบบทางเดนิ อาหารและระบบ
ทางเดนิ หายใจของสง่ิ มีชวี ิตหลายชนดิ เนอ่ื งจากทง้ั อาหาร
และอากาศตา่ งผา่ นเขา้ สคู่ อหอย รา่ งกายมนษุ ยจ์ งึ มแี ผน่
เนอ้ื เย่ือเก่ียวพนั เรียกวา่ ฝาปิ ดกลอ่ งเสียง (epiglottis) ปิ ดชอ่ ง
ทอ่ ลมเมอื่ มกี ารกลืนอาหาร เพ่ือป้ องกนั การสาลกั ในมนษุ ย์
คอหอยยงั มคี วามสาคญั ในการออกเสยี ง

PANCEAS

ตบั ออ่ น

เป็ นอวยั วะซึ่งเป็ นตอ่ มในระบบยอ่ ยอาหารและระบบตอ่ มไร้
ทอ่ ในสตั วม์ กี ระดกู สนั หลงั ในมนษุ ย์ ตบั ออ่ นอยใู่ นชอ่ งทอ้ ง
หลงั กระเพาะอาหาร เป็ นตอ่ มไรท้ อ่ ซึ่งผลิตฮอรโ์ มนสาคญั
หลายชนดิ รวมถึงอินซลู ิน กลคู ากอน โซมาโตสเตตนิ และ
แพนคริเอตกิ พอลเิ พพไทดซ์ ึ่งไหลเวียนอยใู่ นเลอื ด ตบั ออ่ น
เป็ นอวยั วะยอ่ ยอาหาร โดยหลงั่ นา้ ยอ่ ยตบั ออ่ นซึเอนไซมย์ อ่ ย
อาหารท่ีชว่ ยการยอ่ ยและดดู ซึมสารอาหารในลาไสเ้ ล็ก
เอนไซมเ์ หลา่ นช้ี ว่ ยสลายคารโ์ บไฮเดรต โปรตนี และลพิ ิดใน
ไคม์ (chyme) และตบั อ่อนมกั หลงั่ เอนไซม์ คือ trypsinogen
chymotrypsinogen procarboxypeptidase ปยอ.ไมม่ ขี นาด

GALLBLADDER
ถงุ นา้ ดี

ถงุ นา้ ดี (Gallbladder) คือ อวยั วะบริเวณชอ่ งทอ้ งท่ีทาหนา้ ท่ีใน
การกกั เก็บนา้ ดี ทาใหน้ า้ ดเี ขม้ ขน้ เพ่ือพรอ้ มสาหรบั ยอ่ ย
ไขมนั

ANUS
ทวารหนกั

ทวารหนกั เป็ นอวยั วะหนง่ึ เป็ นสว่ นทา้ ยสดุ ของระบบ
ขบั ถ่าย ซึ่งทาหนา้ ท่ีเป็ นชอ่ งทางขบั ถ่ายอจุ จาระ
ยาวประมาณ 2.5-3.5 Cm. เป็ นสว่ นสดุ ทา้ ยของลาไสใ้ หญ่
ประกอบดว้ ย กลา้ มเนอ้ื หรู ดู 2 สว่ น คือ หรู ดู ภายใน (Internal
Sphincter) และหรู ดู ภายนอก External Sphincter)

BILE

นา้ ดี

นา้ ดี (bile or gall) เป็ นของเหลวสีเหลอื งหรือเขยี ว มรี สขม
หลงั่ ออกมาจากเซลลต์ บั (hepatocyte) ท่ีอยใู่ นตบั ของสตั วม์ ี
กระดกู สนั หลงั เกือบทกุ ชนดิ ในสตั วห์ ลายชนดิ นา้ ดจี ะถกู
เก็บไวท้ ่ีถงุ นา้ ดีในระหวา่ งมอ้ื อาหาร และเมอ่ื มกี าร
รบั ประทานอาหารนา้ ดจี ะถกู ปลอ่ ยออกมาเขา้ สลู่ าไสเ้ ล็กสว่ น
ตน้ (duodenum) ท่ีซ่ึงนา้ ดีจะไปทาหนา้ ที่ชว่ ยในการยอ่ ยอาหาร
จาพวกลพิ ิด

EPIGLOTTIS

ฝาปิ ดกลอ่ งเสียง

ฝาปิ ดกลอ่ งเสียง หรือ ลน้ิ ปิ ดกลอ่ งเสยี ง (องั กฤษ: epiglottis)
เป็ นแผน่ กระดกู ออ่ นชนดิ อิลาสตกิ คารท์ ิเลจ (elastic cartilage) ท่ี
คลมุ ดว้ ยเย่ือเมือก (mucus membrane) ตดิ อยกู่ บั โคนของลน้ิ มี
ลกั ษณะเป็ นแผน่ ฝาปิ ดท่ขี ยบั ขนึ้ ลงได้ ฝานจ้ี ะยื่นเอียงขน้ึ
ดา้ นบนหลงั ลน้ิ และกระดกู ไฮออยด์ (hyoid bone)

SOFT PALATE
เพดานออ่ น

เพดานอ่อน (soft palate, velar) คือ สว่ นของเพดานปากท่ีอยตู่ อ่
จากเพดานแข็ง เพดานอ่อน
สามารถเลื่อนขนึ้ ลงได้ ถา้ เพดานออ่ นลดระดบั ลงมา ก็จะทา
ใหม้ ชี อ่ งทางของอากาศออกสโู่ พรงจมกู ทาใหเ้ กิดเสียง
นาสิก (nasal sound) แตถ่ า้ เพดานอ่อนยกตวั ขน้ึ ไปปิ ดกน้ั
ทางเดนิ ของอากาศท่ีจะเขา้ สโู่ พรงจมกู ทาใหอ้ ากาศระบาย
ออกทางชอ่ งปากไดท้ างเดยี ว

PESPIRATORY

SYSTEM

ระบบหายใจ

PARABRONCHI
แขนงหลอดลม

เป็ นสว่ นหนงึ่ ของระบบหายใจ มหี นา้ ท่ีหลกั คือ การ
นาสง่ อากาศจากภายนอกร่างกายเขา้ สปู่ อดเพอ่ื ทา
หนา้ ท่ีในการแลกเปลยี่ นกา๊ ซออกซิเจนเขา้ สเู่ ลือด และ
นากา๊ ซคารบ์ อนไดออกไซดอ์ อกจากร่างกาย
หลอดลมของมนษุ ยเ์ ร่ิมตง้ั แตส่ ว่ นท่ีตอ่ จากกลอ่ ง
เสียง (Larynx) ลงไปส้นิ สดุ ที่ถงุ ลม

PHARYNX
คอหอย

สว่ นของคอตรงเหนอื ลกู กระเดอื กขน้ึ มา เป็ นทาง
รว่ มของระบบทางเดนิ อาหาร และระบบทางเดนิ
อากาศหายใจ.

SPIROMETER
เคร่ืองสไปโรมเิ ตอร์

เป็ นการทดสอบสมรรถภาพปอดชนดิ หนง่ึ ท่ีวดั
ความจปุ อดโดยการหายใจเขา้ -ออก ผา่ นเคร่ือง
spirometer เพื่อวดั ปริมาตรอากาศท่ีเป่ าออกจากปอด
ดว้ ยความเร็ว เทียบกบั เวลา แลว้ น าคา่ ท่ีไดม้ า
เปรียบเทียบกบั มาตรฐาน

SPIRACLE
ชอ่ งหายใจ

ชอ่ งหายใจ : ชอ่ งเปิ ดออกสภู่ ายนอกของระบบทอ่ ลม
ของแมลงและอารโ์ ธรปอดบางชนดิ เพื่อใชห้ ายใจ

ALVEOLUS
ถงุ ลม

เป็ นตาแหนง่ ที่มกี ารแลกเปล่ียน gas ระหวา่ งอากาศ
กบั เลอื ด โดยมเี นอ้ื เย่ือ (alveolarcapillary membrane) ท่ีกน้ั
กลาง ประกอบดว้ ย alveolar epithelium และ capillary
endothelium ท่ีตาแหนง่ นเ้ี ลอื ดดาจาก pulmonary artery
จะนา CO2 มาปลอ่ ยเขา้ ถงุ ลม และรบั O2 จากถงุ ลม
เขา้ มา กอ่ นท่ีจะถกู สง่ กลบั ไปสหู่ ัวใจทาง pulmonary

vein

TRACHEA
ทอ่ ลม

ทอ่ ลม เป็ นทอ่ ตดิ ตอ่ กบั ภายนอกของรา่ งกายทางรู
หายใจ (spiracle) ทอ่ ลมจะแตกแขนงเป็ นทอ่ เล็กๆ
แทรกไปทวั่ ทกุ สว่ นของร่างกาย ทอ่ ลมเป็ นแหลง่
แลกเปลย่ี นแกส๊ ในแมลง ออกซิเจนสามารถแพร่จาก
แขนงของทอ่ ลมผา่ นเย่ือหมุ้ เซลลเ์ ขา้ ไปในเซลล์ สว่ น
คารบ์ อนไดออกไซดก์ ็จะแพร่ออกจาเซลลเ์ ขา้ สทู่ อ่ ลม
ทงั้ ลาตวั แมลงจะมรี หู ายใจซ่ึงมลี นิ้ คอ่ ยปิ ดเปิ ด

TRACHEOLE
ทอ่ ลมฝอย

หลอดลมฝอยแลกเปลีย่ นแกส๊ (respiratory bronchiole)
เป็ นสว่ นแรกท่ีมกี ารแลกเปล่ยี นแกส๊ เนอื่ งจาก มถี งุ
ลมยอ่ ยมาเปิ ดเขา้ ที่ผนงั ซึ่งจะพบในสว่ นท่ีอย่ทู า้ ย ๆ
ซ่ึงจะมมี ากกวา่ สว่ นที่อยตู่ ดิ กบั หลอดลมฝอย
เทอรม์ นิ อล

NASAL CAVITY
โพรงจมกู

โพรงกระดกู ที่อยใู่ นบริเวณรอบๆ จมกู มอี ยู่ 4 คู่
คือ บริเวณกึ่งกลางหนา้ ผากเหนอื ค้ิวทง้ั สองขา้ ง 1
คู่ บริเวณใตส้ มองทง้ั สองขา้ ง 1 คู่ บริเวณคอ่ นไป
ขา้ ง หลงั ของกระดกู จมกู 1 คู่ และอยบู่ ริเวณสอง
ขา้ งของ จมกู อีก 1 คโู่ พรงอากาศเหลา่ นมี้ เี ย่ือบางๆ
อยเู่ ชน่ เดยี วกบั ชอ่ งจมกู

RESPIRATORY
SYSTEM

ระบบหายใจ

เป็ นกระบวนการที่สง่ิ มชี ีวิตหายใจนาออกซิเจนเขา้ สู่
ร่างกายเพ่ือใชใ้ นการเผาผลาญสารอาหารท่ีสะสมอยู่
ภายในเซลล์ ซึ่งจะทาใหไ้ ดพ้ ลงั งานท่ีใชใ้ นการทา
กิจกรรมตา่ งๆ และไดแ้ กส๊ คารบ์ อนไดออกไซดแ์ ละไอ
นา้ ออกมากบั ลมหายใจ

NOSTRIL

รจู มกู

รทู ่ีเป็ นทางผา่ นเขา้ ออกของอากาศเขา้ สโู่ พรงจมกู
จากนน้ั อากาศจะถกู สง่ ผา่ นเขา้ ไปยงั หลอดลมและเขา้
สปู่ อดเพื่อทาการแลกเปลยี่ นแกส๊ นอกจากอากาศ
แลว้ รจู มกู ยงั เป็ นทางออกของนา้ มกู หรือเศษ
อาหารท่ีเกิดจากการสาลกั อีกดว้ ย

CIRCULATORY SYSREM

AND LYMPHATIC SYSTEM

ระบบหมนุ เวียนเลือดและระบบนา้ เหลอื ง

CARDIAC MUSCLE

กลา้ มเนอื้ หวั ใจ

เป็ นกลา้ มเนอ้ื ลายชนดิ หนงึ่ ที่อยนู่ อกอานาจจิตใจ
(involuntary) พบที่หวั ใจ ทาหนา้ ที่ในการสบู ฉีดโลหิตไป
ยงั ระบบไหลเวียนโลหิตโดยการหดตวั ของกลา้ มเนอ้ื

LEUKOCYTE

เซลลเ์ ม็ดเลือดขาว

เป็ นของระบบภมู คิ มุ้ กนั ซ่ึงคอยป้ องกนั รา่ งกายจากทงั้ เชอื้ กอ่
โรคและสารแปลกปลอมตา่ งๆ เม็ดเลือดขาวมหี ลายชนดิ
ทง้ั หมดเจริญมาจากl ในไขกระดกู ที่ชอ่ื เซลลเ์ ม็ดเลอื ดขาวเป็ น
เซลลท์ ่ีพบไดท้ วั่ ไปในร่างกาย รวมไปถึงในเลือดและในระบบ
นา้ เหลอื ง

ERYTHROCYTE

เซลลเ์ ม็ดเลือดแดง

เป็ นเซลลเ์ พยี งหนงึ่ เดยี วระหวา่ งเซลลท์ งั้ หมดภายในร่างกาย
มนษุ ยท์ ่ีไมม่ ีนวิ เคลียส จริงแลว้ เซลลเ์ ม็ดเลือดแดงไมไ่ ดก้ าเนดิ มา

เชน่ น้ี ขณะที่เซลลเ์ ม็ดเลอื ดแดงถกู สรา้ งขนึ้ ในไขกระดกู (bone
marrow) นน้ั เซลลเ์ ม็ดเลือดแดงตา่ งก็มนี วิ เคลียสเหมอื นกบั เซลล์

อ่ืนๆ

LYMPH NODE

ตอ่ มนา้ เหลือง

เป็ นเนอื้ เยื่อในระบบนา้ เหลอื ง โดยมลี กั ษณะเป็ นกอ้ นเล็กๆรปู ไข่
นมุ่ เคลื่อนท่ไี ดเ้ ล็กนอ้ ย มขี นาดเล็กเป็ นมลิ ลเิ มตร ในภาวะปกติ

มกั คลาไมพ่ บเพราะจะอยปู่ นไปกบั เนอ้ื เยื่อไขมนั และเนอื้ เยื่อ
เกี่ยวพนั ตา่ งๆ

PERICARDIUM

ถงุ เย่ือหมุ้ หวั ใจ

ท่ีหอ่ หมุ้ หัวใจและ mediastinum great vessels โดยผนงั ของ pericardial
sac ประกอบดว้ ยเนอื้ เยื่อ 2 ชนั้ คือ ชนั้ นอกมลี กั ษณะเป็ น fibrous
tissue (outer fibrosa) และชน้ั ในมลี กั ษณะเป็ น serosa tissue (inner serosa

LYMPH

นา้ เหลือง

คือเครือขา่ ยของทอ่ ท่ีทาหนา้ ที่ในการลาเลียงนา้ เหลืองไปยงั
เนอื้ เย่ือตา่ งๆ ในร่างกาย ทอ่ นา้ เหลืองนนั้ จะเก็บรวบรวมแลว้
เซลลแ์ ละนา้ เหลืองสว่ นเกนิ กอ่ นจะนาไปกรองที่ตอ่ มนา้ เหลอื ง
ทอ่ นา้ เหลอื งทางานคลา้ ยกบั หลอดเลอื ด แตจ่ ะมแี รงดนั ในทอ่

นา้ เหลืองตา่ กวา่ มาก

PLASMA

พลาสมา

พลาสมา ในทางฟิ สกิ สแ์ ละเคมี คือ แกส๊ ท่ีมสี ภาพเป็ นไอออน และ
มกั จะถือเป็ นสถานะหนง่ึ ของสสาร การมสี ภาพเป็ นไอออน

ดงั กลา่ วน้ี หมายความวา่ จะมอี ิเล็กตรอนอยา่ งนอ้ ย 1 ตวั ถกู
ดงึ ออกจากโมเลกลุ

VALVE

ลิ้น

ลิ้น เป็ นมดั ของกลา้ มเนอ้ื โครงรา่ งขนาดใหญ่ท่ีอยบู่ ริเวณฐาน
ของชอ่ งปากเพ่ือรองรบั อาหาร และชว่ ยในการเค้ียวและการ

กลนื เป็ นอวยั วะที่สาคญั ในการรบั รส

BLOOD CAPILLARY

หลอดเลือดฝอย

หลอดเลอื ดท่ีขนาดเล็กมากแตกแขนงจากหลอดเลอื ดใหญไ่ ป
ตามเนอื้ เยอื่ ตา่ ง ๆ ทวั่ รา่ งกาย มผี นงั บาง ประกอบดว้ ยเซลล์
เพยี งชน้ั เดยี วเป็ นท่ีแลกเปล่ียนแกส๊ และสารตา่ ง ๆ ระหวา่ งเซลล์

กบั เลือด

PSEUDOHEART

หวั ใจเทียม

หัวใจเทียมเป็ นอปุ กรณท์ ี่ถกู ออกแบบพิเศษท่ีทาหนา้ ทีเ่ หมอื น
เคร่ืองปัม๊ นา้ คอยเพมิ่ แรงดนั สง่ เลอื ดจากหวั ใจไปเสน้ เลอื ดและ

สง่ เลอื ดไปเลีย้ งสว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย

LMMUNE SYSTEM

ระบบภมู คิ มุ้ กนั

PLASMA CELL

เซลลพ์ ลาสมา

เม็ดเลือดชนดิ หนง่ึ ซื่งอาศยั อยใู่ นไขกระดกู หนา้ ที่หลกั ของ
พลาสมาเซลล์ คือ สรา้ งแอนตบิ อดหี รืออิมมโู นโกลบลู ิน
(Immunoglobulin) หลายชนดิ เพอื่ สรา้ งภมู คิ มุ้ กนั ใหก้ บั รา่ งกายเพ่ือ
ตอ่ สกู้ บั เชอื้ โรค ปกตริ า่ งกายจะมจี านวนพลาสมาเซลลใ์ นไข

กระดกู ประมาณ 2 – 3 %

CYTOKINE
ไซโทไคน์

สารท่ีหลงั่ จากเซลลต์ า่ งๆ ในระบบภมู คิ มุ้ กนั ในภาวะที่ถกู
กระตนุ้ ดว้ ยแอนตเิ จนหรือตอบสนองตอ่ ภาวะการอกั เสบ ดงั นน้ั
เราสามารถตรวจหาชนดิ หรือวดั ปริมาณไซโตไคนเ์ พ่ือตรวจการ

ทางานของลิมโฟไซทช์ นดิ ตา่ งๆ

T LYMPHOCYTE
ทีลิมโฟไซต์

เป็ นเม็ดเลอื ดขาวลิมโฟไซตท์ ี่สรา้ งจากเซลลต์ น้ กาเนดิ (stem cell)
ในไขกระดกู (bone marrow) เมอื่ เม็ดเลอื ดขาวนไี้ ปอยทู่ ่ีตอ่ มไทมสั

จะถกู ชกั นาใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลง ไดเ้ ป็ นเซลลต์ งั้ ตน้ และ
เปลยี่ นแปลงตอ่ ไปเป็ นเซลลล์ ิมโฟไซต์

MACROPHAGE
แมโครฟาจ

เป็ น monocyte ท่ีอยใู่ นเนอื้ เย่ือ กระจายอยใู่ นอวยั วะตา่ ง ๆ เมอ่ื
กนิ antigen เขา้ ไปแลว้ จะทาหนา้ ท่ีเป็ น antigen presenting cell (APC)
คือสง่ สญั ญาณจาก antigen ตอ่ มาใหเ้ ซลลเ์ ม็ดเลือดขาวชนดิ T

lymphocyte เพ่อื รบั หนา้ ท่ีตอ่ ไป

RHEUMATOID
ARTHRITIS

โรคขอ้ รมู าตอยด์

เป็ นโรคขอ้ อกั เสบเร้ือรงั ชนดิ หนงึ่ ท่ีมลี กั ษณะเดน่ คือ มกี าร
เจริญงอกงามของเยือ่ บขุ อ้ อย่างมาก เย่ือบขุ อ้ นจ้ี ะลกุ ลามและ
ทาลายกระดกู และขอ้ ในท่ีสดุ โรคนม้ี ไิ ดเ้ ป็ นแตเ่ ฉพาะขอ้ เทา่ นน้ั
ยงั อาจมอี าการทางระบบอื่น ๆ อีก เชน่ ตา ประสาท กลา้ มเนอ้ื

ALLERGYv
โรคภมู แิ พ้

เกดิ จากรา่ งกายสมั ผสั สารกอ่ ภมู แิ พ้ ซึ่งไปกระตนุ้ ใหม้ ี
ปฏิกิริยาตอบสนองตอ่ สารเหลา่ นนั้ มากผดิ ปกติ และทาใหเ้ กิด

อาการตา่ งๆ

LUPUS
โรคลปู ัส

เป็ นอาการอกั เสบแบบเรื้อรงั ที่เกดิ ขนึ้ เมอ่ื ระบบภมู คิ มุ้ กนั ของ
ร่างกายหนั มาโจมตเี นอื้ เยือ่ และอวยั วะตา่ งๆ ของคณุ เอง การ
อกั เสบจากโรคลปู ัสอาจเกิดขน้ึ กบั ระบบรา่ งกายตา่ งๆ มากมาย

รวมทงั้ ขอ้ ตอ่ ผวิ หนงั ไต เม็ดเลอื ด สมอง หัวใจและปอด

SYSTEMIC LUPUS
ERYTHEMATOSUS

โรคเอสแอลอี

เรื้อรงั ที่เกดิ จากภมู ติ า้ นทานทารา้ ยตนเองซ่ึงทาใหม้ ี
ผลกระทบกบั อวยั วะตา่ งๆในร่างกาย โดยเฉพาะ ผวิ หนงั ขอ้
ระบบเลอื ด ไตและระบบประสาทสว่ นกลาง "เร้ือรงั " หมายถึง

การท่ีเป็ นโรคตลอด ชวี ิต "ภมู ติ า้ นทานทารา้ ยตนเอง

ALLERGEN
สารกอ่ ภมู แิ พ้

ที่กอ่ ใหเ้ กิดภมู แิ พ้ มกั เป็ นสารอาหารประเภทโปรตนี ที่ทนตอ่
ความรอ้ น ทนตอ่ การยอ่ ยในระบบทางเดินอาหาร เชน่ การยอ่ ย

ดว้ ยกรดในกระเพาะอาหาร และเอนไซมใ์ นลาไสเ้ ล็ก

ANTIGEN
แอนตเิ จน

สง่ิ แปลกปลอมเมอ่ื เขา้ สรู่ า่ งกายแลว้ กระตนุ้ ใหร้ ่างกายสรา้ ง
แอนตบิ อดี และแอนตเิ จนนนั้ จะทาปฏิกริ ิยาจาเพาะกบั แอนตบิ อดี

ซ่ึงวคั ซีนก็ถือเป็ นแอนตเิ จนอยา่ งหนง่ึ

EXCRETORY
SYSTEM

ระบบขบั ถา่ ย

PELVIS

กรวยไต

กรวยไตเป็ นอวยั วะทม่ี ลี กั ษณะเป็ นโพรง เป็ นสว่ นตอ่ กบั ทอ่ ไต
ทาหนา้ ท่ีรองรบั นา้ ปัสสาวะที่กรองแลว้ จากเซลลข์ องไต จากนน้ั

จึงนาสง่ ไปท่ีทอ่ ไต

URINARY BLADDER

กระเพาะปัสสาวะ

เป็ นอวยั วะทมี่ รี ปู ร่างคลา้ ยบอลลนู อยหู่ ลงั กระดกู หัวหนา่ ว
ภายในองุ้ เชงิ กรานดา้ นหนา้ มดลกู ของผหู้ ญิง และจะอยดู่ า้ นหนา้

ตอ่ ทวารหนกั ของผชู้ าย มหี นา้ ท่ีกกั เก็บปัสสาวะไดป้ ระมาณ
350-500 มลิ ลลิ ิตร

CORTEX

คอรเ์ ทกซ์

มลี กั ษณะเป็ นจดุ เล็ก ๆ ประกอบเป็ นชนั้ ผวิ ชนั้ นอกของไต มสี ี
เหมอื นสไตคือนา้ ตาลแดง อย่ใู ตเ้ ยื่อหมุ้ ไต อยเู่ หนอื วนิ ลั ปิ รามดิ

(Renal Pyramids) โดยมบี างสว่ นแทรกตวั ลงไปใน Renal Pyramids
ดว้ ย ในชนั้ Cortex นจ้ี ะมี บทบาทสาคญั ในการกรองนา้ ปัสสาวะ

KIDNEY
ไต

เป็ นอวยั วะรปู ถวั่ ซ่ึงมหี นา้ ท่ีควบคมุ สาคญั หลายอยา่ งในสตั วม์ ี
กระดกู สนั หลงั ไตนาโมเลกลุ อินทรียส์ ว่ นเกนิ (เชน่ กลโู คส) ออก
และดว้ ยฤทธ์ินเี้ องท่ีเป็ นการทาหนา้ ที่ที่ทราบกนั ดที ่ีสดุ ของไต
คือ การขบั ของเสียจากเมแทบอลซิ ึม (เชน่ ยเู รีย แม้ 90% ของ

ปริมาณท่ีกรองถกู ดดู กลบั ท่ีหนว่ ยไต) ออกจากร่างกาย


Click to View FlipBook Version