กฐินพระราชทาน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ประจ�ำปี ๒๕๖๔
ณ วัดหนองแวง พระอารามหลวง
อ�ำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๔
กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔
ค�ำน�ำ
กฐินทานเป็นบุญกิริยาประการหน่ึง ซึ่งชาวพุทธบริษัทจะพึงกระท�ำ
ด้วยการน�ำผ้ากฐินไปทอดถวายพระภิกษุ สามเณร ณ พระอารามต่าง ๆ ท่ี
จ�ำพรรษาครบ ๓ เดือน ตามพุทธานุญาตนับเป็นการอุปถัมภ์บ�ำรุงกุลบุตร
ที่ประพฤติปฏิบัติธรรมตามสมณวิสัยให้ได้มีผ้านุ่งห่มใหม่ ซึ่งก็คือการทอด
หรือถวายผ้ากฐินให้แก่ภิกษุ สามเณรในท่ามกลางท่ีประชุมสงฆ์น่ันเอง
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ได้ก�ำหนดแนวนโยบายไว้เป็นท่ี
แน่ชัดว่าจะท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของไทย
และถือเป็นภารกิจอันพึงกระท�ำสืบไป อีกท้ังมหาวิทยาลัยจัดการศึกษาในระบบ
การสอนทางไกล จึงถือเป็นโอกาสอันดีในการให้นักศึกษากับคณาจารย์ของ
มหาวิทยาลัยได้มีโอกาสพบปะกันมากย่ิงข้ึน
ในปีพ.ศ. ๒๕๖๔ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ได้ขอรับ
พระราชทานผ้าพระกฐินมาทอดถวาย ณ วัดหนองแวง (พระอารามหลวง)
อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ซ่ึงวัดหนองแวง (พระอารามหลวง) น้ี
นับว่าเป็นปูชนียสถานที่เก่าแก่และส�ำคัญของจังหวัดขอนแก่น
ด้วยพลังแห่งศรัทธาของสาธุชน ขออานิสงส์ของการบ�ำเพ็ญกุศล
ในการทอดผ้าพระกฐินพระราชทานครั้งนี้ จงเป็นพลังปัจจัยให้เกิดความไพบูลย์
งอกงามตามวิสัยแก่ผู้มีกุศลจิต อันได้แก่
ข้าราชการและบุคลากรทุกหน่วยงาน
นักศึกษา บัณฑิต มหาบัณฑิต และดุษฎีบัณฑิต
ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ตลอดจน
ประชาชนท่ัวไปโดยเฉพาะชาวจังหวัดขอนแก่นที่มี
โอกาสร่วมบุญครั้งน้ีโดยท่ัวกัน
2
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) อ�ำ เภอเมืองขอนแกน่ จงั หวดั ขอนแกน่
สารบัญ
หน้า
ค�ำน�ำ ๒
ก�ำหนดการการจัดพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน ๔
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) ๕
สถานที่ตั้ง ๕
เนื้อท่ีตั้งวัด ๕
ประวัติความเป็นมาของวัดหนองแวง (พระอารามหลวง) ๖
อาณาเขต ๖
การยกฐานะวัดหนองแวง เป็นพระอารามหลวง ๖
โบราณสถานที่มีคุณค่าทางสถาปัตยกรรม ๗
ศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์
ประวัติพระเทพวิสุทธิคุณ ๑๐
(ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดหนองแวง (พระอารามหลวง))
ค�ำบูชาพระรัตนตรัย ๑๔
ค�ำนมัสการพระรัตนตรัย ๑๕
มสธ. กับกฐินพระราชทาน ๑๖
ประวัติกฐินพระราชทานของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ๒๒
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ๒๖
จังหวัดขอนแก่น ๓๓
สถานที่ท่องเท่ียวจังหวัดขอนแก่น ๓๗
3
กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ประจำ�ปี ๒๕๖๔
ก�ำหนดการ
การจัดพิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน ประจ�ำปี ๒๕๖๔
ณ วัดหนองแวง (พระอารามหลวง)
อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
วันท่ี ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๔
เวลา ๐๙.๕๐ น. ประธานเดินทางถึงวัดหนองแวง (พระอารามหลวง)
๑๐.๐๐ น. พิธีถวายผ้าพระกฐินพระราชทาน ณ พระอุโบสถ
๑๑.๐๐ น. ถวายภัตตาหารเพลแด่พระสงฆ์
ณ โรงเรียนการกุศล/ลานกิจกรรม
๑๑.๑๕ น. อธิการบดีและผู้บริหารของมหาวิทยาลัยพบนักศึกษา มสธ.
ณ ห้องประชุมโรงเรียนการกุศล
๑๒.๐๐ น. อาหารกลางวัน
เสร็จพิธี
หมายเหตุ ผเู้ ขา้ ร่วมงานตอ้ งปฏบิ ัตติ ามข้อก�ำหนดของกรมการศาสนา ดงั น้ี
๑. ฉดี วคั ซนี โควิด ๑๙ อย่างนอ้ ย ๑ เข็ม ไดแ้ ก่ แอสตรา้ เซนเนก้า, ไฟเซอร,์ จอห์นสัน
แอนด์ จอหน์ สนั โมเดอรน์ า หรือวคั ซนี โควิด ๑๙ อย่างอน่ื จ�ำนวน ๒ เขม็ หรือฉดี วัคซีนโควิด ๑๙
แบบสูตรไขว้
๒. ตรวจหาเชื้อด้วยวิธี RT-PCR หรือ Antigen Test พร้อมเอกสารรับรองแพทย์
ใชร้ บั รองไดภ้ ายใน ๗๒ ชวั่ โมง
๓. การจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา ให้เป็นไปตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาด
การติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ ดงั น้ี
- การคดั กรองมกี ารจัดจุดตรวจคัดกรองก่อนเขา้ ร่วมงาน
- การจดั ทน่ี ง่ั ของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมตามระยะหา่ งระหวา่ งบคุ คลระยะหา่ ง ๑.๕-๒ เมตร
- สวมหน้ากากอนามยั ตลอดเวลาในการร่วมงาน/ปฏบิ ัติพธิ ีการ
- การท�ำความสะอาดอาคารสถานท่ีอยู่เนืองนิตย์เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดการติด
เชือ้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙
- การบริการเจลแอลกอฮอลล์ ้างมอื หรอื อา่ งล้างมือ
- จดั ให้มีเจา้ หนา้ ท่ที างสาธารณสขุ เฝา้ ระวังดแู ลเพื่อความปลอดภยั
4
วดั หนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
วัดหนองแวง
(พระอารามหลวง)
ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
สถานท่ีต้ัง
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) เดิมช่ือ วัดเหนือ ตั้งอยู่เลขท่ี ๕๙๓
ถนนกลางเมือง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ลักษณะ
พ้ืนท่ีตั้งวัดและบริเวณโดยรอบเป็นท่ีราบเรียบเป็นลักษณะ ๖ เหลี่ยม มีหมู่บ้าน
ล้อมรอบสามด้านและมีบึงแก่นนครอยู่ทางทิศตะวันออกของวัด
เนื้อที่ต้ังวัด
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) ปัจจุบันมีเน้ือที่ตั้งวัดทั้งหมด ๒๖ ไร่
๖๕ ตารางวา โดยมีหนังสือแสดงกรรมสิทธ์ิเป็นโฉนด ๗๑๓ เลขที่ ๒๘
หน้าส�ำรวจ ๗๙๔ เล่มท่ี ๘ หน้า ๑๓
5
กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช ประจำ�ปี ๒๕๖๔
ประวัติความเป็นมาของวัดหนองแวง (พระอารามหลวง)
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) เดิมช่ือ วัดเหนือ ต้ังขึ้นเม่ือปี
พ.ศ. ๒๓๓๒ พร้อมกับวัดกลางและวัดธาตุ โดยท้าวเพียเมืองแพน เจ้าเมือง
คนแรก ณ บ้านบึงบอน (บึงแก่นนคร) เม่ือปี พ.ศ. ๒๓๕๔ ท้าวจามมุตร
ทา้ ยเพยี เมอื งแพน เจา้ เมอื งคนที่ ๒ ไดย้ า้ ยเมอื งไปอยบู่ า้ นดอนพนั ชาติ เขตเมอื ง
มหาสารคาม (บ้านโนนเมือง ต�ำบลแพง อ�ำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม)
บ้านบึงบอนจึงกลายเป็นเมืองเก่าตั้งแต่นั้นมา ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ ๕๙๓
ถนนกลางเมือง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ได้รับ
พระราชทานวิสุงคามสีมาคร้ังแรก เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๒ โดยพระยานคร
ศรีบริรักษ์ (อู๋) และได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาคร้ังสุดท้าย เม่ือวันที่ ๒๗
สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๗
ภายในวัดหนองแวง (พระอารามหลวง) มีพระมหาธาตุแก่นนครหรือ
พระธาตุเก้าช้ันฐานส่ีเหล่ียมกว้างด้านละ ๕๐ เมตร เรือนยอดทรงเจดีย์จ�ำลอง
แบบจากพระธาตุขามแก่นจัดสร้างข้ึนเนื่องในโอกาสที่พระบาทสมเด็จพระบรม
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงครองสิริราช-
สมบัติครบ ๕๐ ปี และมหามังคลานุสรณ์ ๒๐๐ ปี เมืองขอนแก่น ความสูงของ
องค์พระธาตุฯ ๘๐ เมตร มีพระจุลธาตุ ๔ องค์ ตั้งอยู่ ๔ มุมและมีก�ำแพงแก้ว
พญานาค ๗ เศียรล้อมรอบ เป็นศิลปะสมัยทวารวดีผสมผสานศิลปะอินโดจีน
อาณาเขต
ทิศเหนือ จดถนนหนองแวงพัฒนา
ทิศใต้ จดล่องน�้ำและที่ดินนายพิศ วรราช และท่ีดินนางทองม้วน
บุตรกสก
ทิศตะวันออก จดถนนรอบบึงแก่นนคร และ ๑๒๐.๘๐ เมตร จดท่ีดิน
ของนางทองม้วน บุตรกสก
ทิศตะวันตก จดถนนกลางเมือง
การยกฐานะวัดหนองแวง เป็นพระอารามหลวง
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) จังหวัดขอนแก่น ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าฯ ยกฐานะขึ้นเป็นพระอารามหลวง ปี พ.ศ. ๒๕๒๗ และได้รับรางวัล
เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ และเป็นวัดพัฒนาดีเด่น ปี พ.ศ. ๒๕๒๖
6
วดั หนองแวง (พระอารามหลวง) อ�ำ เภอเมืองขอนแก่น จงั หวดั ขอนแกน่
โบราณสถานที่มีคุณค่าทางสถาปัตยกรรม
ศิลปวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์
ภาพท่ี ๑ พระสารีริกธาตุของพระอัครสาวก
พระอัฐิพระสัมมาฯ : สู่ศรัทธามหาชน
พระมหาธาตุแก่นนครอนุสรณ์สาธุชนเป็นที่ประดิษฐานพระบรม
สารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า ส่วนอุรังคธาตุ (ส่วนอก) ท่ีสมเด็จพระสังฆราช
วัดราชบพิธฯ ประทานให้ไว้เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๒ และได้รับพระบรมสารีริกธาตุ
จากประเทศพม่า เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๒๘ ตั้งแต่น้ันเป็นต้นมา ผู้คนก็เร่ิมหล่ังไหลมา
นมัสการพระบรมสารีริกธาตุ ในช่วงแรกผู้คนไม่ค่อยมีมากนักเพราะเพิ่งเปิดให้
เข้าชม แต่ในช่วงหลัง ๆ มีการประชาสัมพันธ์ที่ดีขึ้น การติดต่อส่ือสารที่ทันสมัย
และได้รับการสนับสนุนจาก ททท. ท�ำให้นักท่องเที่ยวรู้จักและมาเที่ยวเพ่ิมข้ึน
ทุกปี ๆ
ชั้นท่ี ๑ เป็นหอประชุม เหตุที่เรียกอย่างน้ีเพราะไม่ว่าจะเป็นงานใน
ส่วนของวัดหรือส่วนของราชการ ก็จะใช้พื้นที่ในส่วนนี้ในการจัดงานเป็นหลัก
ส่วนความส�ำคัญแท้จริงของชั้นนี้คือมีพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า และ
พระสารีริกธาตุของพระอัครสาวกประมาณ ๑๐๐ องค์ ประดิษฐานอยู่มณฑป
7
กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช ประจำ�ปี ๒๕๖๔
ใจกลางขององค์พระธาตุ บานประตู
หน้าต่าง แกะสลักภาพนิทานเรื่อง
จำ� ปาสตี่ น้ แบบ ๓ มติ ิ และมจี ติ รกรรม
ฝาผนังประวัติศาสตร์เมืองขอนแก่น
ของดีเมืองขอนแก่น ฮีตสิบสองครอง
สิบส่ีของชาวอีสาน เพียงแค่ชั้นที่ ๑
ก็สามารถท�ำให้ท่านมีความสุขและ
สร้างรอยย้ิมได้แล้ว
ภาพที่ ๒ พระบรมสารีริกธาตุของ
พระพุทธเจ้าช้ันท่ี ๑
ชั้นท่ี ๒ เป็นพิพิธภัณฑ์ของชาวอีสาน โดยเก็บรวบรวมข้าวของเคร่ืองใช้
ในอดีตท่ีค่อนข้างหาดูได้ยากในปัจจุบัน พร้อมทั้งมีการวาดลวดลายบนผนังท่ี
เกี่ยวกับข้อห้ามของคนอีสานท่ีเรียกว่า "คะล�ำ" ซ่ึงเป็นแนวประพฤติตนในการ
อยู่ร่วมกันของชาวอีสาน โดยแต่ละภาพก็หมายถึงข้อห้ามแต่ละข้อ (“คะล�ำ”
คือส่ิงท่ีไม่ควรท�ำ) ซ่ึงมีท้ังหมด ๓๕ ข้อ
ชั้นท่ี ๓ เป็นหอปริยัติ บานประตู หน้าต่าง เขียนลวดลายเบญจรงค์
และภาพแกะสลักนิทานเร่ืองนางผมหอม เป็นนิทานที่ได้เล่าสืบต่อกันมา
แต่โบราณของชาวอีสาน และในช้ันที่สามน้ีได้รวบรวมตาลปัตร พัดยศ ที่เก่ียวกับ
ยศต่าง ๆ ของพระสงฆ์อีกด้วย
ชั้นที่ ๔ เป็นหอปริยัติธรรม ภายในมีพิพิธภัณฑ์ของเก่า ภาพวาดที่
บานประตู หน้าต่าง เป็นภาพพระประจ�ำวันเกิด เทพประจ�ำทิศ ส�ำหรับท่านที่
อยากกราบไหว้พระประจ�ำวันเกิดของตนก็เป็นโอกาสดีแล้วครับ ชั้นนี้จะเป็น
วตั ถโุ บราณทนี่ ำ� มาจากประเทศลาว เนอ่ื งจากเศรษฐเี มอื งลาวสมยั โบราณมคี วาม
8
วดั หนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแกน่
ศรัทธาทางพระพุทธศาสนา จึงเก็บของศักดิ์สิทธ์ิไว้เป็นจ�ำนวนมาก ลูกหลานที่
เจรญิ ตามรอยมาเหน็ สมควรจะเปน็ ของควู่ ดั จงึ ไดน้ ำ� มาถวายไว้ ณ วดั หนองแวง
(พระอารามหลวง) ด้วยความเก่าแก่และมีมูลค่ามากทางวัดจึงท�ำตู้กระจกขนาด
ใหญ่ไว้ป้องกันความเสียหาย
ชั้นที่ ๕ เป็นหอพิพิธภัณฑ์ มีบริขารของหลวงปู่พระครูปลัดบุษบา สุมโน
อดีตเจ้าอาวาสวัดรูปที่ ๖ บานประตูหน้าต่างแกะสลักภาพพุทธชาดก ความ
ส�ำคัญของช้ันนี้คือการได้กราบไหว้อัฐบริขารของหลวงปู่ ซ่ึงคนที่อยู่ละแวกน้ี
ต่างเคารพและศรัทธาท่านมาก สมัยท่านยังมีชีวิตอยู่ท่านเป็นพระท่ีเคร่งวินัย
รักษาศีลอย่างไม่มีข้อบกพร่อง และยังเป็นพระนักพัฒนาที่เร่ิมสร้างช่ือเสียง
ให้กับวัดหนองแวง
ช้ันที่ ๖ เป็นหอพระอุปัชฌายาจารย์ ผู้มีบทบาทส�ำคัญในการพัฒนา
วัดหนองแวงตั้งแต่อดีตสืบเน่ืองมาจนถึงปัจจุบัน เป็นชั้นหนึ่งที่มีความน่าสนใจ
มาก เพราะไม่เพียงแค่การก้มกราบพระเฉย ๆ แต่ท่านยังจะได้รับชมความงาม
จากบานประตูหน้าต่างท่ีแกะสลักนิทานชาดกเรื่องเวสสันดร
ชั้นท่ี ๗ เป็นหอพระอรหันต์สาวก (นักท่องเท่ียวท่ีมามักล้อกันว่า
“ถึงแล้ว...สวรรค์ชั้น ๗”) มีระฆังให้ตีเสริมความสิริมงคลด้วย บานประตู
หน้าต่างแกะสลักนิทานเร่ืองพระเตย์มีใบ้ ช้ันน้ีจะเหมาะส�ำหรับการน่ังพักชมวิว
เพราะเป็นช้ันท่ีไม่แคบเกินไปเหมือนอีก ๒ ชั้น
ชั้นท่ี ๘ เป็นหอพระธรรม เป็นที่รวบรวมพระธรรม คัมภีร์ส�ำคัญทาง
พระพุทธศาสนา พระไตรปิฎก บานประตูแกะสลักรูปพรหม ๑๖ ช้ัน ในช้ันนี้
จะไม่ค่อยเป็นที่นิยมของนักท่องเท่ียวมากนัก เพราะต่างมุ่งสู่ช้ันเก้าซึ่งเป็นชั้น
สูงสุด
ช้ันที่ ๙ บันได ๑๗๓ ขั้นพาท่านข้ึนมาถึงช้ันสูงสุดแล้ว ความส�ำคัญ
เป็นหอพระพุทธ ตรงกลางมีบุษบก เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของ
พระพุทธเจ้า บานประตูแกะสลักภาพ ๓ มิติ รูปพรหม ๑๖ ช้ัน และ "ความ
ศรัทธา" คือส่ิงท่ีน�ำพาเรามาสู่จุดหมายเป็นมหาบุญกุศลอย่างย่ิงที่ท่านได้มี
โอกาสมา
9
กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔
ประวัติพระเทพวิสุทธิคุณ
(ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวัดหนองแวง (พระอารามหลวง))
ชาติภูมิ
นามเดิม ชื่อ นายถนอม เหลาลาภะ เกิดวันอังคารท่ี ๓ กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๕๙๓ ณ บ้านเลขท่ี ๔๘ หมู่ที่ ๔ บ้านนางาม ต�ำบลทรายมูล อ�ำเภอ
น้�ำพอง จังหวัดขอนแก่น บิดาช่ือ นายสี เหลาลาภะ มารดาช่ือ นางที เหลาลาภะ
(เหลาค�ำโคก) อุปสมบทเมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๒๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๑๔ ตรงกับ
วันแรม ๑๕ ค่�ำเดือน ๖ ปีกุน ณ วัดอิสาน ต�ำบลท่ากระเสริม อ�ำเภอน้�ำพอง
จงั หวดั ขอนแกน่ โดยมี พระครปู ยิ ธรรมสาร (บญุ ม)ี วดั อสิ าน เปน็ พระอปุ ชั ฌาย์
พระครูบุญสาราธิคุณ (เคนสา) วัดศรีบุญเรือง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ
พระครูวุฒิสารคุณ (ค�ำดี) วัดบัวระพา เป็นพระอนุสาวนาจารย์
งานปกครอง
พ.ศ. ๒๕๒๐ เป็นรองเจ้าอาวาสวัดชัยศรี อ�ำเภอน้�ำพอง จังหวัด
ขอนแก่น
พ.ศ. ๒๕๒๓ เป็นเจ้าอาวาสวัดหนองกุง อ�ำเภอน�้ำพอง จังหวัด
ขอนแก่น
พ.ศ. ๒๕๒๓ เป็นเจ้าคณะต�ำบลหนองกุง อ�ำเภอน้�ำพอง จังหวัด
ขอนแก่น
10
วดั หนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมืองขอนแกน่ จังหวัดขอนแกน่
พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็นรองเจ้าคณะอ�ำเภอน�้ำพอง
พ.ศ. ๒๕๓๒ เป็นพระอุปัชฌาย์
พ.ศ. ๒๕๔๑ เป็นเจ้าคณะอ�ำเภอน้�ำพอง
พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นรองเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น
พ.ศ. ๒๕๕๗ เป็นเจ้าคณะจังหวัดขอนแก่น
การศึกษา ฝ่ายสามัญศึกษา
พ.ศ. ๒๕๐๓ สอบประถมศึกษาจากโรงเรียนวัดบ้านโคกสง่า
พ.ศ. ๒๕๒๘ สอบไล่ได้ประกาศนียบัตรประโยคครูพิเศษมัธยม (พ.ม.)
โดยการสมัครสอบจากโรงเรียนกระทรวงศึกษาธิการ
พ.ศ. ๒๕๔๕ สำ� เรจ็ การศกึ ษาพทุ ธศาสตรบณั ฑติ (พธ.บ.) สาขาปรชั ญา
จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ. ๒๕๔๙ มหาวทิ ยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั ถวายปรญิ ญา
พุทธศาสตรมหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการบริหารการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๘ มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลยั ถวายปรญิ ญา
พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาพุทธบริหารการศึกษา
การศึกษา ฝ่ายพระปริยัติธรรม
พ.ศ. ๒๕๑๖ สอบได้ น.ธ.เอก จากส�ำนักศาสนศึกษาวัดบัวระพา
อ�ำเภอน�้ำพอง จังหวัดขอนแก่น
พ.ศ. ๒๕๒๔ สอบได้ ป.ธ.๖ จากส�ำนักศาสนศึกษาวัดหนองกุง
คณะจังหวัดขอนแก่น งานการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๑๗ เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม แผนกธรรม วัดชัยศรี
อ�ำเภอน้�ำพอง จังหวัดขอนแก่น
พ.ศ. ๒๕๑๙ เป็นอาจารย์ใหญ่ธรรม-บาลี วัดชัยศรี อ�ำเภอน้�ำพอง
จังหวัดขอนแก่น
พ.ศ. ๒๕๒๓ เป็นเจ้าส�ำนักศาสนศึกษาวัดหนองกุง อ�ำเภอน�้ำพอง
จังหวัดขอนแก่น
พ.ศ. ๒๕๒๓ เป็นครูสอนพระปริยัติธรรม แผนกบาลี วัดหนองกุง
อ�ำเภอน�้ำพอง จังหวัดขอนแก่น
11
กฐินพระราชทาน มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธิราช ประจำ�ปี ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๒๓ เป็นครูสอนธรรมศึกษา และพุทธศาสนาวันอาทิตย์
วัดหนองกุง อ�ำเภอน้�ำพอง จังหวัดขอนแก่น
บทบาทการขับเคลื่อนงานการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๒๔ เปน็ กรรมการอำ� นวยการสอบธรรมสนามหลวง เขตสอบ
วัดหนองกุง (มีพระภิกษุสามเณรมารวมสอบ ๑๐ ต�ำบล) จนถึงปัจจุบัน
พ.ศ. ๒๕๒๕ เป็นกรรมการอ�ำนวยการสอบบาลีสนามหลวง เขตสอบ
วัดหนองกุง อ�ำเภอน้�ำพอง จังหวัดขอนแก่น (มีพระภิกษุสามเณรมารวมสอบ
๕ อ�ำเภอ) จนถึงปีปัจจุบัน
พ.ศ. ๒๕๓๐ เป็นพระปริยัตินิเทศก์ จังหวัดขอนแก่น จนถึงปัจจุบัน
พ.ศ. ๒๕๓๒ เป็นผู้ประสานงานศูนย์ครูพระปริยัตินิเทศก์ ภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือ จนถึงปัจจุบัน
พ.ศ. ๒๕๖๑ เป็นประธานศูนย์ครูพระปริยัตินิเทศก์หนตะวันออก
๒๔ จังหวัด จนถึงปัจจุบัน
งานส่งเสริมการศึกษา
จัดตั้งมูลนิธิเพ่ือการศึกษาพระปริยัติธรรมมอบทุนการศึกษาแก่
พระภิกษุสามเณร ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๔-ปัจจุบัน ปีละ ๑๐๐,๐๐๐-๒๐๐,๐๐๐ บาท
ข้ึนไปฯ มอบทุนการศึกษาแก่เยาวชน ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๔-ปัจจุบัน มอบทุน
สงเคราะห์คนชราไร้ท่ีพ่ึงต้ังแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๔-ปัจจุบัน ส่งพระภิกษุสามเณรไป
เรียนบาลีในส่วนกลาง ส�ำเร็จพระการศึกษาเปรียญธรรม ๙ หลายรูป ส่งเสริม
ให้พระภิกษุสามเณรได้ศึกษาอุดมศึกษาส�ำเร็จปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก
หลายรูป/คน
รางวัลที่ได้รับ
พ.ศ. ๒๕๒๖ รางวัลส�ำนักเรียนดีเด่นจากกรมการศาสนา
พ.ศ. ๒๕๒๗ รางวัลส�ำนักศาสนดีเด่น แผนกบาลี
พ.ศ. ๒๕๒๙ รางวัลทุนการศึกษาบาลีจากวัดปากน้�ำภาษีเจริญ
กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. ๒๕๓๑ รางวลั เสมาธรรมจกั ร จากสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ
สาขาการศึกษาบาลี
12
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมืองขอนแก่น จงั หวัดขอนแกน่
พ.ศ. ๒๕๓๕ รางวัลวัดพัฒนาตัวอย่างของกรมการศาสนา
พ.ศ. ๒๕๔๐ รางวัลวัดพัฒนาตัวอย่างที่มีผลงานดีเด่นของกรมการ
ศาสนา
พ.ศ. ๒๕๔๐ รางวลั วดั พฒั นาการศกึ ษาดเี ดน่ อนั ดบั ที่ ๑ ของคณะสงฆ์
จังหวัดขอนแก่น
พ.ศ. ๒๕๔๔ รางวลั วดั พฒั นาการศกึ ษาดเี ดน่ อนั ดบั ท่ี ๑ ของคณะสงฆ์
ภาค ๙
พ.ศ. ๒๕๔๕ รางวลั วดั พฒั นาการศกึ ษาดเี ด่นอันดับที่ ๑ ในเขตภาค ๙
พ.ศ. ๒๕๔๕ รางวัลทุนการศึกษาบาลีจากวัดเชตุพนวิมลมังคลาราม
กรุงเทพมหานคร
พ.ศ. ๒๕๔๖ รางวัลวัดพัฒนาการศึกษาดีเด่นอันดับที่ ๑ ในเขตภาค ๙
พ.ศ. ๒๕๔๗ รางวัลสาขาพระสงฆ์ จากมูลนิธิสมาน-คุณหญิงเบญจา
แสงมะลิ โดยสมเด็จพระเทพฯ
พ.ศ. ๒๕๕๙ รางวัลเสาอโศกผู้น�ำศีลธรรม จากสมเด็จพระมหารัชมัง-
คลาจารย์ โดยพระองค์เจ้าโสมสวลีฯ
พ.ศ. ๒๕๕๙ รางวัลผู้น�ำพุทธโลกศีลธรรม จากสมเด็จพระมหารัชมัง-
คลาจารย์
พ.ศ. ๒๕๕๙ รางวลั อสี านทองคำ� จากศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยองคก์ รภาคประชา
สังคมอีสานและศูนย์แก้ไขปัญหาการบริโภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล์
พ.ศ. ๒๕๖๒ รางวัลพระปฐมเจดีย์ทอง จากสมเด็จพระสังฆราช โดย
องคมนตรี
สมณศักดิ์
พ.ศ. ๒๕๓๖ เป็นพระครูสัญญาบัตร รองเจ้าคณะอ�ำเภอช้ันเอกท่ี
พระครูศรีปริยัติวราทร
พ.ศ. ๒๕๔๐ เป็นพระราชาคณะช้ันสามัญที่ พระปริยัติวรคุณ
พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็นพระราชาคณะชั้นราชท่ี พระราชปริยัติโสภณ
พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพท่ี พระเทพวิสุทธิคุณ
13
กฐนิ พระราชทาน มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธิราช ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔
คำ� บูชาพระรัตนตรัย
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ
พระผู้มีพระภาคเจ้าน้ัน เป็นผู้ไกลจากกิเลส เป็นผู้ตรัสรู้ชอบได้ด้วย
พระองค์เอง
สวากขาโต เยนะ ภะคะวตา ธัมโม
พระธรรมอันพระผู้มพี ระภาคเจา้ พระองคใ์ ด ตรสั ไวด้ ีแลว้
สุปะฏิปันโน ยัสสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์ใด ปฏิบัติดีแล้ว
ตัมมะยัง ภะคะวันตัง สะธัมมัง สะสังฆัง
อิเมหิ สักกาเรหิ ยะถาระหัง อาโรปิเตหิ อะภิปูชะยามะ
ข้าพเจ้าทั้งหลายขอบูชาอย่างยิ่ง ซ่ึงพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์น้ัน
พร้อมทั้งพระธรรมและพระสงฆ์ ด้วยเครื่องสักการะทั้งหลายเหล่านี้ อันยกขึ้น
ไว้ตามสมควรแล้วอย่างไร
สาธุโน ภันเต ภะคะวา สุจิระปะรินิพพุโตปิ
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคเจ้า แม้ปรินิพพานนานแล้ว
ทรงสร้างคุณอันส�ำเร็จประโยชน์ไว้แก่ข้าพเจ้าท้ังหลาย
ปัจฉิมาชะนะตานุกัมปะมานะสา
ทรงมีพระหฤทัยอนุเคราะห์แก่พวกข้าพเจ้า อันเป็นชนรุ่นหลัง
อิเม สักกาเร ทุคคะตะปัณณาการะภูเต ปะฏิคคัณหาตุ
ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงรับเคร่ืองสักการะ อันเป็นบรรณาธิการของ
คนยากทั้งหลายเหล่าน้ี
อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ
เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ข้าพเจ้าท้ังหลาย ตลอดกาลนานเทอญ
14
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
คำ� นมัสการพระรัตนตรยั
อะระหัง สัมมาสัมพุธโธ ภะคะวา
พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลสเพลิงทุกข์ส้ินเชิง
ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
ข้าพเจ้าอภิวาท พระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน (กราบ)
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
พระธรรม เป็นธรรมท่ีพระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว
ธัมมัง นะมัสสามิ
ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม (กราบ)
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว
สังฆัง นะมามิ
ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์ (กราบ)
มาตาปิตุคุณัง อะหัง วันทามิ
ข้าพเจ้ากราบวันทา บิดามารดาผู้มีพระคุณโดยความเคารพ (กราบ)
คุรุอุปัชฌายาจาริยะคุณัง อะหัง วันทามิ
ข้าพเจ้ากราบวันทา ครูอุปัชฌาย์อาจารย์ผู้มีพระคุณโดยความเคารพ
(กราบ)
15
กฐินพระราชทาน มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔
มสธ. กับกฐินพระราชทาน
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ได้ขอรับพระราชทานผ้าพระกฐิน
อญั เชญิ ไปทอดถวาย ณ พระอารามหลวงตา่ ง ๆ ในสว่ นภมู ภิ าคทว่ั ราชอาณาจกั ร
เป็นปีท่ี ๔๑ แล้ว ทั้งนี้ เพื่อให้นักศึกษากับคณาจารย์ของมหาวิทยาลัยได้มี
โอกาสพบปะกนั มากยงิ่ ขนึ้ เนอ่ื งจากมหาวทิ ยาลยั จดั การศกึ ษาในระบบการสอน
ทางไกล และเป็นการส่งเสริมพระพุทธศาสนาและฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมอันดีงาม
ของไทยด้วย
ต้นเหตุกฐิน
คัมภีร์พระวินัยปิฎก กฐินขันธกะ เล่าเร่ืองว่า ภิกษุชาวเมืองปาฐาหรือ
ปาวา ประมาณ ๓๐ รูป ถือธุดงควัตรอย่างอุกฤษฎ์ประสงค์จะเฝ้าพระพุทธเจ้า
ซึ่งประทับอยู่ ณ พระนครสาวัตถี แคว้นโกศล พอเดินทางถึงเมืองสาเกตเหลือ
อีก ๖ โยชน์ จะถึงพระนครสาวัตถีก็พอดีถึงวันเข้าพรรษา จึงต้องจ�ำพรรษา
กร็ บี เดนิ ทางทนั ที ซง่ึ เวลานน้ั ฝนยงั ตกมากอยู่ ภมู ภิ าคยงั ชมุ่ ดว้ ยนำ้� เดนิ ทางกเ็ ปน็
หลม่ เปน็ ตมโคลนเปรอะเปอ้ื น เมอื่ เขา้ เฝา้ พระพทุ ธเจา้ ทรงตรสั ถามถงึ การเดนิ ทาง
และการอยู่จ�ำพรรษาว่ามีความสะดวกสบายเพียงไร ตามพุทธจริยาแล้ว
ภิกษุเหล่านั้นกราบทูลถึงความต้ังใจของตนและที่ได้รีบร้อนมาเฝ้าให้ทรงทราบ
ทุกประการ พระพุทธเจ้าทรงเห็นความล�ำบากของพระภิกษุเหล่าน้ัน จึงยกเป็น
เหตุมีพระพุทธานุญาตให้กรานกฐินและโปรดให้ท�ำเป็นสังฆกรรมส�ำหรับภิกษุ
บริษัทต่อไปในระยะเวลาภายหลังวันออกพรรษาแล้วหน่ึงเดือน โดยมีก�ำหนดว่า
ภิกษุผู้กรานกฐินน้ันต้องเป็นผู้จ�ำพรรษาแล้วถ้วนไตรมาสไม่ขาดเลยในวันเดียว
มีจ�ำนวนตั้งแต่ ๕ รูปข้ึนไป กรานกฐินนั้น คือ เมื่อมีผ้าเกิดข้ึนแก่สงฆ์ในกาล
เชน่ นนั้ พอจะทำ� เปน็ จวี รผนื ใดผนื หนง่ึ ได้ สงฆพ์ รอ้ มกนั ยกใหแ้ กภ่ กิ ษรุ ปู ใดรปู หนง่ึ
เพื่อประโยชน์ในการนั้น ภิกษุผู้นั้นจะเอาผ้าไปท�ำจีวรอย่างใดอย่างหนึ่งให้แล้ว
เสร็จในวันนั้น แล้วมาบอกผู้ยกผ้าให้น้ันเพ่ืออนุโมทนาแล้วนี้จัดเป็นกรานกฐิน
ของสงฆ์
16
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) อ�ำ เภอเมืองขอนแก่น จงั หวัดขอนแก่น
อานิสงส์หรือผลดีของการทอดกฐิน
ผลดีฝ่ายผู้ทอดและคณะ อานิสงส์หรือผลดีของฝ่ายผู้ทอดและคณะ
มดี งั นี้
๑. ชอ่ื วา่ ไดถ้ วายทานภายในกาลเวลากำ� หนดทเี่ รยี กวา่ กาลทาน คอื ใน
ปหี นง่ึ ถวายไดเ้ พยี งระยะเวลา ๑ เดอื น เทา่ นน้ั ในขอ้ ถวายกาลทานน้ี มพี ทุ ธภาษติ
วา่ ผใู้ หท้ านตามกาล ความตอ้ งการทเ่ี กดิ ขน้ึ ตามกาลของผนู้ นั้ ยอ่ มสำ� เรจ็ ได้
๒. ชอื่ วา่ ไดส้ งเคราะหพ์ ระสงฆผ์ จู้ ำ� พรรษาใหไ้ ดผ้ ลดั เปลย่ี นผา้ นงุ่ หม่ ใหม่
แม้ผ้ากฐินนั้นจะตกแก่ภิกษุรูปใดรูปหน่ึงก็ช่ือว่าได้ถวายแก่สงฆ์เป็นส่วนรวม
มีพุทธภาษิตว่าผู้ให้ผ้าชื่อว่าให้ผิวพรรณ
๓. ชื่อว่าได้ท�ำนุบ�ำรุงพระพุทธศาสนา ส่งเสริมผู้ประพฤติดีปฏิบัติชอบ
ให้เป็นหลัก เป็นตัวอย่างแห่งคุณงามความดีของประชาชนสืบไป
๔. จิตใจของผู้ทอดกฐิน ท้ัง ๓ กาล คือ ก่อนทอด ก�ำลังทอด และ
ทอดแล้ว ท่ีเล่ือมใสศรัทธาและปรารถนาดีนั้นจัดเป็นกุศลจิต คนที่มีจิตเป็นกุศล
ย่อมได้รับความสุขความเจริญ
๕. การทอดกฐิน ท�ำให้เกิดสามัคคีธรรม คือการร่วมมือกันท�ำคุณงาม
ความดี และถ้าการถวายกฐินนั้นมีส่วนได้บูรณปฏิสังขรณ์วัดวาอารามด้วย
ก็เป็นการร่วมสามัคคี เพื่อรักษาศาสนวัตถุ ศาสนสถานให้ยั่งยืนสถาพรสืบไป
ผลดีฝ่ายพระสงฆ์ผู้รับและกรานกฐิน อานิสงส์หรือผลดีของ
ฝ่ายพระสงฆ์ผู้รับและกรานกฐิน มีดังน้ี
พระพุทธเจา้ ตรสั ไว้ (ในวินยั ปิฎกเลม่ ๕ หนา้ ๑๓๖) ว่า ภิกษุผกู้ รานกฐิน
แล้วย่อมได้รับประโยชน์ ๕ ประการ
๑. รับนิมนต์ฉันไว้แล้วไปไหนไม่ต้องบอกลาภิกษุในวัด ตามความใน
สิกขาบทท่ี ๖ แห่ง อเจลกวรรค ปาจิตตีย์
๒. ไปไหนไม่ต้องน�ำไตรจีวรไปครบส�ำรับ
๓. เก็บผ้าท่ีเกิดข้ึนเป็นพิเศษไว้ได้ตามปรารถนา
๔. จีวรอันเกิดในท่ีน้ันเป็นสิทธิของภิกษุเหล่าน้ัน
๕. ขยายเขตแห่งการท�ำจีวรหรือการเก็บจีวรไว้ได้จนถึงสิ้นฤดูหนาว
(คือ จนถึงวันขึ้น ๑๕ ค่�ำ เดือน ๔ เป็นวันสุดท้าย)
17
กฐนิ พระราชทาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประจำ�ปี ๒๕๖๔
กฐินพระราชทาน
ค�ำว่า “กฐิน” มีความหมายเกี่ยวข้องกันถึง
๔ ประการ คือ ช่ือของกรอบไม้ อันเป็นแม่แบบ
ส�ำหรับท�ำจีวร ซึ่งอาจเรียกว่า “สะดึง” ก็ได้
ช่ือของ ผ้า ท่ีถวายแก่สงฆ์เพื่อท�ำจีวร ตาม
แบบหรือกรอบไม้น้ัน
ชอ่ื ของ บญุ กริ ยิ า คอื การทำ� บญุ ในการถวายผา้ กฐนิ เพอ่ื ใหส้ งฆท์ ำ� จวี ร
ชื่อของ สังฆกรรม คือ กิจกรรมของสงฆ์ท่ีจะต้องมีการสวดประกาศ
ขอรบั ความเหน็ ชอบจากทปี่ ระชมุ สงฆใ์ นการมอบผา้ กฐนิ ใหแ้ กภ่ กิ ษรุ ปู ใดรปู หนงึ่
กฐินเป็นพุทธานุญาตพิเศษที่โปรดให้ท�ำเป็นการสงฆ์เพื่อขยายเขต
จีวรกาล คือการท�ำจีวรของภิกษุให้ยาวออกไปอีก โดยปกติเขตท�ำจีวรของภิกษุ
มีระยะเวลาเพียงท้ายฤดูฝน ๒๙ วัน หรือ ๑ เดือน นับแต่วันออกพรรษา คือ
ตั้งแต่วันแรม ๑ ค�่ำ เดือน ๑๑ ถึงวันข้ึน ๑๕ ค่�ำ เดือน ๑๒ เท่านั้น แต่ถ้าได้
กรานกฐินแล้วเขตน้ันขยายออกไปตลอดฤดูหนาว
เม่ือพระพุทธศาสนาได้แพร่หลายเข้ามาถึงเมืองไทยและประชาชน
คนไทยกย็ อมรบั นบั ถอื พระพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประจำ� ชาติ กฐนิ จงึ เปน็ ประเพณี
ของบ้านเมือง พระราชามหากษัตริย์ผู้ครองบ้านเมืองก็ทรงรับเอาการน้ีเป็น
พระราชพิธีอย่างหนึ่ง ซึ่งทรงบ�ำเพ็ญเป็นการประจ�ำเม่ือถึงกาลน้ันเลยถือเอา
กิริยาท่ีพระเจ้าแผ่นดินทรงบ�ำเพ็ญเป็นพระราชพิธีน้ันเรียกว่า “กฐินหลวง”
ไมว่ า่ วดั นนั้ จะเปน็ วดั ราษฎรห์ รอื วดั หลวง เมอื่ พระเจา้ แผน่ ดนิ เสดจ็ ฯ ไปพระราชทาน
ณ วัดใด ๆ ผ้าพระกฐินท่ีพระราชทานนั้น เรียกว่า กฐินหลวง และถ้าวัดน้ันเป็น
วัดหลวงก็มีนิยมว่าจะต้องได้รับกฐินหลวงใครจะจองมิได้ ถ้าบังเอิญมีเหตุให้
เสดจ็ ฯ ไมไ่ ด้ เมอื่ ไดท้ รงพระกรณุ าพระราชทานแกท่ า่ นผใู้ ด ผา้ พระกฐนิ นน้ั เรยี กกนั วา่
“กฐินพระราชทาน” หมายความว่า พระเจ้าแผ่นดินพระราชทานผ้าพระกฐิน
ซึ่งเป็นของหลวงแก่ท่านผู้น้ัน เพ่ือให้ผู้นั้นน�ำไปถวายพระสงฆ์ยังวัดท่ีก�ำหนดไว้
ผู้ได้รับพระราชทานจะเพิ่มไทยธรรมเป็นส่วนตนโดยเสด็จพระราชกุศลด้วยก็ได้
18
วดั หนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมอื งขอนแกน่ จังหวัดขอนแกน่
แต่บัดนี้ได้พระราชทานโอกาสให้ราษฎรท้ังหลายขอพระราชทานเพื่อทอดตาม
วัดหลวงต่าง ๆ ได้ซ่ึงมีเว้นไว้ไม่พระราชทานก็แต่วัดที่ส�ำคัญเพียง ๑๖ วัด
เท่าน้ัน คือ
๑. วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎ์ิ กรุงเทพมหานคร
๒. วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร
๓. วัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพมหานคร
๔. วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร
๕. วัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม กรุงเทพมหานคร
๖. วัดราชบพิธสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพมหานคร
๗. วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพมหานคร
๘. วัดเทพศิรินทราวาส กรุงเทพมหานคร
๙. วัดราชาธิวาส กรุงเทพมหานคร
๑๐. วัดมกุฎกษัตริยาราม กรุงเทพมหานคร
๑๑. วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพมหานคร
๑๒. วัดราชโอรสาราม กรุงเทพมหานคร
๑๓. วัดพระปฐมเจดีย์ นครปฐม
๑๔. วัดสุวรรณดาราราม พระนครศรีอยุธยา
๑๕. วัดนิเวศธรรมประวัติ พระนครศรีอยุธยา
๑๖. วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก
แนวปฏิบัติ
ข้ันตอนของกฐินพระราชทาน มีดังน้ี
๑. เม่ือได้รับผ้าพระกฐินพระราชทานจากกรมการศาสนาแล้ว ควร
ถวายภายหลังวันแรม ๖ ค�่ำ เดือน ๑๑ หรือเมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เสด็จพระราชด�ำเนินทอดพระกฐินวันแรกแล้ว
๒. ให้ติดต่อกับทางวัดโดยตรงเพื่อแจ้งวัน เวลา และขอให้เจ้าอาวาส
ส่ังไวยาวัจกรเตรียมสถานที่และส่ิงจ�ำเป็น มีท่ีบูชาพระรัตนตรัย มีเคร่ืองบูชา
พร้อมอาสน์สงฆ์ส�ำหรับพระสงฆ์อนุโมทนาพระกฐิน โต๊ะขนาดกว้างพอสมควร
19
กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔
ส�ำหรับวางพานแว่นฟ้า ผ้าไตรพระกฐินและพานเทียนปาติโมกข์ โต๊ะวางเครื่อง
บริขารพระกฐินและเคร่ืองไทยธรรม โต๊ะเก้าอี้ส�ำหรับผู้เป็นประธานและผู้ไป
ร่วมพิธีตามสมควร
๓. เม่ือถึงวันก�ำหนดก่อน ผู้เป็นประธานไปถึงหรือก่อนเร่ิมพิธีให้
เจา้ หนา้ ทเ่ี ชญิ เครอ่ื งพระกฐนิ จดั ไวบ้ นโตะ๊ วางเทยี นปาตโิ มกขไ์ วบ้ นพานและใหม้ ี
เจ้าหน้าที่แต่งเคร่ืองแบบหรือแต่งสากลนิยมคอยส่งให้ผู้เป็นประธานท่ีเชิงบันได
หรือประตูเข้าสถานที่ประกอบพิธี
๔. ประธานรับผ้าพระกฐินจากเจ้าหน้าที่ท่ีเชิงบันไดพระอุโบสถ
อุ้มประคองยืนตรงถวายความเคารพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขณะดนตรี
บรรเลงเพลงสรรเสรญิ พระบารมี แลว้ จงึ เขา้ สพู่ ระอโุ บสถตรงไปวางไวท้ พ่ี านแวน่ ฟา้
ซ่ึงต้ังอยู่หน้าอาสน์สงฆ์
๕. เม่ือวางผ้าพระกฐินพระราชทานแล้ว จุดธูปเทียนเครื่องสักการะ
บูชาพระรัตนตรัยแล้วกราบ ๓ หน
๖. เม่ือกราบพระรัตนตรัย ไปท่ีพานแว่นฟ้า หยิบผ้าห่มพระประธาน
ส่งให้เจ้าหน้าท่ีน�ำไปมอบแก่ไวยาวัจกร แล้วยกผ้าพระกฐินขึ้นประคอง พนมมือ
หันไปทางพระประธานว่า นะโม ๓ จบ ต่อจากน้ันหันไปทางพระสงฆ์ ว่าค�ำ
ถวายพระกฐิน ดังนี้
“ผา้ พระกฐนิ ทานกบั ทงั้ ผา้ อานสิ งสบ์ รวิ ารทงั้ ปวงน้ี ของพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ผู้ทรง
พระคุณอนั ประเสริฐ กอปรด้วยพระราชศรทั ธา โปรดเกลา้ ฯ ใหข้ ้าพเจ้า
นอ้ มนำ� มาถวายแดพ่ ระภกิ ษสุ งฆ์ ซงึ่ จำ� พรรษากาลถว้ นไตรมาสในอาวาส
วิหารนี้ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับผ้าพระกฐินทานน้ี กระท�ำกฐินัตถารกิจ
ตามพระบรมพทุ ธานญุ าต นนั้ เทอญ”
กล่าวถวายพระกฐินทานจบแล้วประเคนพร้อมด้วยเทียนปาติโมกข์
เสรจ็ แลว้ เขา้ ทนี่ ง่ั ณ ทซี่ ง่ึ จดั ไว้ ในระหวา่ งทผ่ี เู้ ปน็ ประธานเขา้ สสู่ ถานทปี่ ระกอบพธิ ี
ผอู้ ยใู่ นพธิ ที งั้ หมดยนื แสดงความเคารพจนกวา่ ประธานจะนง่ั ลงจงึ นง่ั ลงพรอ้ มกนั
20
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมอื งขอนแกน่ จงั หวัดขอนแก่น
ถ้ามีปี่พาทย์หรือเครอ่ื งดนตรี ใหบ้ รรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมขี ณะ
ผู้เปน็ ประธานรับผ้าไตรจากเจ้าหนา้ ทห่ี รอื รบั ทโี่ ต๊ะหมู่ในกรณที ี่จดั ไว้ ต่อจากนน้ั
จึงบรรเลงเพลงช้าขณะประธานเข้าสู่สถานท่ีประกอบพิธีจนถึงเวลาจุดธูปเทียน
บูชาพระรัตนตรัยแล้ว จึงส่งเทียนชนวนคืน ให้หยุดบรรเลงทันทีแม้จะยังไม่จบ
เพลงก็ตาม และควรมีเจ้าหน้าท่ีคอยให้สัญญาณเวลาให้เริ่มเพลงหรือให้หยุด
บรรเลง
๗. พระสงฆ์ท�ำพิธีกรรม
๘. เมื่อพระสงฆ์ท�ำพิธีเสร็จออกไปครองผ้า (ปี่พาทย์บรรเลงเพลง
สาธุการ ถ้ามี) ครองผ้าเสร็จกลับเข้าที่นั่งยังอาสน์สงฆ์ (ปี่พาทย์หยุดบรรเลง)
ผู้เป็นประธานและผู้ไปร่วมพิธีถวายเครื่องพระกฐินแก่องค์ครอง เริ่มตั้งแต่บาตร
เปน็ ตน้ ไปจนถงึ เครอ่ื งมอื กอ่ สรา้ ง ถา้ จดั เครอ่ื งไทยธรรมถวายเพมิ่ เตมิ ควรถวาย
ภายหลังเคร่ืองพระกฐินหลวง
๙. ถา้ มผี บู้ รจิ าครว่ มโดยเสดจ็ พระราชกศุ ล ควรประกาศใหท้ ปี่ ระชมุ ทราบ
๑๐. พอพระสงฆ์อนุโมทนา ผู้เป็นประธานกรวดน้�ำแล้วพระสงฆ์ถวาย
อดเิ รกจบ ประธานกราบพระรตั นตรยั เปน็ เสรจ็ พธิ ี (ปพ่ี าทยบ์ รรเลงเพลงกราวรำ�
ถ้ามี)
๑๑. กรมการศาสนาเป็นผู้จัดสรรและด�ำเนินการขอพระราชทาน จึงขอ
ให้รายงานถวายผ้าพระกฐินพระราชทานและยอดเงินโดยเสด็จพระราชกุศล
ไปยังกรมการศาสนา หลังจากถวายผ้าพระกฐินเสร็จแล้ว เพ่ือจะได้รวบรวม
ด�ำเนินการกราบบังคมทูลพระกรุณา ขอพระราชทานถวายพระราชกุศล
โดยพร้อมเพรียงกัน
21
กฐนิ พระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ประจำ�ปี ๒๕๖๔
ประวตั กิ ฐินพระราชทานของ
มหาวทิ ยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ได้ขอรับพระราชทานผ้าพระกฐิน
อญั เชญิ ไปทอดถวาย ณ พระอารามหลวงตา่ ง ๆ ในสว่ นภมู ภิ าคทวั่ ราชอาณาจกั ร
เป็นปีที่ ๔๑ แลว้ ดงั น้ี
พ.ศ. ๒๕๒๔ วดั พระศรรี ตั นมหาธาตรุ าชวรวหิ าร อ.ศรสี ชั นาลยั จ.สโุ ขทยั
วนั ที่ ๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๔
พ.ศ. ๒๕๒๕ วดั พระธาตุพนมวรมหาวหิ าร อ.ธาตพุ นม จ.นครพนม
วันที่ ๒๔ ตลุ าคม ๒๕๒๕
พ.ศ. ๒๕๒๖ วดั พระบรมธาตไุ ชยาราชวรวหิ าร อ.ไชยา จ.สรุ าษฎรธ์ านี
วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๒๖
พ.ศ. ๒๕๒๗ วดั เฉลมิ พระเกยี รติวรวิหาร อ.เมือง จ.นนทบุรี
วนั ท่ี ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๗
พ.ศ. ๒๕๒๘ วดั พระธาตหุ รภิ ุญชัยวรมหาวิหาร อ.เมอื ง จ.ลำ� พูน
วนั ที่ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๒๘
พ.ศ. ๒๕๒๙ วดั พระธาตุเชงิ ชุมวรวหิ าร อ.เมือง จ.สกลนคร
วันที่ ๒๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๒๙
พ.ศ. ๒๕๓๐ วดั มงคลนิมิตร อ.เมือง จ.ภูเกต็
วนั ท่ี ๕ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๐
พ.ศ. ๒๕๓๑ วัดบูรพาพิทยาราม อ.ท่าใหม่ จ.จันทบรุ ี
วันท่ี ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๑
พ.ศ. ๒๕๓๒ วัดเจดียห์ ลวงวรวหิ าร อ.เมือง จ.เชยี งใหม่
วันท่ี ๕ พฤศจิกายน ๒๕๓๒
พ.ศ. ๒๕๓๓ วัดโพธ์ิชยั อ.เมอื ง จ.หนองคาย
วันที่ ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๓
22
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) อ�ำ เภอเมอื งขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
พ.ศ. ๒๕๓๔ วัดท่าโพธิ์ อ.เมอื ง จ.นครศรีธรรมราช
วนั ท่ี ๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๔
พ.ศ. ๒๕๓๕ วดั พระแทน่ ดงรงั วรวหิ าร อ.ทา่ มะกา จ.กาญจนบรุ ี
วนั ที่ ๖ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๕
พ.ศ. ๒๕๓๖ วดั มหาธาตุ อ.เมอื ง จ.เพชรบูรณ์
วนั ท่ี ๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๖
พ.ศ. ๒๕๓๗ วดั โพธสิ มภรณ์ อ.เมอื ง จ.อดุ รธานี
วันท่ี ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๓๗
พ.ศ. ๒๕๓๘ วดั มัชฌิมาวาส อ.เมอื ง จ.สงขลา
วนั ท่ี ๑๔ ตลุ าคม ๒๕๓๘
พ.ศ. ๒๕๓๙ วัดเจด็ ยอด อ.เมอื ง จ.เชยี งราย
วันที่ ๒๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๓๙
พ.ศ. ๒๕๔๐ วดั ธรรมิการามวรวิหาร อ.เมือง จ.ประจวบครี ีขนั ธ์
วันที่ ๑๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๐
พ.ศ. ๒๕๔๑ วัดเขาบางทราย อ.เมอื ง จ.ชลบุรี
วนั ที่ ๒๒ ตุลาคม ๒๕๔๑
พ.ศ. ๒๕๔๒ วดั มหาวนาราม อ.เมือง จ.อบุ ลราชธานี
วนั ท่ี ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๒
พ.ศ. ๒๕๔๓ วดั ตานนี รสโมสร อ.เมือง จ.ปัตตานี
วันที่ ๔ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๓
พ.ศ. ๒๕๔๔ วัดมหาสมณาราม อ.เมือง จ.เพชรบุรี
วันที่ ๑๓ ตลุ าคม ๒๕๔๔
พ.ศ. ๒๕๔๕ วัดวรนาถบรรพต อ.เมือง จ.นครสวรรค์
วนั ที่ ๙ ตลุ าคม ๒๕๔๕
พ.ศ. ๒๕๔๖ วดั มัชฌิมาวาส อ.เมือง จ.อุดรธานี
วนั ที่ ๔ พฤศจิกายน ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗ วัดตันตยาภิรม อ.เมือง จ.ตรงั
วันท่ี ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๗
23
กฐินพระราชทาน มหาวิทยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๔๘ วัดพระเจดยี ซ์ าวหลัง อ.เมือง จ.ลำ� ปาง
วนั ท่ี ๕ พฤศจิกายน ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙ วดั เทวสงั ฆาราม อ.เมอื ง จ.กาญจนบุรี
วันท่ี ๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐ วัดกลางม่ิงเมอื ง อ.เมือง จ.รอ้ ยเอ็ด
วนั ท่ี ๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑ วัดแกว้ โกรวราราม อ.เมอื ง จ.กระบี่
วันที่ ๑ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒ วดั พญาภู อ.เมือง จ.น่าน
วันที่ ๓๑ ตลุ าคม ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓ วัดโยธานิมิตร อ.เมือง จ.ตราด
วันท่ี ๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔ วัดสำ� ราญนิเวศ อ.เมือง จ.อำ� นาจเจรญิ
วันที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕ วดั ชมุ พรรงั สรรค์ อ.เมือง จ.ชุมพร
วนั ท่ี ๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖ วดั จองคำ� อ.เมอื ง จ.แม่ฮ่องสอน
วนั ท่ี ๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗ วดั อดุ มธานี อ.เมือง จ.นครนายก
วนั ที่ ๓๑ ตุลาคม-๑ พฤศจิกายน ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘ วดั สระแกว้ อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแกว้
วนั ท่ี ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙ วัดศรีสุทธาวาส อ.เมอื งเลย จ.เลย
วนั ท่ี ๒๙ ตุลาคม ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐ วดั ประชมุ โยธี อ.เมอื งพงั งา จ.พังงา
วันที่ ๒๐-๒๑ ตลุ าคม ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑ วัดพระบาทมิง่ เมืองวรวิหาร อ.เมอื งแพร่ จ.แพร่
วันท่ี ๙-๑๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑
24
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) อ�ำ เภอเมอื งขอนแกน่ จังหวดั ขอนแกน่
พ.ศ. ๒๕๖๒ วดั เพชรสมุทรวรวิหาร อ.เมืองสมทุ รสงคราม
จ.สมุทรสงคราม
วันที่ ๒๕-๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓ วัดปา่ ประดู่ (พระอารามหลวง) อ.เมอื งระยอง
จ.ระยอง
วนั ที่ ๙-๑๐ ตลุ าคม ๒๕๖๓
ใน พ.ศ. ๒๕๖๔ น้ี ท่ีประชุมผู้บริหารของมหาวิทยาลัยได้พิจารณา
โดยรอบแล้ว มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ด�ำเนินการขอรับผ้าพระกฐินพระราชทาน
ประจ�ำปี ๒๕๖๔ มาทอดถวายพระภิกษุสงฆ์อยู่จ�ำพรรษา ณ วัดหนองแวง
(พระอารามหลวง) ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
25
กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประจำ�ปี ๒๕๖๔
มหาวิทยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช
ความเป็นมาของมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช เป็นสถาบันอุดมศึกษาท่ีเกิดขึ้นด้วย
แนวความคิดเร่ืองการขยายและกระจายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษา
แกป่ ระชาชนใหก้ วา้ งขวางยง่ิ ขนึ้ โดยใชท้ รพั ยากรทม่ี จี ำ� กดั ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ
รัฐบาลจึงได้ด�ำเนินการจัดตั้งมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชข้ึนอีกแห่งหน่ึง
มีลักษณะเป็นมหาวิทยาลัยในระบบเปิด ด�ำเนินการสอนโดยใช้ระบบการสอน
ทางไกล
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อ “มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช” ตามพระนามเดิมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รชั กาลที่ ๗ เมอื่ ครง้ั ทรงดำ� รงพระอสิ รยิ ยศเปน็ “กรมหลวงสโุ ขทยั ธรรมราชา”
และทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เมื่อวันที่ ๕ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๑ นับจากน้ันเป็นต้นมา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจึงก�ำหนดให้วันที่ ๕ กันยายน ของ
ทุกปีเป็นวันสถาปนามหาวิทยาลัย และนับว่าเป็นมหาวิทยาลัยเปิดแห่งแรกใน
ภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ใช้ระบบการเรียนการสอนทางไกล และเป็น
มหาวิทยาลัยของรัฐแห่งที่ ๑๑ สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย ดังนั้นมหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราชจึงมีอ�ำนาจให้ปริญญาที่มีศักดิ์และสิทธ์ิเช่นเดียวกับ
มหาวิทยาลัยของรัฐแห่งอ่ืน ๆ ทุกประการ
26
วดั หนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมืองขอนแกน่ จงั หวัดขอนแก่น
ตราสัญลักษณ์
มหาวิทยาลัยได้รับพระบรมราชานุญาตให้ใช้
พระราชลัญจกรในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
ซ่ึงเป็นรูปพระแสงศรสามองค์ เรียงภายใต้พระมหามงกุฎ
ประกอบอยใู่ นสว่ นยอดของเจดียท์ รงพมุ่ ข้าวบิณฑ์ ซง่ึ เป็น
สัญลักษณ์ของกรุงสุโขทัย เป็นตราประจ�ำมหาวิทยาลัย
สีประจ�ำมหาวิทยาลัย
สีเขียว และสีทอง
สีเขียว สีประจ�ำวันพุธซึ่งเป็นวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จ
พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว
สีทอง สีแห่งความเป็นสิริมงคล
ต้นไม้ประจ�ำมหาวิทยาลัย
ตน้ ปารชิ าต หรอื ตน้ ทองหลางลาย ใบทองหลางลายมสี เี ขยี วและสที อง
ตรงกับสีประจ�ำมหาวิทยาลัย
วิสัยทัศน์
เป็นมหาวิทยาลัยเปิดช้ันน�ำของโลกท่ีใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม
การศึกษาทางไกลเพื่อสร้างโอกาสการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเองตลอดชวี ติ สำ� หรับทุกคน
27
กฐนิ พระราชทาน มหาวิทยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช ประจำ�ปี ๒๕๖๔
ปณิธาน
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ในฐานะทเ่ี ปน็ มหาวทิ ยาลยั ในระบบเปดิ
ยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิต มุ่งพัฒนาคุณภาพของประชาชนทั่วไป เพ่ิมพูน
วิทยฐานะแก่ผู้ประกอบอาชีพ และขยายโอกาสทางการศึกษาต่อส�ำหรับทุกคน
เพอื่ สนองความตอ้ งการของบคุ คลและสงั คม ดว้ ยการจดั ระบบการเรยี นการสอน
ทางไกล ซึ่งใช้สื่อการสอนทางไปรษณีย์ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์
สื่อออนไลน์ และวิธีการอื่นที่ผู้เรียนสามารถศึกษาได้ด้วยตนเองโดยไม่ต้องเข้า
ชั้นเรียนตามปกติ
คุณค่า (Value)
๑. มีบทบาทโดดเด่นในสังคม โดยเป็นแหล่งเรียนรู้เปิดในระดับ
อุดมศึกษา ส�ำหรับทุกคน (Open for all)
๒. เป็นผู้น�ำทางการสร้างนวัตกรรมระบบการศึกษาทางไกล ส�ำหรับ
การเรียนรู้ตลอดชีวิต
๓. บุคลากร “มีสุขภาวะในการท�ำงาน”
๔. ส่งเสริมกิจกรรมทุกด้านเพื่อความส�ำเร็จในการเรียนรู้ของนักศึกษา
ทุกคน
วัฒนธรรมองค์กร
(STOU Culture) “ร่วมแรงใจ ใฝ่คุณธรรม น�ำส่ิงใหม่ เรียนรู้ได้
ทุกที่ทุกเวลา”
S = Synergy หมายถงึ รว่ มแรงใจ มอี งคป์ ระกอบเชงิ พฤตกิ รรม
คือ Organization First, Workforce Focus,
Teamwork
T = Transparency หมายถงึ ใฝค่ ณุ ธรรม มอี งคป์ ระกอบเชงิ พฤตกิ รรม
คอื Social Responsibility, Management by
Fact, Moral & Ethics
28
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมืองขอนแก่น จังหวดั ขอนแก่น
O = Originality หมายถงึ นำ� สงิ่ ใหม่ มีองคป์ ระกอบเชิงพฤติกรรม
คอื Customer Focus, Innovation Focus,
Visionary Leadership
U = Ubiquitous Learning หมายถึง เรยี นร้ไู ด้ทกุ ท่ีทกุ เวลา มีองคป์ ระกอบ
เชิงพฤติกรรม คือ Customer Focus, System
Perspective, Life Long Learning
การบริการการศึกษา
มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธริ าช ไดจ้ ดั บรกิ ารการศกึ ษา เพอ่ื เสรมิ สรา้ ง
ระบบการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน และยังเป็นการบริการทาง
วิชาการแก่ประชาชนท่ีอยู่ห่างไกล โดยมหาวิทยาลัยได้จัดตั้งศูนย์วิทยพัฒนา
จ�ำนวน ๑๐ แห่ง ท่ัวทุกภูมิภาค ได้แก่
ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและชมุ ชนสมั พนั ธ์ มสธ. จงั หวดั สโุ ขทยั โทร. ๐ ๕๕๖๕ ๑๐๙๗
ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและชมุ ชนสมั พนั ธ์ มสธ. จงั หวดั นครสวรรค์ โทร. ๐ ๕๖๒๒ ๒๔๕๐
ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและชมุ ชนสมั พนั ธ์ มสธ. จงั หวดั อดุ รธานี โทร. ๐ ๔๒๓๔ ๐๐๓๓
ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและชมุ ชนสมั พนั ธ์ มสธ. จงั หวดั อบุ ลราชธานี โทร. ๐ ๔๕๒๘ ๑๘๙๑
ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและชมุ ชนสมั พนั ธ์ มสธ. จงั หวดั นครนายก โทร. ๐ ๓๗๓๐ ๖๒๔๗-๙
ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและชมุ ชนสมั พนั ธ์ มสธ. จงั หวดั เพชรบรุ ี โทร. ๐ ๓๒๔๐ ๓๘๐๑-๕
ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและชมุ ชนสมั พนั ธ์ มสธ. จงั หวดั จนั ทบรุ ี โทร. ๐ ๓๙๓๘ ๙๔๓๐-๓
ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและชมุ ชนสมั พนั ธ์ มสธ. จงั หวดั นครศรธี รรมราช โทร. ๐ ๓๕๓๗ ๘๖๘๐-๓
ศนู ยว์ ทิ ยบรกิ ารและชมุ ชนสมั พนั ธ์ มสธ. จงั หวดั ยะลา โทร. ๐ ๗๓๒๖ ๔๐๑๖
นอกจากนี้มหาวิทยาลัยได้จัดต้ังศูนย์บริการการศึกษา ณ โรงเรียน
ประจ�ำจังหวัดทุกจังหวัดเพ่ือเป็นสถานท่ีด�ำเนินกิจกรรมทางวิชาการของ
มหาวิทยาลัย อาทิ การปฐมนิเทศนักศึกษา การสอนเสริม การสอบ และ
การแนะแนวการศกึ ษา รวมทงั้ เปน็ แหลง่ บรกิ ารขา่ วสารและหนว่ ยประชาสมั พนั ธ์
ในระดับท้องถ่ินของมหาวิทยาลัย และเป็นหน่วยประสานงานระหว่างนักศึกษา
กับมหาวิทยาลัย
29
กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔
นอกจากศูนย์บริการการศึกษาแล้ว นักศึกษายังสามารถรับบริการ
ข้อมูล ข่าวสาร การเรียนการสอนจากมหาวิทยาลัยอีกหลายช่องทาง ดังนี้
๑. สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยเพ่ือการศึกษาของ
กรมประชาสัมพันธ์ ออกอากาศสถานีแม่ข่ายกรุงเทพมหานครคล่ืนความถ่ี
๑,๔๖๗ KHz ระบบ A.M. และส่งไปยังเครือข่ายทั่วประเทศ ตามตาราง
ออกอากาศที่มหาวิทยาลัยจัดส่งให้กับนักศึกษา
๒. สถานีโทรทัศน์ของมหาวิทยาลัย STOU Channel
๓. สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ (NBT)
๔. สถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV8 True
vision)
๕. สถานีวิทยุโทรทัศน์เพื่อการศึกษา (ETV) ตามตารางออกอากาศ
ที่มหาวิทยาลัยจัดส่งให้กับนักศึกษา
สถานที่ส�ำคัญในมหาวิทยาลัย
หอพระ ประดิษฐานพระพุทธรูปประจ�ำมหาวิทยาลัยปางมารวิชัย
ขนาดหน้าตัก ๖๐ น้ิว ตัวอาคารหอพระ ออกแบบโดย รองศาสตราจารย์
ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ โดยตัวอาคารมีเอกลักษณ์สะท้อน
รูปลักษณะศิลปสุโขทัย อันเป็นช่ือของมหาวิทยาลัย ตัวอาคารสร้างเสร็จใน
ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ การจัดวางอาคารนั้นตั้งอยู่บริเวณมุมด้านเหนือของอุทยาน
30
วดั หนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมอื งขอนแกน่ จังหวดั ขอนแกน่
การศกึ ษารชั มงั คลาภเิ ษกใกลก้ บั ถนนหลกั ภายในมหาวทิ ยาลยั ตวั อาคารยกพนื้ สงู
จากระดับปกติ จึงท�ำให้มีความโดดเด่นสะดุดตา
ห้องพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้า
รำ� ไพพรรณี พระบรมราชนิ ี เป็นแหลง่ รวบรวมข้อมลู พระราชประวตั ิ พระราช-
กรณียกิจพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้า
ร�ำไพพรรณี พระบรมราชินี ต้ังอยู่ ณ อาคารบรรณสาร ช้ัน ๒ ออกแบบตกแต่ง
ด้วยรูปลักษณะสถาปัตยกรรมสมัยรัชกาลท่ี ๗ เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาท
สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว และให้บริการข้อมูลทางประวัติศาสตร์ระหว่างปี
พ.ศ. ๒๔๖๘-๒๔๗๗
อาคารทรงพมุ่ ขา้ วบณิ ฑ์ สถาปตั ยกรรมทโี่ ดดเดน่ ทส่ี ดุ ในมหาวทิ ยาลยั
อาคารทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ เป็นอาคารสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
ซึ่งได้ประยุกต์สถาปัตยกรรมไทยสมัยสุโขทัยมาใช้ในการออกแบบก่อสร้าง
โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.ภิญโญ สุวรรณคีรี ศิลปินแห่งชาติ เป็นผู้ออกแบบ
31
กฐนิ พระราชทาน มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔
การจดั วางอาคารนน้ั ตง้ั อยกู่ งึ่ กลางของอทุ ยานการศกึ ษารชั มงั คลาภเิ ษก จดั เปน็
สถาปัตยกรรมท่ีโดดเด่นที่สุดในมหาวิทยาลัย
อาคารอเนกนิทัศน์ เป็นหอประชุมขนาดใหญ่ของมหาวิทยาลัยสุโขทัย
ธรรมาธิราช สร้างเสร็จเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๔๙ ปัจจุบันใช้เป็นสถานที่พระราชทาน
ปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัย
ติดต่อมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
เลขท่ี ๙/๙ หมู่ท่ี ๙ ถนนแจ้งวัฒนะ ต�ำบลบางพูด อ�ำเภอปากเกร็ด
จังหวัดนนทบุรี ๑๑๑๒๐
Call Center : ๐ ๒๕๐๔ ๗๗๘๘
วันจันทร์-ศุกร์ เวลา ๐๘.๐๐-๑๙.๓๐ น.
วันเสาร์-อาทิตย์ เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น.
เว็บไซต์ http://www.stou.ac.th
32
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมืองขอนแกน่ จงั หวัดขอนแกน่
จังหวัดขอนแกน่
ตราประจ�ำจังหวัดขอนแก่น
สัญลักษณ์ : รูปเจดีย์เก่าครอบต้นมะขาม เรียกว่า เจดีย์ขามแก่น เป็น
ปูชนียสถานที่ส�ำคัญของจังหวัดขอนแก่น ต�ำนานเล่าว่า คร้ังหนึ่งมีต้นมะขาม
ใหญ่ถูกตัดโค่นลงไว้หลายปี แต่กลับงอกงามมีกิ่งก้านสาขา ประชาชนถือว่าเป็น
สงิ่ มหศั จรรยจ์ งึ พากนั สรา้ งเจดยี ค์ รอบตน้ มะขาม เรยี กวา่ เจดยี ข์ ามแกน่ ถอื เปน็
ปูชนียสถานท่ีเคารพกราบไหว้ต้ังแต่น้ันมาจนถึงปัจจุบัน จึงได้น�ำมาเป็นตรา
ประจ�ำจังหวัด และเรียกค�ำว่า ขามแก่น เพ้ียนเป็น ขอนแก่น
ค�ำขวัญประจ�ำจังหวัดขอนแก่น
"พระธาตุขามแก่น เสียงแคนดอกคูน ศูนย์รวมผ้าไหม ร่วมใจผูกเสี่ยว
เทย่ี วขอนแกน่ นครใหญ่ ไดโนเสารส์ ริ นิ ธรเน่ สดุ เทเ่ หรยี ญทองแรกมวยโอลมิ ปกิ "
วิสัยทัศน์จังหวัดขอนแก่น
"มหานครน่าอยู่ มุ่งสู่เมืองนวัตกรรม ศูนย์กลางเช่ือมโยงอนุภูมิภาคลุ่ม
น�้ำโขง"
33
กฐนิ พระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔
ต้นไม้ประจ�ำจังหวัดขอนแก่น
ช่ือพันธุ์ไม้ ต้นกัลปพฤกษ์
ช่ือวิทยาศาสตร์ Cassia bakeriana Craib
ลักษณะทั่วไป ต้นกัลปพฤกษ์เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบสูง ๒๐ เมตร
โคนมีพูพอน เปลือกสีด�ำแดงแตกเป็นร่องลึก กิ่งอ่อนและช่อดอกมีขนนุ่ม
สีน�้ำตาล ใบเป็นใบประกอบแบบขนนกเรียงสลับกัน รูปหอกแกมขอบขนาน
ออกดอกเป็นช่อตามกิ่งพร้อมใบอ่อน ใบประดับรูปหอก ดอกเริ่มบานสีชมพู
แล้วเปล่ียนเป็นสีขาวตามล�ำดับ ผลเป็นฝักทรงกระบอก
ขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ด
สภาพท่ีเหมาะสม เจริญเติบโตได้ดีในดินทุกชนิด แสงแดดจัด
ถ่ินก�ำเนิด อเมริกาใต้ และตามป่าเบญจพรรณท่ัวไป
ประวัติความเป็นมา
จังหวัดขอนแก่น เป็นจังหวัดที่เป็นศูนย์กลางความเจริญแห่งหน่ึง
ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีประวัติความเป็นมาท่ียาวนานย้อนกลับไปใน
อดีตกาลยุคก่อนประวัติศาสตร์กว่าร้อยล้านปีมาแล้ว ในบริเวณเขตจังหวัด
ขอนแกน่ เคยเปน็ ทอี่ ยขู่ อง “ไดโนเสาร”์ สตั วโ์ ลกดกึ ดำ� บรรพข์ นาดใหญท่ สี่ ญู พนั ธ์ุ
ไปแลว้ โดยนกั ธรณวี ทิ ยาไดค้ น้ พบรอยเทา้ และฟอสซลิ ไดโนเสารพ์ นั ธก์ุ นิ พชื และ
พันธุ์กินเนื้ออายุกว่า ๔,๐๐๐-๒,๐๐๐ ปี และจังหวัดขอนแก่นเคยเป็นถ่ินอาศัย
ของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ดังปรากฏหลักฐานจากการขุดค้นของ
34
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมืองขอนแก่น จังหวดั ขอนแกน่
นักโบราณคดีท่ีแหล่งโบราณคดีโนนนกทา บ้านนาดี ต�ำบลบ้านโคก อ�ำเภอ
ภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ค้นพบโครงกระดูกกว่า ๒๐๐ โครงกระดูก นอกจาก
น้ันยังพบเครื่องส�ำริด เหล็กและพบขวานทองแดงอายุ ๔,๖๐๐-๔,๘๐๐ ปี ซึ่ง
ลักษณะของขวานท่ีพบเป็นหัวขวานหัวเดียวที่พบในประเทศไทยท่ีมีอายุเก่าแก่
ที่สุดในเอเชียอาคเนย์ อายุ ๔,๒๗๕ ปี
ในสมัยประวัติศาสตร์จังหวัดขอนแก่น ได้รับอิทธิพลทางวัฒนธรรม
แบบทวารวดีจากภาคกลางเข้ามาสู่ภาคอีสานเมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๖
และได้แพร่กระจายอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะบริเวณบ้านโนนเมือง วัดป่าพระนอน
ต�ำบลชุมแพ ได้พบเสมาหินปักอยู่เป็นระยะและล้มจมดิน มีรอยสลักกลีบบัว
กลีบเดียวหรือสองกลีบ แท่งหินท่ีส�ำคัญที่ชาวบ้านเรียกว่า เสาหลักเมือง
มีลักษณะเป็นรูปทรงกลมมีรอยจารึก ซึ่งเข้าใจว่าเป็นตัวอักษรมอญโบราณ
ได้น�ำเอามาท�ำเป็นหลักเมืองขอนแก่น และราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ วัฒนธรรม
ล้านช้างแถบลุ่มน�้ำชีลุ่มน�้ำโขง และวัฒนธรรมแบบล้านนาได้เจริญรุ่งเรืองและ
ได้เขา้ มามบี ทบาทในพ้นื ท่แี ทนวฒั นธรรมด้งั เดมิ กลายเป็นวัฒนธรรมผสมผสาน
ที่แพร่หลายไปทั่วดินแดนอีสาน เรียกว่า ศิลปะแบบล้านช้าง ซ่ึงสถาปัตยกรรม
ท่ีส�ำคัญส�ำหรับศิลปะรูปแบบน้ี คือ พระธาตุขามแก่น อ�ำเภอน้�ำพอง มีประวัติ
ความเป็นมาว่า แต่เดิม ณ ที่แห่งน้ีเป็นที่รกร้างว่างเปล่า ต่อมาเม่ือเร่ิมมี
ชาวบ้านเข้ามาหักล้างถางพง จับจองท่ีดินท�ำกินและที่อยู่อาศัยน้ัน ชาวบ้านพบว่า
มีตอมะขามท่ีตายแล้วเหลือแต่แก่นอยู่ต้นหน่ึง แต่ต่อมาปรากฏว่าแก่นมะขาม
นนั้ กลบั มกี ารแตกใบ ผลดิ อก ดแู ปลกประหลาด และพบวา่ หากมใี ครทไ่ี ปทำ� การ
อะไรทเี่ ปน็ การดหู มนิ่ หรอื ลบหลตู่ อมะขามนน้ั คนผนู้ นั้ กจ็ ะมอี นั เปน็ ไป ชาวบา้ น
จึงเกิดความเคารพบูชา และร่วมกันสร้างเจดีย์ครอบตอมะขามนั้นไว้ พร้อมกับ
บรรจุพระธรรมค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ๙ ประการ ไว้ในน้ันด้วย จึงเรียกเจดีย์
ท่ีสร้างนั้นว่า พระเจ้าเก้าพระองค์ หรือเจดีย์บ้านขาม ต่อมาจึงเป็นพระธาตุ
ขามแก่น ถือเป็นพระธาตุคู่บ้านคู่เมืองและเป็นท่ีมาของช่ือจังหวัดขอนแก่น
35
กฐินพระราชทาน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔
ที่ตั้งและอาณาเขต
ที่ต้ัง จังหวัดขอนแก่นมีพ้ืนท่ีประมาณ ๑๐,๘๘๖ ตารางกิโลเมตร อยู่
ระหว่างเส้นรุ้งท่ี ๑๕-๑๗ องศาเหนือ และเส้นแวงท่ี ๑๐๑-๑๐๓ องศาตะวันออก
และมีระยะทางห่างจากกรุงเทพฯ ๔๔๕ กิโลเมตร
อาณาเขต จังหวัดขอนแก่นมีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดอุดรธานี หนองบัวล�ำภู และเลย
ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดนครราชสีมา และบุรีรัมย์
ทิศตะวันออก ติดต่อกับจังหวัดกาฬสินธุ์ และมหาสารคาม
ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดเพชรบูรณ์ และชัยภูมิ
36
วดั หนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมืองขอนแกน่ จงั หวัดขอนแกน่
สถานท่ีท่องเท่ยี วจังหวัดขอนแก่น
เที่ยวขอนแก่น สัมผัสมนต์เสน่ห์แดนอีสาน เต็มไปด้วยร่องรอย
ประวัติศาสตร์น่าเรียนรู้และธรรมชาติท่ีสวยงาม จังหวัดขอนแก่นเป็นเมืองใหญ่
ของภาคอีสานที่คึกคักเต็มไปด้วยนักท่องเที่ยว เพราะมีสถานท่ีท่องเที่ยว
มากมายหลายรูปแบบรอให้นักเท่ียวไปสัมผัสและต้องไปเช็กอิน
พระมหาธาตุแก่นนคร
พระมหาธาตุแก่นนครหรือพระธาตุเก้าช้ัน มีลักษณะเป็นฐานสี่เหลี่ยม
กว้างด้านละ ๕๐ เมตร เรือนยอดทรงเจดีย์จ�ำลองแบบจากพระธาตุขามแก่น
จัดสร้างขึ้นเน่ืองในโอกาสท่ีพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล
อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี และ
มหามังคลานุสรณ์ ๒๐๐ ปี เมืองขอนแก่น พระมหาธาตุแก่นนครมีความสูงของ
องค์พระธาตุฯ ๘๐ เมตร มีพระจุลธาตุ ๔ องค์ ตั้งอยู่ ๔ มุม และมีก�ำแพงแก้ว
พญานาค ๗ เศียรล้อมรอบ เป็นศิลปะสมัยทวารวดี ผสมผสานศิลปะอินโดจีน
และเป็นลักษณะแบบชาวอีสานปากแห ซ่ึงชั้นบนสุดของพระมหาธาตุแก่นนคร
สามารถข้ึนไปชมวิวของเมืองขอนแก่นได้ด้วยจากมุมสูง
เวลาเปิด-ปิด : เปิดทุกวัน เวลา ๐๘.๐๐-๑๘.๐๐ น.
ท่ีตั้ง : วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) ถนนกลางเมือง ต�ำบลในเมือง
อ�ำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
37
กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช ประจำ�ปี ๒๕๖๔
พระธาตุขามแก่น
พระธาตุขามแก่น เป็นปูชนียสถานท่ีส�ำคัญ คู่เมืองขอนแก่น เป็นจุด
ยึดเหนี่ยวทางจิตใจ และมีความศักดิ์สิทธ์ิคู่กับอีสานอีกแห่งหนึ่ง ลักษณะเจดีย์
พระธาตุสูงประมาณ ๑๐ เมตร มีฐานเป็นรูปบัวคว่�ำ ผังส่ีเหล่ียมสอบข้ึนด้านบน
ปลายยอดเป็นฉัตรทอง องค์เรือนธาตุเป็นรูปดอกบัวตูมยอดย่อมุมไม้สิบสอง
ด้านทิศตะวันออกติดกับองค์พระธาตุมีสิมหรือพระอุโบสถเก่าซึ่งสร้างคู่กับ
พระธาตุมาแต่โบราณ เป็นสถาปัตยกรรมล้านช้างรูปทรงสวยงามลายฉลุไม้ท่ี
หน้าบัน ช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ และลายรวงผ้ึงที่บริเวณซุ้มด้านหน้า ฝีมือ
ประณีตและฝาผนังบริเวณประตูสิมมีภาพวาดฝีมือชาวบ้านรูปต�ำรวจถือปืนยาว
เป็นทวารบาล ปัจจุบันองค์พระธาตุขามแก่นได้บูรณะจากกรมศิลปากร มีการ
ปรับปรุงทาสีองค์พระธาตุ ขยายบริเวณก�ำแพงแก้วทั้ง ๔ ด้าน และตกแต่งให้
มีทัศนียภาพที่สวยงาม โดยทุกวันเพ็ญเดือน ๖ จะมีงานฉลองพระธาตุขามแก่น
เป็นประจ�ำทุกปี
เวลาเปิด-ปิด : เปิดทุกวัน เวลา ๐๗.๐๐-๑๘.๐๐ น.
ที่ต้ัง : วัดเจติยภูมิ บ้านขาม หมู่ท่ี ๑ ต�ำบลบ้านขาม อ�ำเภอน้�ำพอง
จังหวัดขอนแก่น
38
วดั หนองแวง (พระอารามหลวง) อ�ำ เภอเมืองขอนแก่น จงั หวัดขอนแก่น
วัดพระพุทธบาทภูพานค�ำ
วัดพระพุทธบาทภูพานค�ำ เป็นท่ีประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจ�ำลอง
และหลวงพ่อพระใหญ่ พระพุทธอุตรมหามงคลอุบลรัตน์ องค์สีขาว ชาวบ้านจึง
นิยมเรียกกันว่า หลวงพ่อขาว หรือหลวงพ่อภูพานค�ำ ประดิษฐานอยู่บนฐาน
ดอกบัวสีชมพู ความสูงขององค์พระ ๑๔ เมตร สร้างเสร็จเม่ือปี พ.ศ. ๒๕๑๔
ตามประวัติเล่าว่าในปี พ.ศ. ๒๔๙๒ พระอาจารย์บุญ ปัญญาวุฑโฒ พร้อมด้วย
พระภิกษุ ๔ รูป ได้ออกเดินธุดงค์ผ่านมายังบริเวณน้ี เห็นว่าเป็นสถานท่ี
สงบเงียบจึงได้หยุดพักบ�ำเพ็ญเพียรภาวนา และพบกับบ่อน้�ำที่มีลักษณะคล้าย
รอยเท้ามนษุ ย์ แต่มขี นาดใหญ่กวา่ จึงมีความเชอื่ วา่ น่าจะเป็นรอยพระพุทธบาท
เม่ือชาวบ้านทราบข่าวก็พากันมากราบไหว้ และสร้างวัดถวายสืบมาถึงวันน้ี
สิ่งท่ีค่อนข้างจะเป็นจุดวัดใจของผู้ศรัทธาอยู่ไม่น้อย นั่นก็คือบันไดพญานาค
๑,๐๔๙ ข้ัน ที่แค่ยืนมองจากข้างล่างก็จะเห็นหลวงพ่อองค์ใหญ่อยู่ไกล ๆ
นักท่องเท่ียวสามารถขับรถยนต์ข้ึนไปถึงยอดเขาได้ เมื่อถึงด้านบนก็จะได้ชมวิว
๓๖๐ องศาอย่างเต็มตา
เวลาเปิด-ปิด : เปิดทุกวัน เวลา ๐๗.๐๐-๑๗.๐๐ น.
ท่ีตั้ง : วัดพระพุทธบาทภูพานค�ำ ๑๐๓ หมู่ที่ ๑ อ�ำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น
39
กฐนิ พระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สุโขทัยธรรมาธริ าช ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔
วัดทุ่งเศรษฐี (มหารัตนเจดีย์ศรีไตรโลกธาตุ)
วดั ทงุ่ เศรษฐี ถกู สรา้ งโดยความคดิ รเิ รมิ่ จากหลวงตายา่ มแดง ทตี่ อ้ งการ
สร้างสถานปฏิบัติธรรมเป็นที่ดินของท่านเอง โดยมีเน้ือที่ประมาณ ๕ ไร่
ท่านได้ชักชวนลูกหลานศิษยานุศิษย์ร่วมกันสร้างมหารัตนเจดีย์ฯ บนที่ดิน
แปลงนี้ ด้วยความโดดเด่นของ
มหาเจดีย์ท่ีรูปแบบการก่อสร้างท่ี
สะทอ้ นถงึ ความเชอื่ ตา่ ง ๆ เปน็ การ
ผสมผสานกันอย่างลงตัวระหว่าง
องค์เจดีย์ส�ำคัญท้ังสามโลกคือ
เจดีย์จุฬามณีบนสวรรคช์ ้ันดาวดึงส์
นครเจดีย์ในนาคพิภพ และมหา
รัตนเจดีย์ศรีไตรโลกธาตุบนโลก
มนุษย์ นักท่องเท่ียวมาเยือนที่นี่
แคเ่ พยี งทเี่ ดยี วกเ็ หมอื นกบั วา่ ไดม้ า
สักการะองค์เจดีย์ถึง ๓ โลกเลย
ทีเดียว ส่ิงส�ำคัญภายในวัด ได้แก่ มหารัตนเจดีย์ศรีไตรโลกธาตุ เจดีย์ท่ีต้ังอยู่
กลางบึง มีน้�ำล้อมรอบ บันไดทั้งหมด ๔ ด้าน ตกแต่งด้วยลวดลายของสัตว์
ทั้ง ๔ ตระกูล ที่เรียกว่า บันไดธาตุสี่ พร้อมผู้ดูแลครบท้ัง ๔ ทิศ องค์พระเจดีย์
จะเป็นโถงโล่ง ทรงระฆังคว�่ำ เป็นการออกแบบที่ผสมผสานศิลปะ ไทย ธิเบต
จีน และแบบฝร่ัง และพระพุทธนีลวรรโณศีโลทรัพยุดมหรือหลวงปู่ด�ำ
ประดิษฐานอยู่ จะเป็นพระพุทธรูปเน้ือทองเหลืองผิวสีด�ำทรงเคร่ือง ปิดทอง
ประดับด้วยพลอยสีต่าง ๆ ปางสมาธิ เป็นศิลปะในแบบลพบุรีและใต้มหาเจดีย์
จะมีห้องปริศนาธรรมวงศ์ไวศยวรรณ เป็นห้องท่ีแสดงเกี่ยวกับภาพปริศนาธรรม
ต่าง ๆ เก่ียวกับวงจรชีวิตของคน ได้แก่ การเกิด การแก่ การเจ็บ และการตาย
เวลาเปิด-ปิด : เปิดทุกวัน เวลา ๐๗.๐๐-๑๗.๐๐ น.
ท่ีต้ัง : วัดทุ่งเศรษฐี หมู่ที่ ๑๒ บ้านหนองไฮ อ�ำเภอเมืองขอนแก่น
จังหวัดขอนแก่น
40
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) อ�ำ เภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแกน่
บึงแก่นนคร
บึงแก่นนคร เป็นบึงขนาดใหญ่มีเนื้อท่ี ๖๐๓ ไร่ นอกจากจะเป็นท่ี
ประดิษฐานอนุสาวรีย์ "เจ้าเพียเมืองแพน" ผู้ก่อตั้งเมืองขอนแก่นแล้ว บึงแก่นนคร
ยังเป็นสถานที่ที่นิยมมาพักผ่อนหย่อนใจ และท�ำกิจกรรมนันทนาการของ
ชาวขอนแก่น เพราะมีบรรยากาศสบาย ๆ พ้ืนที่โดยรอบมีการปรับปรุงและ
ตกแตง่ ใหเ้ ปน็ สวนสขุ ภาพ ประดบั ประดาดว้ ยประตมิ ากรรมตา่ ง ๆ โดดเดน่ ดว้ ย
ลู่ว่ิง สะพานข้ามบึงแก่นนคร และจุดชมวิวกลางน�้ำ ดูเพลินตาเพลินใจ
ยิ่งไปกว่าน้ันทางเทศบาลขอนแก่นยังปลูกต้นคูนและไม้ดัดไว้โดยรอบเพ่ิม
ความร่มร่ืนและความสวยงามให้กับสถานท่ียิ่งขึ้น
เวลาเปิด-ปิด : เปิดทุกวัน เวลา ๐๕.๐๐-๒๑.๐๐ น. (หยุดวันนักขัตฤกษ์)
ที่ต้ัง : บึงแก่นนคร ถนนศรีธาตุ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองขอนแก่น
จังหวัดขอนแก่น
41
กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔
ศูนย์ศึกษาวิจัย และพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูเวียง
ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ภูเวียง เป็นแหล่งเรียนรู้ด้าน
ธรณีวิทยา ธรรมชาติวิทยาและซากดึกด�ำบรรพ์ มีการจัดพื้นท่ีด�ำเนินงาน
ประกอบด้วย ส่วนนิทรรศการและการจัดแสดง ส่วนส�ำรวจและวิจัย ส่วน
อนุรักษ์ และส่วนคลังตัวอย่าง นอกจากนี้ยังมีห้องประชุม โรงอาหาร ร้านค้า
สวัสดิการ และร้านจ�ำหน่ายสินค้าที่ระลึกให้บริการ ในส่วนของนิทรรศการแบ่ง
การจัดแสดงออกเป็น ๕ ส่วน ได้แก่ ส่วนท่ี ๑ ก�ำเนิดจักรวาล วิวัฒนาการส่ิงมี
ชีวิต และเร่ืองราวของไดโนเสาร์ท่ัวโลก ส่วนที่ ๒ ไดโนเสาร์ในแหล่งเทือกเขา
ภูเวียง ส่วนท่ี ๓ ห้องปฏิบัติการด้านซากดึกด�ำบรรพ์ ธรณีวิทยาและ
ซากดึกด�ำบรรพ์ในจังหวัดขอนแก่น ส่วนท่ี ๔ สวนไดโนเสาร์ และส่วนที่ ๕
ยุคเทอร์เชียรี การใช้ประโยชน์หินแร่ และห้องเทิดพระเกียรติสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เวลาเปิด-ปิด : วันอังคาร-วันอาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. (หยุดวันจันทร์)
ที่ตั้ง : ศูนย์ศึกษาวิจัยและพิพิธภัณฑ์ไดโนเสาร์ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเวียงเก่า
จังหวัดขอนแก่น
42
วดั หนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมอื งขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
อุทยานแห่งชาติภูเวียง
อุทยานแห่งชาติภูเวียงครอบคลุมพ้ืนท่ี ๓๘๐ ตารางกิโลเมตร ในเขต
อ�ำเภอเวียงเก่า อ�ำเภอภูเวียง อ�ำเภอสีชมพู และอ�ำเภอชุมแพ เมื่อปี พ.ศ.
๒๕๑๙ มีการส�ำรวจแหล่งแร่ยูเรเนียมในบริเวณอุทยานแห่งชาติภูเวียง ระหว่าง
การส�ำรวจนักธรณีวิทยาได้ค้นพบซากกระดูกชิ้นหน่ึงเข้า และเม่ือส่งไปให้
ผู้เชี่ยวชาญชาวฝร่ังเศสวิจัยผลปรากฏออกมาว่าเป็นกระดูกหัวเข่าข้างซ้ายของ
ไดโนเสาร์ จากนั้นนักส�ำรวจก็ได้ท�ำการขุดค้นกันอย่างจริงจังเรื่อยมาจนถึง
ปัจจบุ ัน ภายในอุทยานแหง่ ชาตภิ ูเวยี งประกอบด้วยสิ่งท่นี า่ สนใจ ได้แก่ บนยอด
ภูประตูตีหมา หลุมขุดค้นที่ ๑ ได้พบฟอสซิลไดโนเสาร์ เป็นพันธุ์กินพืชซ่ึงไม่เคย
พบที่ใดมาก่อน จึงได้อัญเชิญพระนามของสมเด็จพระเทพฯ มาตั้งช่ือไดโนเสาร์
พนั ธน์ุ เ้ี พอื่ เปน็ การเฉลมิ พระเกยี รตวิ า่ "ภเู วยี งโกซอรสั สริ นิ ธรเน"่ และในบรเิ วณ
หลุมขุดค้นเดียวกันนั้นเอง นักส�ำรวจได้พบฟันของไดโนเสาร์ประเภทกินเน้ือ
ปะปนอยู่มากกว่า ๑๐ ซ่ี จึงต้ังช่ือเป็นเกียรติแก่ผู้ค้นพบ นายวราวุธ สุธีธร ว่า
"ไซแอมโมซอรัส สุธีธรน่ี" ความน่าสนใจของที่น่ีไม่ได้มีเพียงแต่ไดโนเสาร์เท่าน้ัน
ยังมีการพบร่องรอยอารยธรรมโบราณ โดยพบพระพุทธรูปปางไสยาสน์ ถ�้ำฝ่ามือแดง
และแหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ ในบริเวณอุทยานฯ ได้แก่ น้�ำตกทับพญาเสือ
น�้ำตกตาด ทุ่งใหญ่เสาอาราม หินลาดวัวถ�้ำกวาง และหินลาดอ่างกบ
เวลาเปิด-ปิด : วันอังคาร-วันอาทิตย์ เวลา ๐๙.๐๐-๑๗.๐๐ น. (หยุดวันจันทร์)
ที่ต้ัง : อุทยานแห่งชาติภูเวียง ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเวียงเก่า จังหวัดขอนแก่น
43
กฐินพระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔
อุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานค�ำ
อทุ ยานแหง่ ชาตภิ เู กา้ -ภพู านคำ� ตงั้ อยใู่ นทอ้ งทข่ี องจงั หวดั หนองบวั ลำ� ภู
พ้ืนท่ีตอนล่างของจังหวัดอุดรธานี และตอนบนของจังหวัดขอนแก่น มีพ้ืนที่
ค่อนข้างกว้างและจุดท่องเท่ียวหลายจุดไปถึงหนองบัวล�ำภู ซึ่งเป็นพ้ืนท่ีในส่วน
ของภูเก้า ได้แก่ ร่องรอยก่อนประวัติศาสตร์ของชุมชนในสมัยบ้านเชียง เช่น
ภาพเขียนสีและภาพสลักตามผนังถ้�ำต่าง ๆ และรอยเท้าไดโนเสาร์ซ่ึงสันนิษฐานว่า
เปน็ พนั ธเ์ุ ดยี วกบั รอยเทา้ ทพี่ บทอี่ ำ� เภอภเู วยี ง แตจ่ ดุ ทอ่ งเทยี่ วในพนื้ ทขี่ องจงั หวดั
ขอนแก่นที่เป็นท่ีนิยมของนักท่องเท่ียว เรียกว่า ภูพานค�ำ เป็นท่ีตั้งของท่ีท�ำการ
อุทยานฯ อยู่ในแนวเทือกเขาภูพาน เรียงตัวยาวตั้งแต่ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
จดทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในพื้นท่ียังมีจุดชมวิวช่องเขาขาด สามารถชมทัศนียภาพ
ของพระอาทิตย์ยอดนิยมเหนือเขื่อนอุบลรัตน์ที่มีความสวยงาม ต้ังอยู่ก่อนถึง
ทางเข้าที่ท�ำการอุทยานฯ ๑๐๐ เมตร ค่าเข้าชม คนไทย ผู้ใหญ่ ๒๐ บาทต่อคน
เด็ก ๑๐ บาทต่อคน
เวลาเปิด-ปิด : เปิดทุกวัน เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น.
ท่ีตั้ง : อุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานค�ำ อ�ำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น
44
วัดหนองแวง (พระอารามหลวง) อ�ำ เภอเมืองขอนแก่น จงั หวัดขอนแกน่
เข่ือนอุบลรัตน์
เขื่อนอุบลรัตน์ เรียกอีกช่ือว่า “เขื่อนพองหนีบ” เป็นเขื่อนหินทิ้งแกน
ดินเหนียวสร้างข้ามแม่น�้ำพอง โดยปิดก้ันล�ำน�้ำพองตรงบริเวณช่องเขาท่ีเป็น
แนวต่อระหว่างเทือกเขาภูเก้าและภูพานค�ำ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์
พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง พร้อมด้วยทูลกระหม่อมหญิง
อุบลรัตน์ราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ได้เสด็จฯ ไปทรงท�ำพิธีเปิดเขื่อนเม่ือ
วนั ที่ ๑๔ มนี าคม พ.ศ. ๒๕๐๙ เขอ่ื นอบุ ลรตั นม์ ปี ระโยชนใ์ นดา้ นการผลติ กระแส
ไฟฟ้า การเกษตร การประมง การป้องกันอุทกภัย และการคมนาคม ตลอดจน
เป็นที่ส�ำหรับพักผ่อนหย่อนใจของประชาชน ภายในบริเวณเข่ือนมีร้านอาหาร
บ้านพัก และกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การน่ังเรือชมทัศนียภาพเหนือเขื่อนและ
ชมสวนไม้ในเขื่อน
เวลาเปิด-ปิด : เปิดทุกวัน เวลา ๐๗.๐๐-๒๐.๐๐ น.
ที่ตั้ง : เข่ือนอุบลรัตน์ ต�ำบลเขื่อนอุบลรัตน์ อ�ำเภออุบลรัตน์ จังหวัดขอนแก่น
45
กฐนิ พระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช ประจ�ำ ปี ๒๕๖๔
Columbo craft village
เป็นหมู่บ้านของคนรักงานศิลปะบนถนนโคลัมโบใกล้มหาวิทยาลัย
ขอนแก่น ที่เกิดจากความฝันของกลุ่มคนผู้ชื่นชอบและรักงานศิลปะในจังหวัด
ขอนแกน่ จนกลายเปน็ คอมมนู ติ สี้ เปซแบบอารต์ ๆ ทส่ี รา้ งจากนำ้� พกั นำ้� แรงและ
ความคิดสร้างสรรค์ ภายในหมู่บ้านแห่งน้ีประกอบไปด้วย คาเฟ่ ร้านอาหาร
ร้านขายของแฮนดเ์ มด เวิรก์ ชอปงานไม้ สตูดโิ อของศลิ ปินท�ำงานผ้า โดยจดั ร้าน
เป็นวงกลมล้อมลานโล่งไว้ท�ำกิจกรรมทางศิลปะเเละอื่น ๆ เรียกได้ว่านอกจาก
จะเป็นพ้ืนท่ีโชว์งานศิลปะแล้ว ยังเป็นพื้นที่ของการพักผ่อนหย่อนกายใน
การถ่ายรูปชิค ๆ ภายใน Columbo craft village มีอาคารเล็ก ๆ ท้ังหมด ๗ หลัง
ส�ำหรับเป็นร้าน สถานท่ีสร้างสรรค์งานอาร์ต งานฝีมือ อาคารแต่ละหลัง
ออกแบบเป็นสไตล์ของตัวเอง น่ารัก ลงตัว บางคร้ังพื้นที่บริเวณนี้ก็ใช้ส�ำหรับ
จัดกิจกรรม workshop ต่าง ๆ
เวลาเปิด-ปิด : เวลา ๐๙.๐๐-๒๓.๐๐ น. (หยุดทุกวันอังคาร)
ทต่ี ง้ั : ๖๗๔ บา้ นโนนมว่ ง หมู่ ๑๙ ตำ� บลศลิ า อำ� เภอเมอื งขอนแกน่ จงั หวดั ขอนแกน่
46
วดั หนองแวง (พระอารามหลวง) อำ�เภอเมอื งขอนแก่น จงั หวัดขอนแก่น
ตลาดต้นตาล
ตลาดต้นตาล หรือโครงการต้นตาล กรีน มาร์เก็ต (Ton Tann Green
Market) ตัง้ อยู่ในตัวเมอื งขอนแกน่ บนพน้ื ท่ี ๔๐ ไร่ อยตู่ ดิ ถนนมติ รภาพ ภายใน
มีร้านค้ากว่า ๔๐๐ ร้าน ท่ามกลางบรรยากาศร่มรื่น แถมมีสโลแกนเก๋ ๆ ด้วย
ว่า “ตลาดต้นตาล ตลาดฝันของคนมีไอเดีย” ถูกสร้างข้ึนเพื่อเป็นศูนย์รวม
ชน้ิ งานศลิ ปะ ของสะสมทแี่ ตล่ ะคนโปรดปราน สง่ิ ประดษิ ฐ์ หรอื ของทคี่ นชนื่ ชอบ
คอเดียวกัน กลุ่มเล่านิทาน กลุ่มละคร กลุ่มเต้นร�ำ กลุ่มถ่ายภาพ กลุ่มนักแสดง
เปิดหมวก กลุ่มด่ืมเพ่ือสุขภาพ และกลุ่มรถคลาสสิกบิ๊กไบค์ ฯลฯ มาโชว์
มาอวด และแลกเปลี่ยนผลงานแบบคนใจเดียวกัน อีกท้ังยังมีกิจกรรมความ
บันเทิงต่าง ๆ ที่น�ำมารวมกันบนพ้ืนที่สีเขียวอันร่มร่ืนด้วยแมกไม้มากมาย
ประกอบด้วยอาคารแฟชั่นเป็นอาคาร ๑ ชั้นครึ่ง ชั้นลอยเป็นออฟฟิศและ
ร้านเคร่ืองด่ืม นั่งชิลริมระเบียงชมวิวตลาดต้นตาลได้ทั้งโครงการ บริเวณภายใน
อาคารประกอบด้วย ร้านค้ากลุ่มแฟชั่นเสื้อผ้า เคร่ืองหนัง และเคร่ืองประดับ
ต่าง ๆ หลากหลายด้วยพ้ืนท่ีพักผ่อนและสนามเด็กเล่น ถูกออกแบบไว้ส�ำหรับ
กลุ่มครอบครัว และทุกกลุ่ม ทุกวัย
เวลาเปิด-ปิด : เปิดทุกวัน ๑๖.๐๐-๒๓.๐๐ น.
ที่ตั้ง : บ้านกอก ซอย ๘, ๑๐ และ ๑๒ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมืองขอนแก่น
จังหวัดขอนแก่น
ขอขอบคุณข้อมูลจาก
ททท., paiduaykan.com, travel.trueid.net และจังหวัดขอนแก่น
47
จัดท�ำโดย สถานสื่อสารองค์กร ส�ำนักงานอธิการบดี
บรรณาธิการ นางสาวภัทราวดี พลบุญ
ออกแบบ นายไพบูลย์ ทับเทศ
พิสูจน์อักษร นายสงกรานต์ หินอ่อน
ประสานงานการผลิต นางมยุรี สังขมาลัย
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช