46
บทท่ี 6
หอ้ งเรียนไทย จะสรา้ ง SDGs อย่างไรดี
“มาเรยี นรไู้ ปด้วยกนั เพอื่ ออกแบบการจัดการเรยี นรู้”
“ครูไทยทำงานร่วมกนั แตไ่ ม่ค่อยมีโอกาสสอนร่วมกัน”
จากประสบการณ์การสอนท่หี ้องเรยี นเกาหลี การทำสอนแบบทีมเปน็ วิธที ่พี ฒั นา
ทกั ษะการสอนไดเ้ ป็นอย่างดี จงึ ตงั้ ใจทจี่ ะลองทำทีมสอน (Team Teaching) สกั ครง้ั เมอ่ื
กลับมาหอ้ งเรยี นไทย
“เราจะเล่าสคู่ รฟู งั อย่างไร ให้อยากมีใจทำงานร่วมกัน”
การเล่าประสบการณก์ ารเรยี นการสอนเปน็ ทีมใหเ้ พื่อนครูได้ฟัง เปน็ วธิ ที ี่สามารถ
คัดเลอื กคนท่ีสนใจทำงานร่วมกนั ได้เปน็ อย่างดี เพราะบางคนจะฟังแล้วผา่ นไป บางคนฟังตาม
มารยาท ในขณะทีบ่ างคนฟังแล้วอยากลองทำ เมอ่ื มีใจอยากลองทำ การระดมสมองร่วมกนั จึง
เกดิ ขึ้นได้
ครทู ีส่ นใจกิจกรรมการสอนเป็นทมี ประกอบดว้ ย หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ครสู ังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ครูเคมี และครชู วี วิทยา
โจทย์ของเราคอื จะทำอย่างไรให้ทกุ คนในโรงเรียนรู้จกั SDGs
เรามีความเช่ือเหมือนกนั ว่าการสอ่ื สารด้วย “การประชมุ และการประกาศบอก
นกั เรียนหน้าเสาธงเปน็ วธิ ีการทีไ่ ม่มีประสิทธิภาพ เหมอื นทำงานแตไ่ มไ่ ด้ผลอะไร” นา่ จะมีวธิ ที ี่
ดีกว่านัน้ ในที่สดุ เราเลือกการใชส้ ง่ิ แวดล้อมค่อยๆสร้างการรบั รู้ให้กบั ครแู ละนกั เรียน ด้วย
วธิ ีการดงั ต่อไปน้ี
1. Awake: ปลุกการรับรู้
แทนการบอกกล่าว เราจะจดั สง่ิ แวดลอ้ ม
เพ่อื ให้นักเรียนเกิดการซึมซับและคอ่ ยๆรบั รู้ วิธนี อ้ี าจ
ตอ้ งลงทุนสักหน่อย นั่นคือการจัดทำส่อื ภายใน
ห้องเรยี น แต่ได้ผลไมน่ ้อยเลยทเี ดยี ว
ภาพที่ 33 ป้ายไวนลิ ทสี่ ามารถ
ติดในห้องเรียนหรือพกพาไปนอกพื้นท่ไี ด้
47
ในห้องเรียน
มกี ารการจดั ห้องเรยี นด้วยป้ายเปา้ หมายการพฒั นาท่ีย่ังยืน (SDGs) ทัง้ 17 ขอ้
หลากหลายรปู แบบจัดมุมบอร์ดประชาสัมพันธ์กิจกรรมในแตล่ ะสัปดาห์ และจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนทบี่ รู ณาการ SDGs
ใชพ้ นื้ ที่ในห้องเรยี นท่ีเคยว่างเปล่าเป็น
แหล่งเรียนรู้ ใหน้ กั เรยี นคุ้นตา ตัวครเู องกร็ ู้สึกดีไป
ด้วยทไ่ี ดจ้ ดั ห้องเรยี นให้น่าสนใจ น่าเรยี นรู้ เปน็
การเปล่ียนทีเ่ ร่มิ ต้นจากตัวครเู อง ส่ิงแวดลอ้ มใน
หอ้ งเรียน เพอ่ื ใหส้ ่ิงเหล่าน้ีสร้างการรบั รู้ใหก้ บั
นักเรียน ส่ิงท่สี ังเกตได้คือ การมีท้ังภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษช่วยทำให้นกั เรียนได้เรียนรคู้ ำศพั ท์ ภาพที่ 34 ป้ายเปา้ หมายการพฒั นาที่ยัง่ ยนื
ไปดว้ ย เด็ก ม. 1 มักจะมีความเข้าใจว่า sex คือ ในห้องเรียน
เพศ ในข้อท่ี 5 ความเท่าเทียมทางเพศ เดก็ จะถาม
และคน้ หาวา่ gender แปลวา่ อะไร ซึ่งนำไปส่กู ารหาคำตอบของครดู ว้ ยเชน่ กัน
อธบิ ายเพม่ิ เตมิ
sex คือเพศทางกายภาพ ตอบ male (ผชู้ าย) หรือ female (ผู้หญงิ )
Gender คอื เพศทางจติ ใจนอกจากการตอบ male หรอื female ยังสามารถตอบไดว้ า่
FTM (female to male) กายเปน็ หญงิ ใจเป็นชาย MTF (male to female) กายเป็นชาย ใจ
เป็นหญงิ หรอื Gender fluid คือ สามารถเปลี่ยนแปลงได้เรื่อยๆ บางครั้งรู้สกึ เป็นชาย บางคร้ัง
รสู้ กึ เปน็ หญิง
นอกหอ้ งเรียน
ทุกกิจกรรมของโรงเรียนท่จี ดั ขึ้นทมี ของเราจะเข้าไปมสี ว่ นรว่ มและนำปา้ ยเป้าหมาย
การพฒั นาท่ยี ัง่ ยนื ท่เี กยี่ วข้องกบั กิจกรรมนำไปร่วมถา่ ยภาพซึ่งเมื่อครูอนื่ ๆ ถามก็จะเปน็ โอกาส
ใหอ้ ธิบายเกี่ยวเป้าหมายการพฒั นาทยี่ ่งั ยืน เช่น ดำเนนิ การดแู ลช่วยเหลอื นักเรียนเพือ่ พฒั นา
ทักษะอาชีพ (การทำหม่ีกรอบ) สำหรับนกั เรยี นทนุ ยากจนพเิ ศษ (ทุนเสมอภาค)
48
ภาพที 35 การเข้ารว่ มกจิ กรรมตา่ งๆภายในโรงเรียน
สร้างกิจกรรมท่ีนักเรียนท่มี สี ่วนรว่ มได้อยา่ งง่ายๆ เช่น การสร้างแคมเปญถ่ายภาพ
ด้วยเชญิ ชวนใหน้ กั เรยี นออกแบบการถ่ายภาพกบั ป้ายเป้าหมายการพัฒนาทยี่ ่ังยืน (SDGs)
ในแบบสรา้ งสรรค์
ภาพที่ 36 เชิญชวนให้นกั เรยี นออกแบบถา่ ยภาพกบั SDGs อยา่ งสร้างสรรค์
ภาพที่ 37 ทกุ กิจกรรมนำ SDGs เขา้ ไปมสี ่วนรว่ ม
โดยวเิ คราะหว์ ่ากจิ กรรมนั้นสอดคลอ้ งกับเปา้ หมายข้อใด
49
และทกุ กิจกรรมทที่ ำ จะมีการเชิญชวนและรายงานผ่านทางไลน์ของโรงเรียนอยู่เรื่อยๆ
ตอ่ ใหค้ รูไม่ไดเ้ ขา้ ร่วมกิจกรรม แตจ่ ะรับรอู้ ยเู่ สมอวา่ เราทำอะไร และทส่ี ำคัญยังเป็น
การประชาสมั พันธ์เพอื่ เชิญชวนใหค้ รทู ่ีสนใจมาร่วมกิจกรรม
ภาพที่ 38 ภาพแสดงกิจกรรมทเ่ี ราทำ มคี วามสำคัญ
ทงั้ เปน็ การเชญิ ชวนและเผยแพรก่ ิจกรรม
การเปลี่ยนแปลงต้องใช้เวลา เราอาจปลูกต้นถ่วั ไดภ้ ายใน 1 สปั ดาห์ แตถ่ า้ จะปลกู ไม้
ยนื ต้นต้องใชเ้ วลาหลายปี แตถ่ ้าเราไม่ปลูก... ก็จะไม่ไดต้ น้ อะไรเลย การเปลย่ี นแปลงท้งั ระบบ
ไม่สามารถเกิดขึน้ ได้งา่ ยๆ แต่เราจะปล่อยให้ไม่มีการเปลย่ี นแปลงอะไรเลยไม่ได้ อยา่ งนอ้ ยให้
เริ่มเปลี่ยนท่ีเราเอง
การตกแตง่ ห้องเรยี นใหม่ๆ เด็กๆก็ได้เปลย่ี นบรรยากาศ
การคน้ หาส่ือและวิธกี าร ก็ทำให้เราไดเ้ รียนร้กู ระบวนการเรียนการสอนมากข้ึน
การมีทีมสอน ทมี คอยกระต้นุ ให้ สร้างสรรคก์ จิ กรรมตอ่ ยอดงานกนั ไปเรอื่ ยๆ
สงิ่ เหลา่ นท้ี ำใหช้ ีวติ ในโรงเรียนมชี วี ติ ชีวา มคี วามทา้ ทายและมีความหมายมากข้ึน
การสรา้ งกระแสจงึ เปน็ วิธีการส่อื สารใหน้ ่าสนใจ ให้คนสงสยั ว่าเรากำลังทำอะไร
และเชญิ ชวนให้มาทำกจิ กรรมรว่ มกัน
อยา่ งน้อย...การทำใหม้ องเหน็ จะกระตนุ้ เกดิ การรบั รู้หรือความสงสัย
ดีกว่าไมท่ ำอะไรเลย
--กมลรตั น์ ฉมิ พาลี-
50
2. Action: ลงมอื ทำ
กิจกรรมการเรยี นการสอนห้องเรยี น 124 (หอ้ งเรียนทจี่ ัดส่อื และบรรยากาศการเรียนรู้
เรอ่ื งความพลโลก) ห้องเรียนเป้าหมายการพฒั นาที่ยั่งยนื (SDGs) ฝกึ การคดิ และฝึกปฏบิ ตั ิการ
เปน็ พลเมอื งโลก
มคี ำกลา่ วว่า “มนุษยท์ ุกคนมียนี เหน็ แก่ตวั โดยกำเนิด จึงจำเป็นตอ้ งถกู สอนให้มีความ
เมตตาและสามารถทำงานรว่ มกันได”้ การจัดการเรียนร้จู งึ ให้ความสำคญั กับการฝึกฝนผเู้ รียน
ใหส้ ามารถร่วมมือร่วมใจทำงานเปน็ ทีมสอดคล้องกับสงั คมในศตวรรษที่ ๒๑ ท่ตี ้องการความ
ร่วมมือในการแกป้ ัญหารว่ มกันและสร้างสรรค์นวตั กรรมต่างๆทใ่ี ส่ใจผูค้ นในสงั คมและดแู ล
สง่ิ แวดลอ้ ม เพราะความก้าวหน้าของเทคโนโลยกี ารสื่อสารทำใหส้ ามารถเกิดความร่วมมอื ท่ี
กว้างขวางและแต่ต้องมีลึกซง้ึ กวา่ โลกสมัยก่อน การศึกษาตอ้ งเปล่ยี นจาก “เน้นการสอนของครู
มาเป็นเนน้ การเรียนของนักเรยี น เปลยี่ นจากเนน้ การเรยี นของปจั เจก (Individual Learning)
มาเปน็ เรียนร่วมกนั เป็นกลุ่ม (Team Learning) เปลย่ี นจากการเรียนแบบเนน้ การแข่งขนั มา
เป็นเนน้ ความรว่ มมอื ช่วยเหลอื แบง่ ปนั กนั ”
จงึ ได้ออกแบบกิจกรรมการเรยี นการสอนท่บี รู ณาการเป้าหมายการพฒั นาทยี่ ั่งยืนลงสู่
ห้องเรียนในเรอ่ื งระบบย่อยอาหาร ผเู้ รยี นจะได้รบั มวลประสบการณ์เกี่ยวกับองคค์ วามร้เู ร่ือง
การยอ่ ยอาหาร ในชวี ติ จริงเร่ืองของอาหารสง่ ผลกระทบตอ่ ผู้เรียนและผู้คนในสังคมอยา่ งมาก
นกั เรียนอาจเคยได้รบั ร้ถู ึงปัญหาความขาดแคลนอาหารในพ้ืนท่ตี า่ งๆทงั้ ในประเทศและนอก
ประเทศ สภาวะความขาดแคลนอาหารนำไปสู่ปญั หาด้านสังคม ดา้ นเศรษฐกิจและการเมือง
อย่างหลีกเล่ียงไม่ได้ ในขณะเดยี วกันก็มีปัญหาดา้ นอาหารที่เหลือท้ิงท่ีกอ่ ให้เกิดมลภาวะทาง
ส่งิ แวดลอ้ ม ปัญหาโรคอว้ นเพราะการรบั ประทานทีผ่ ดิ วิธี ปญั หาทงั้ หมดนต้ี า่ งเก่ยี วข้องกับเรอ่ื ง
อาหารและความยัง่ ยนื ดา้ นอาหารท่เี ปน็ ส่วนหนึ่งของเปา้ หมายการพัฒนาที่ยง่ั ยืนของโลก
(Global Goals) (เปา้ หมายท่ี 2 : Zero hunger ขจดั ความหวิ โหย) นกั เรยี นจึงควรได้มีโอกาส
รับรู้ มสี ่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ อย่างมีเหตผุ ล ตระหนักถงึ ความสำคัญของเรือ่ งอาหาร
ทมี่ ากกวา่ ระบบการยอ่ ยอาหารในฐานะพลเมืองโลก
เพอื่ เป็นตัวอย่างให้นกั เรียนเหน็ ถงึ ความสามารของการทำงานร่วมกนั ของครู จึงได้
พัฒนากิจกรรมการสอนในรูปแบบทมี ผสู้ อน ออกแบบกจิ กรรมเรียนรูร้ ่วมกันและสอนใน
รปู แบบของทีม เพือ่ พัฒนานกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยมีครผู สู้ อน 2 คนท่สี อนในระดับชนั้
มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ครู 1 คนเป็นครูกลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม
51
เพือ่ ให้ความรดู้ า้ นเปา้ หมายการพฒั นาทย่ี ัง่ ยืน และครู 1 คนเปน็ หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เพื่อชว่ ยสะทอ้ นการจดั การเรียนรูแ้ ละรว่ มสงั เกตพฤติกรรมของ
นกั เรียน โดยจัดบรรยากาศการเรียนรูเ้ หมือนอยใู่ นร้านกาแฟ แตล่ ะกล่มุ มีประเดน็ พดู คยุ กนั ใน
บรรยากาศทีเ่ ปน็ กนั เอง เพอื่ กระตุ้นใหท้ ุกคนมีส่วนร่วมในการแสดงความคดิ เห็น
“ทอ้ งท่ีหิว ไมร่ ู้จักกฎหมาย” “กินอาหารเปน็ ยา ดีกว่ากนิ ยาเปน็ อาหาร”
“ในนำ้ มียา ในนามีหนี้” “แค่กินหมด กล็ ดโลกร้อน”
"กินทิ้งกนิ ขว้างเทา่ กบั สรา้ งหลมุ ฝังตวั เอง”
นอกจากนี้นักเรียนยังไดเ้ ก็บรวมรวมข้อมูลการเหลอื ท้งิ ของอาหารท่ีโรงอาหาร นำมาซ่งึ
การรณรงค์ใหน้ ักเรยี นในโรงเรยี นร่วมกนั เลือกซื้ออาหารอย่างพอดี ทานอาหารทีม่ ีประโยชน์
และกนิ ใหห้ มดทุกครัง้ เพ่อื ลดอาหารด้านขยะและทำใหต้ นเองมสี ขุ ภาพท่ีดอี กี ดว้ ย
กจิ กรรมเรม่ิ ตงั้ แตใ่ หน้ กั เรียนมีสว่ นร่วมในการจัดร้านกาแฟ ในธมี ท่วี า่ “World Cafe:
เพราะอาหารไมใ่ ชแ่ ค่การยอ่ ย”
“กจิ กรรมเปิดโต๊ะกาแฟ แชรไ์ อเดีย เคลียร์ปัญหา สนทนาสรา้ งสรรค์ ลงมอื ทำเพอื่ การ
เปล่ียนแปลง” นค่ี ือโจทยท์ ี่มอบให้กับเด็กนกั เรียน นักเรียนมีหนา้ ท่ีศึกษาค้นหาวา่ กิจกรรม
World cafe เปน็ อย่างไร ทุกคนมบี ทบทอย่างไร นักเรยี นแบ่งหนา้ ทีก่ นั ดำเนนิ งาน เตรียมงาน
อยู่ 2 คาบเรียน
ภาพที่ 39 บรรยากาศการเตรยี มงาน
52
โดยมีกจิ กรรมการจดั การเรยี นการสอนดังต่อไปนี้
สาระสำคญั
ในเปา้ หมายทงั้ 17 เป้าหมายของกรอบการพัฒนาเพื่อความย่ังยนื สำหรับปี ค.ศ. 2030
ที่กำหนดโดยองคก์ ารสหประชาชาตนิ ั้น เป้าหมายเร่ืองของการ ขจัดความหวิ โหย (ข้อที่ 2
Zero hunger) ให้ทกุ ประเทศบรรลุความมั่นคงทางอาหาร สง่ เสรมิ เกษตรกรรมอยา่ งยั่งยนื ดู
จะเปน็ เร่ืองใกลต้ วั ท่เี หน็ ผลกระทบระดบั บุคคลไปจนระดับนโยบาย นนั่ กเ็ พราะอาหารเปน็ หนึ่ง
ในปัจจัยส่ีทม่ี คี วามจำเป็นต่อมนษุ ยเ์ ป็นอยา่ งยิ่ง และเราทุกคนต้องการอาหารเพื่อดำเนนิ ชีวิตใน
แต่ละวนั ซ่ึงเราไม่เพยี งแต่ต้องการอาหารในปรมิ าณท่ีเพียงพอ แต่ยงั ตอ้ งมคี ณุ ภาพทด่ี ีพอ
สอดคลอ้ งกับเร่อื งสขุ ภาพและความเป็นอยทู่ ดี่ ี (ขอ้ 3 Health and Well being) ปญั หา
ความมนั่ คงทางดา้ นอาหารจงึ ไมใ่ ช่แคเ่ รือ่ งปรมิ าณอาหารตอ่ จำนวนประชากร แต่รวมไปถึง
เรอ่ื งคณุ ภาพของอาหารอกี ด้วย ในกจิ กรรมการเรียนร้นู ีจ้ ึงตอ้ งการให้นกั เรยี นไดร้ บั ทราบถงึ
ปัญหาด้านอาหาร ตระหนักถงึ การเปน็ ส่วนหน่ึงของปัญหาด้านอาหารและคน้ คว้าแนวทางการ
แก้ปัญหาและแนวทางการจัดการปญั หาเกี่ยวกับขยะทเี่ กดิ จากอาหาร
โดยดำเนินกจิ กรรมดว้ ยวิธีการ World Cafe’ ซง่ึ เป็นรูปแบบหนง่ึ ของการทำกิจกรรม
แลกเปลยี่ นเรียนรู้ ซ่ึงเนน้ ให้ "ผ้เู ข้ารว่ มทุกคนได้มสี ่วนร่วมในการแลกเปลย่ี นความรู้
ประสบการณ์ ความคิดเห็น ในประเด็นทกี่ ลุม่ ไดก้ ำหนดไว้และทำกจิ กรรมภายใต้ "บรรยากาศ
แห่งมิตรไมตรี" ท้ังน้เี ปน็ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ภายใตแ้ นวคิด No Child Left Behind
(จุดเนน้ ของ สพม.) ให้นกั เรยี นได้เรียนอย่างสนุกและมีความสุข พฒั นาการสอนในรปู แบบ
Team Teaching การนเิ ทศตดิ ตามดว้ ยรูปแบบ KLUCN Empowerment (จดุ เนน้ ของ
โรงเรียน) เสริมแรง เพ่มิ พลัง รว่ มมอื กัน เปลี่ยนแปลงการเรียนรลู้ กู ถ.พ.
สาระชวี วิทยา
ข้อที่ 4 เขา้ ใจการย่อยอาหารของสัตว์และมนุษยก์ ารหายใจและการแลกเปล่ียนแกส๊
การลำเลียงสารและการหมุนเวียนเลือด ภมู ิคุ้มกันของร่างกาย การขบั ถ่าย การรบั รูแ้ ละการ
ตอบสนอง การเคลื่อนท่ี การสบื พนั ธ์แุ ละการเจรญิ เติบโต ฮอรโ์ มนกบั การรักษาดุลยภาพ
และพฤติกรรมของสัตว์ รวมท้งั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
53
ผลการเรยี นรู้
1. แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกับประเดน็ ด้านอาหารได้อย่างเปน็ เหตแุ ละผล
2. อภิปรายแนวทางการป้องกนั และแกไ้ ขประเด็นปญั หาเรือ่ งความมนั่ คงทางอาหาร
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
ด้านความรู้
1. อธบิ ายความคิดเหน็ ในประเด็นทีเ่ กยี่ วกับปัญหาและสถานการณด์ า้ นอาหารได้
2. ค้นคว้าและนำเสนอแนวทางการแกป้ ัญหาประเด็นปัญหาทเ่ี กยี่ วข้องกบั ปญั หาและ
สถานการณ์ดา้ นอาหาร
3. นำเสนอแนวทางการจดั การปัญหาเก่ียวกับขยะทีเ่ กิดจากอาหาร
ด้านทักษะและกระบวนการ
1. ทกั ษะการวเิ คราะหข์ ้อมลู เพ่อื นำเสนอสารสนเทศทศี่ กึ ษา
2. ทักษะการตีความและลงข้อสรปุ ประเดน็ ปญั หาที่เกยี่ วขอ้ งกบั ปญั หาและสถานการณ์
ดา้ นอาหาร
3. ทักษะการสอื่ สาร
ด้านคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ตระหนกั ถึงความสำคญั ของประเด็นปัญหาทีเ่ กี่ยวข้องกบั ปัญหาและสถานการณด์ ้าน
อาหารในปัจจบุ นั ทจี่ ะส่งผลตอ่ อนาคต
2. ตระหนักในการมีส่วนร่วมในประเด็นปัญหาทางสังคม
การจดั กิจกรรมการเรียนรู้
54
1. ข้ันเปดิ โต๊ะกาแฟ
บทบาทครู บทบาทของผเู้ รยี น ทกั ษะทพี่ ัฒนา สื่อทีใ่ ช/้ เวลา
ผ้เู รยี น อปุ กรณ์ 5 นาที
1. ครชู แ้ี จงกจิ กรรม 1. รับฟงั การชแี้ จง แบบประเมนิ
World café เพือ่ ฝึกให้ 2. ตรวจสอบความรู้ - ตรวจสอบการ ความรู้เดมิ เวลา
นกั เรยี นมีประสบการณ์ เดมิ ของตนเอง รับรขู้ องตนเอง 45
การแลกเปลีย่ นความ นาที
คดิ เห็นในรปู แบบของ
นานาชาติ เพอ่ื เตรยี ม
ความพรอ้ มในการมี
สว่ นรว่ มกจิ กรรมทาง
สงั คม
2. ตรวจสอบความรู้
เดิมดว้ ยแบบประเมิน
ตนเอง
2. ขนั้ พูดคยุ กลมกล่อม
บทบาทครู บทบาทของผูเ้ รียน ทกั ษะทพ่ี ฒั นา สื่อท่ใี ช้/
ผเู้ รยี น อุปกรณ์
สร้างแรงบันดาลใจ 1. ตง้ั ใจดคู ลิป
ใหโ้ อกาสคน้ หา 2. ดำเนินกจิ กรรม 1. ทักษะการ 1. กระดาษ
1. เปดิ วิดทิ ศั น์ 3 เรื่อง World Café ตาม วิเคราะห์ข้อมูล ปรฟู๊
- กนิ โคลนแทนข้าว บทบาทของตนเอง ให้ เพอ่ื นำเสนอ 2. ปากกา
- อาหารเหลอื ...ร้าย ครบท้ัง 4 รอบ สารสนเทศทศี่ กึ ษา 3. ชา กาแฟ
- ในน้ำมียา ในนามีหน้ี ประเด็นพูดคุย 2. ทกั ษะการ ขนม
2. สังเกตการ ร่วม โดยมีขอ้ ความ เปน็ ตีความและลง
พูดคยุ และให้ จดุ เริ่มต้นของบท ขอ้ สรุปประเด็น
คำแนะนำนกั เรียน สนทนาดงั ตอ่ ไปนี้ ปญั หาเร่อื งความ
มั่นคงทางอาหาร
บทบาทครู บทบาทของผู้เรยี น ทักษะที่พฒั นา สอ่ื ท่ีใช/้ 55
- สงั เกต ถามไถ่ สอน ผเู้ รียน อุปกรณ์ เวลา
บ้างบางเวลา
1.ท้องทห่ี วิ ไม่รู้จกั
- ให้ผู้เรยี นค้นหาและ
แก้ปญั หาด้วยตนเอง กฎหมาย
- ดูแลให้นักเรยี น 2. กินอาหารเป็นยา
แบ่งกลมุ่ ทำงาน
ดกี ว่ากินยาเป็นอาหาร
3. ในน้ำมยี า ในนามี
หน้ี
4. กนิ ท้งิ กินขว้าง
เท่ากบั สรา้ งหลมุ ฝงั
ตวั เอง
5. แค่กินหมด ก็ลดโลก
รอ้ น
6. คณุ กนิ อะไรเขา้ ไป
คุณกเ็ ป็นอย่างนั้น
3. ขั้นสกัดความคดิ
บทบาทครู บทบาทของผู้เรียน ทักษะทีพ่ ัฒนา สื่อทีใ่ ช้/ เวลา
ผูเ้ รียน อุปกรณ์
สนบั สนนุ ใหน้ กั เรยี น 40
สร้างผลงานที่ 1. ตอบคำถาม 1. ทกั ษะการ 1. กระดาษ นาที
สรา้ งสรรค์
1. ตั้งคำถามในแตล่ ะ 2. สรุปองค์ความร้ดู ว้ ย วิเคราะหข์ ้อมลู 2. สี ปากกา
กลมุ่ เชน่
Poster 1 แผ่น เพื่อนำเสนอ
- นกั เรียนไดเ้ รียนรู้
อะไรเพิ่มเตมิ จากการ 3. ประเมนิ ตนเองหลงั สารสนเทศที่ศึกษา
พดู คุยกับเพ่อื น
กิจกรรม 2. ทกั ษะการ
ตคี วามและลง
ข้อสรุปประเดน็
ปัญหาเร่ืองความ
ม่นั คงทางอาหาร
56
4. ข้ันลุกจากรา้ นไปสานไอเดยี
บทบาทครู บทบาทของผูเ้ รยี น ทักษะทพี่ ัฒนา สื่อที่ใช้/ เวลา
ผูเ้ รียน อุปกรณ์
1. กระดาษ 60
1. ชวนนกั เรยี นคดิ ต่อ 1. นำผลงานลงสู่ 1. ทกั ษะการ 2. สี ปากกา นาที
ยอดแนวคิดลงสู่ สถานการณห์ รือบรบิ ท สอื่ สารท่ี
สถานการณห์ รือบริบท จรงิ สรา้ งสรรค์
จริง 2. ร่วมคิดและ
2. ชวนนักเรียนสงั เกต แลกเปลยี่ นกบั ครู
ขยะจากอาหารท่ี
เกิดขึ้นในกิจกรรมคร้ัง
นี้
- นักเรียนไดแ้ ยกขยะ
หรือไม่
- ทำไมบางอย่างเรารู้
แตท่ ำไดย้ าก
World Cafeหอ้ งเรียนคึกคกั 57
World Cafeห้องเรียนคกึ คกั
เมาสม์ อยแบบมีสาระ
มาแชร์ไอเดียด้วยกันนะทุกคน เมาสม์ อยแบบมีสาระ
มาแชรไ์ อเดยี ด้วยกนั นะทกุ คน
หลกั การสนทนากลมกล่อม สรปุ ขนั้ ตอน
1. เลือกเครอ่ื งดื่ม 1. พดู คยุ ในกลมุ่ เรา (Talk)
2. น่ังลอ้ มโตะ๊ 2. ออกไปเรียนรูจ้ ากกลุม่ อน่ื (Walk around)
3. เลือกผนู้ ำสนทนา ซ่งึ จะทำหน้าที่ 3. กลบั มาบอกเล่าแลกเปลยี่ นในกลมุ่ (Share)
อา่ นคำถาม/อา่ นสถานการณแ์ ละ 4. สรุปขอ้ มลู ออกแบบและจดั กระทำข้อมูล
ชวนพูดคยุ เพอื่ นำเสนอต่อทุกคน (Show)
4. เลอื กผู้บนั ทกึ ซึง่ จะทำหนา้ ทจี่ ดบนั ทกึ บท
สนทนาและสรปุ บทสนทนา แนวทางในการนำเสนอ
5. สมาชกิ ทกุ คนจะทำหนา้ ที่แสดงความคิดเห็น ตัวอย่าง
เมือ่ ผนู้ ำสนทนาเชอ้ื เชิญ และเป็นผฟู้ ังทด่ี ี 1. Mind-mapping
6. เม่ือครบเวลา 15 นาที ผบู้ ันทกึ จะอยู่ประจำ 2. Poster(ภาพ ขอ้ ความสีสันสดใส)
โต๊ะ เรียกว่า Host (โฮตส์ = เจ้าบ้าน) เพ่อื บอก 3. Info graphic (ข้อมลู ตวั เลข สถิติ)
เลา่ ให้กับสมาชกิ ใหมๆ่ ทจี่ ะมาเยย่ี มเยียนโตะ๊ เรา 4. คำกลอน บทเพลง
7. สมาชิกคนอ่ืนๆ แยกยา้ ยไปพูดคุยกบั เพื่อนๆ “สร้างการส่อื สารอย่างสร้างสรรค์”
โต๊ะอืน่ ๆ
8. กลับมาทโ่ี ต๊ะตัวเอง โดยแต่ละคนจะนำ
เรอ่ื งราวมาเลา่ สู่กนั ฟัง และสรุปความคดิ เหน็
ของกล่มุ ในรูปแบบต่างๆ เชน่ Mind-map
Graphic organize
9. Show and Share
58
แบบประเมนิ ตนเอง
ชื่อ..........................................................................................ชั้น....................เลขท.่ี ...................
แบบประเมนิ ตนเองก่อนการทำกิจกรรม แบบประเมินตนเองหลงั การทำกจิ กรรม
ระดับความคิดเหน็ 5 = มากท่ีสดุ 4 = มาก 3= ปานกลาง ระดบั ความคดิ เหน็ 5 = มากทีส่ ดุ 4 = มาก 3= ปานกลาง
2=น้อย 1 = น้อยทสี่ ุด 2=นอ้ ย 1 = นอ้ ยทส่ี ดุ
รายการ 54321 รายการ 54321
1. การรับรู้เรื่องปญั หาอาหารในสงั คม 1. การรับรู้เรื่องปญั หาอาหารในสงั คม
2. ความตระหนกั ในปัญหาของอาหาร 2. ความตระหนกั ในปญั หาของอาหาร
3. ความสามารถเช่อื มโยงเรื่องทีเ่ รยี น 3. ความสามารถเชอ่ื มโยงเร่ืองที่เรยี น
กบั ชวี ติ จริง กบั ชวี ติ จริง
4. กลา้ แสดงความคดิ เห็น 4. กล้าแสดงความคดิ เห็น
5. รู้สกึ วา่ ตนเองมเี ปน็ ส่วนหนง่ึ ท่ี 5. รู้สกึ วา่ ตนเองมเี ปน็ สว่ นหนง่ึ ที่
สำคัญในการแก้ปญั หาทเ่ี กี่ยวข้องกบั สำคญั ในการแกป้ ญั หาทเ่ี กีย่ วข้องกบั
อาหาร อาหาร
ภาพประกอบกิจกรรมการจัดการเรยี นรู้
ภาพที่ 40 Open class ผู้บริหารและคณะครเู ยี่ยมชมการเรียนการสอน
59
ภาพที่ 41 บรรยากาศการเรียนการสอน
60
61
62
ภาพท่ี 42 ผลงานของนักเรยี น
63
เมือ่ สะท้อนการเรยี นการสอนทง้ั เทอมปรากฏว่า กิจกรรมนเ้ี ป็นกิจกรรการเรยี นรู้ที่
นักเรียนชอบมากท่ีสดุ
ภาพท่ี 43 ตวั อย่างการเขียนสะท้อนคดิ ของนกั เรยี น
64
3. Awareness ตระหนกั รู้
ทีมผ้สู อนคาดหวังว่าการปลุกการรบั รู้ การลงมือทำ จะนำไปส่กู ารสร้างความตระหนกั รู้
ให้กับผูเ้ รียน จงึ ใช้วธิ กี ารทีง่ ่ายทส่ี ดุ ว่า หากนักเรยี นต้องการสร้างปลุกการรบั รู้ของครูใน
โรงเรียนนักเรยี นจะทำอย่างไร และถ้าตอ้ งปลกุ การรับรูข้ องนกั เรียนในโรงเรียน นักเรียนจะทำ
อยา่ งไร
แม้นกั เรียนจะนำเสนอวิธีการทไี่ มใ่ ชส่ ่ิงแปลกใหม่ แตก่ ารทนี่ กั เรียนได้เรม่ิ คดิ จะทำบาง
สิง่ บางอย่างในการส่ือสารไปยังผู้อน่ื บา้ ง นัน่ เพียงพอสำหรับการเริม่ ตน้ ในครัง้ น้ี
ภาพที่ 44 นักเรยี นเตรียมส่งมอบพวงกญุ แจ SDGs ใหก้ ับคณะครใู นโรงเรียน
65
ภาพท่ี 45 นักเรียนสง่ มอบพวงกญุ แจ SDGs ให้กับคณะครใู นโรงเรียน
ชวนนอ้ งๆในโรงเรียนมาร่วมกจิ กรรมแคมเปญ #TPKfightforZerohunger โดย
ถ่ายภาพ Before/After กระต้นุ ใหท้ กุ คนซื้อข้าวอยา่ งพอดีและกนิ ใหห้ มดทกุ ครั้ง
ภาพที่ 46 แคมเปญ #TPKfightforZerohunger
66
มนุษย์ทกุ คนมีสญั ชาตญาณของการเอาตัวรอด หากการเอาตัวรอดนั้น
เป็นการเอาเปรียบผอู้ นื่ หรือเพกิ เฉยต่อส่งิ ที่ควรทำ อาจนำไปสู่นสิ ัยความเหน็ แก่ตัว
อยา่ งเคยชนิ จึงตอ้ งใชส้ ติกำกบั ใช้เหตผุ ลพจิ ารณา ใช้ใจเมตตา
เปล่ยี นจากการทำแค่ตวั รอด
มาเปน็ การทำงานร่วมกนั เพอ่ื การอยรู่ อดของทุกคน
67
บทส่งท้าย
ก้าวตอ่ ไป
“เร่อื งราวและการส่อื สาร จะช่วยสรา้ งการเปล่ียนแปลง”
หลงั จากจบกจิ กรรม World café ทีมสอนของเราตา่ งร้สู กึ เหมือนกนั ว่า เราดใี จท่ีไดท้ ำ
กจิ กรรมนแ้ี ละแน่นอนว่าตอ้ งการทีจ่ ะออกแบบกิจกรรมทีบ่ รู ณาการ SDGs เขา้ ไปในกจิ กรรม
ในครัง้ ตอ่ ๆไป เพอื่ ชว่ ยกนั สร้างห้องเรยี นทีม่ ี Active Learning ออกแบบกจิ กรรมทีท่ ำให้
เกดิ การเรียนร้ผู ่านการลงมือทำ ฝึกทกั ษะการคิดและการปฏิบัติตนในฐานะพลโลก
เราอยากเห็นนกั เรยี นท่คี ดิ ถงึ ส่วนรวม มีความคิดสร้างสรรค์ ทำงานร่วมกนั กับผู้อนื่ ได้
มองโลกอยา่ งมคี วามหวงั เสมอ เพราะฉะนัน้ เราตอ้ งเป็นตน้ แบบใหไ้ ด้
หากโรงเรยี นเปรียบเสมอื นสงั คมจำลองของนักเรียน เดก็ ๆควรไดเ้ รียนรู้ว่า เราไม่
สามารถฝากความหวงั ในการเปลยี่ นแปลงไว้ทีใ่ ครคนใดคนหนง่ึ ได้ เราทุกคนตอ้ งเปน็ จุดเร่ิมต้น
ของความหวังน้ัน ลงมือทำและสง่ ตอ่ ไปยงั ผคู้ น ในการร่วมมือกันสรา้ งโลกทน่ี า่ อยูส่ ำหรับทุกคน
“เราต้องเป็นส่วนหนึ่งของประวตั ศิ าสตรว์ า่ ไดช้ ่วยกันลดภาวะโลกรอ้ นไดห้ มดไปในรนุ่
ของเรา เราช่วยกนั ขจดั ความยากจนและอดอยาก เราไดส้ ร้างความเท่าเทียมให้ถือกำเนิด
เกิดขึ้นและเราทกุ คนต่างเข้าถงึ การศกึ ษาที่มคี ณุ ภาพ...”
“เราควรจะมีความหวังและต้ังใจลงมอื ทำดว้ ยกนั ไมใ่ ช่หรือ...”
68
เผยแพร/่ ส่ือสารไปยังเครอื ข่ายครู
ส่อื สารกจิ กรรมไปยังรุ่นน้องประถมศกึ ษาในวัน Open house
69
ส่ือสารกิจกรรมไปเพอื่ นนักเรยี นโรงเรียนต่างๆในการเขา้ รว่ มกิจกรรม
เราจะไมห่ ยดุ เพียงเทา่ น.ี้ ..เราจะทำตอ่ ไป
70
Our action for our Future.
Join us and share your Journey.
เริม่ ต้นเพอื่ สร้างความตะหนัก
สร้างกระแสเพือ่ ปลุกจติ สำนกึ
มารว่ มแชร์กิจกรรมท่ีให้ความรู้
และใหค้ วามสำคัญกับ
เป้าหมายของการพัฒนาทย่ี ง่ั ยนื
เรมิ่ ท่ีฉนั
เริม่ ที่คุณเริม่
เรม่ิ ท่ีเรา
71
บรรณานุกรม
1 สไปเดอร์แมน การตายของลุงเบน (2545). สืบคน้ 2 ธันวาคม 2562,
จาก https://www.youtube.com/watch?v=9LglzW3HFyg.
2 ทรูมูฟ เอช " การให้ คือการส่ือสารทดี่ ที ี่สดุ " TrueMove H : Giving สบื ค้น 2 ธันวาคม
2562, จาก https://www.youtube.com/watch?v=7s22HX18wDY.
3 เวิร์คพอยทท์ เู ดย์. (2562). [ฉบับเต็ม สนุ ทรพจน์ เกรต้า ธนั เบริ ก์ Greta Thunberg Full
Speech - Workpoint News]. สืบค้น 3 ธันวาคม 2562, จาก https://www.
youtube.com/watch?v=SKjiUBT5TE8.
4 Local Adjustment Training
5 Dharma Palekahelu and Ferdy Rondonuwu. Exploring Water Turbidity
Using A Smartphone. สืบคน้ 1 มกราคม 2563, จาก https://www.seadstem.
org/th/experiment/exploring-water-turbidity-using-a-smartphone/)
6Watercitizen. (2555). Sachs Sees Lack of Water at Root of Conflicts in Poorest
Countries. สบื ค้น 5 ธันวาคม 2562, จาก https://watercitizennews.com/sachs
-sees-lack-of-water-at-root-of-conflicts-in-poorest-countries/.
7ทีมขา่ วเศรษฐกจิ มติชนรายวัน. (2563). เกาะติดวิกฤตแล้ง ปี”63 วาระชาติวดั ฝีมือ รบ.ตู่
แก้ไมไ่ ด้…สะเทือนศก.ไทยแน่. สืบคน้ 21 มกราคม 2563, จาก https://www.
matichon.co.th/economy/eco-report/news_1903851)
8สเุ มธ อาวสกลุ สทุ ธิ. (2562). ปัญหาน้ำเนา่ เสียในประเทศไทย. สืบค้น 1 มกราคม 2563,
จาก https://bit.ly/2RdF4ak.
72
ภาพที่ 2 เกรต้า ธนั เบิรก์ ผู้ไดร้ ับยกยอ่ งในฐานะผูน้ ำรุ่นต่อไป
Suyin Haynes. (2561). ‘Now I Am Speaking to the Whole World.’ How
Teen Climate Activist Greta Thunberg Got Everyone to Listen.
สหรฐั อเมรกิ า: นิตยสารไทม.์ สืบค้น 2 ธันวาคม 2562, จาก
https://time.com/collection-post/5584902/greta-thunberg-next-
generationleaders/?utm_medium=socialflowtw&utm_
campaign=time&utm_source=
twitter.com&xid=time_socialflow_twitter.
ภาพท่ี 3 เกรต้า ธันเบิรก์ ผู้ได้รบั ยกยอ่ งบคุ คลแหง่ ปี
Evgenia Arbugaeve. (2561). Person of The Year Time. สหรัฐอเมรกิ า:
นิตยสารไทม.์ สบื คน้ 2 ธันวาคม 2562, จาก https://time.com/person-of-the-
year-2019-greta-thunberg/.
73
“พนั ธะรว่ มใจ...รกั ษาโอกาสของร่นุ ตอ่ ไป”