The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศีลของพระและสมณวิสัย สมบูรณ์
จัดพิมพ์หนังสือเป็นธรรมบรรณาการ
โดย ดร.ศักยะ สมบัติไพรวัน
ร่วมกับ มูลนิธิธรรมสภา บันลือธรรม และเพื่อนกัลยาณมิตรทุกท่าน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by หอศิลป์ พุทธะ, 2021-06-28 05:46:35

ศีลของพระและสมณวิสัย สมบูรณ์

ศีลของพระและสมณวิสัย สมบูรณ์
จัดพิมพ์หนังสือเป็นธรรมบรรณาการ
โดย ดร.ศักยะ สมบัติไพรวัน
ร่วมกับ มูลนิธิธรรมสภา บันลือธรรม และเพื่อนกัลยาณมิตรทุกท่าน

Keywords: ศ๊ลของพระ

ศีลของพระและสมณวิสัย

แปลจากพระปาฏิโมกข์
โดย สมเด็จพระวนั รตั น์ (แดง สีลวฑฺฒนมหาเถร)

อดตี เจา้ อาวาสองค์ที่ ๓ วัดสทุ ัศนเทพวราราม กรงุ เทพมหานคร

จดั พิมพ์หนังสือเป็นธรรมบรรณาการ

โดย

ดร. ศักยะ สมบัติไพรวัน

รว่ มกบั มลู นธิ ธิ รรมสภา บนั ลอื ธรรม และเพอ่ื นกลั ยาณมติ รทกุ ทา่ น



ทม่ี ี - ทม่ี า ของ พระปาฏโิ มกขแ ปล

เมอ่ื กอ นป พ.ศ. ๒๕๓๕ มพี ระจากวดั ปากนำ้ เขตภาษเี จรญิ
กรุงเทพมหานคร ไดไปพบท่ีวัดสุทัศนเทพวราราม กรุงเทพ
มหานคร มอบหนงั สอื “พระปาฏโิ มกข - แปล” ซงึ่ เปน นพิ นธแ ปล
ของ สมเด็จพระวันรัตน (แดง สีลวฑฺฒโน) อดีตเจาอาวาส
วดั สทุ ศั น ฯ องคท ี่ ๓ เปน การถา ยเอกสารจากตน ฉบบั เพราะ
เหตวุ า ทา นอยากใหม ตี น ฉบบั ไวท วี่ ดั สทุ ศั น ฯ

ตามคำบอกเลาของพระรูปน้ี ทานบอกวา ท่ีวัดปากนำ้
มีพระฝร่ังมาบวชแลวก็คนควาหนังสือจึงไดพบหนังสือเลมน้ี
ฟง เพยี งเทา นก้ี ถ็ งึ อาการ ๒ อยา ง ณ ขณะนนั้ คอื ดใี จทพี่ ระ
ฝร่ังทานคนควา และ เศราใจท่ีเราอยูวัดสุทัศน ฯ มิไดใสใจ
ผลงานของอดตี เจา อาวาสและพระมหาเถระแตก อ นเกา ซงึ่ ทา น
ไดส รางผลงานตอ พระพุทธศาสนา จึงรับมาดว ยความสำนกึ วา
เราเปน พระวดั สทุ ศั น ฯ และเปน เลขานกุ ารเจา อาวาส ณ เวลานนั้

เมื่อไดรับมาแลวก็อาน อานแลวก็อุทานในใจวา... “ชาง
เปน พระปาฏโิ มกขท สี่ มบรู ณแ บบทส่ี ดุ และควรใหภ กิ ษุ สามเณร
ไดศึกษา และตายละ...! เราจะตองตกนรกแนแลว เพราะเรา
คดิ วา อาบตั เิ ลก็ นอ ยไมเ ปน ไร ปลงได แตแ ทจ รงิ แลว เราตกนรก
ดว ยความประมาทในอาบตั เิ ลก็ ๆ นอ ย ๆ ทป่ี ระมาทและสะสม
ทกุ วนั หรอื น!ี่ ”...

(ง)

ตอนนั้นยังจน คือ จนปจจัยที่จะจัดพิมพและจนบริวาร
คร้ันตอมา เม่ือ พ.ศ. ๒๕๓๕ จึงขอใหพระวัดพระธรรมกาย
ปทุมธานี จัดพิมพในงานมหามงคลวโรกาสที่สมเด็จบรมพิตร
สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เจริญพระชนม-
พรรษา ๖๐ พรรษา แตห นงั สอื ดี หนา แพงเกนิ ไป จงึ มไิ ดแ พรห ลาย
เทา ทคี่ วร

วนั นี้ เวลานี้ จงึ มอบหมายให สำนกั พมิ พธ รรมสภา ดำเนนิ
การจดั พมิ พจ ำหนา ยใหแ พรห ลายเพอื่ ใหภ กิ ษุ สามเณร อบุ าสก
อบุ าสกิ า ประชาชน ไดศ กึ ษาเรยี นรพู ระวนิ ยั ของพระสงฆ โดย
เขียนหนาปกไวดังท่ีเห็น เพราะเหตุผลคือ ...“ไมอยากใหพระท่ี
บวชมาลืมการเรียนรูพระวินัย จะเปนโทษ ทั้งจะพากันตกนรก
ถา เรยี นรชู า ไป แตอ าบตั เิ กดิ ขนึ้ แลว กจ็ ะไมก ลา อา นพระปาฏโิ มกข
เพราะจะเกดิ ความแสลงใจแทงใจในอาบตั ขิ องตน อยากใหอ บุ าสก
อบุ าสกิ า ประชาชน ไดซ อื้ ไปอา น เพอ่ื เมอ่ื รวู นิ ยั พระแลว จะได
ตรวจสอบพระไดท งั้ จะไดช ว ยใหพ ระไมต อ งอาบตั ิ อกี ทงั้ เพอื่ ให
พระวนิ ยั ดำรงอยสู บื ไป”...

ใครข อใหเ จา อาวาส พระอาจารย ไดร บี ใหพ ระ – เณร ที่
บวชเขา มาไดอ า นใหจ บอยา ใหเ กนิ ๓ วนั เพอื่ จะไดพ ระเณรทดี่ ไี วใ น
พระพทุ ธศาสนาใหอ บุ าสก อบุ าสกิ า ไดอ า น ไดเ รยี นรพู ระวนิ ยั สงฆ
เพื่อจะไดตรวจสอบ ตำหนิพระเณรที่ไมเครงครัดและกันความ
ประพฤติบิดเบือน หลอกลวงตนเองและพุทธศาสนิกชน เปน
การให “โยมฉลาด พระศาสนาจะเจรญิ และมน่ั คงถาวร”

(จ)

พระ – เณร รปู ใดอา นแลว แสลงแทงใจดำในบทเบอ้ื งตน
กอ็ ยา ไดเ ถยี ง และอยา ไดท งิ้ พระปาฏโิ มกขแ ปลเลม นเ้ี ลย จะพา
ตนตกต่ำในพระธรรมวินัย จะพาตนตกนรกหมกไหม จงปฏบิ ตั ิ
ใหถูกตอง เพ่ือนำพาตนเองและญาติโยมของตนเองไปสูทาง
แหง สวรรค นพิ พาน มเิ ชน นน้ั เมอ่ื ตนเองไมเ ครง ครดั ในพระวนิ ยั
ตนเองกต็ กนรกหมกไหม แลว กห็ ลอกลวงโยมบดิ า มารดา และ
โยมทศ่ี รทั ธาใหไ ปสอู บายภมู กิ นั ทง้ั สน้ิ

ในกาลใดใดท่ีพระมหาเถระและพระเถระทำบุญวันเกิด
ฉลองสมณศักด์ิ ที่นิมนตพระเณรมามาก ก็ขอใหถวายพระ-
ปาฏิโมกขแปล อีกท้ังเจาคณะผูบริหารคณะสงฆก็ควรสงเสริม
ใหแพรหลาย จะไดไมตองเสียเวลามานั่งปกครองกันดวยกฎ
มหาเถรสมาคม ระเบยี บคณะสงฆ หรอื กฎหมายบา นเมอื ง เพราะ
พระวนิ ยั จะปกครองแทนเจา คณะ พระสงั ฆาธกิ าร หรอื ญาตโิ ยม
จะทำบญุ ถวายสงั ฆทาน กค็ วรซอื้ ถวายพระสงฆ สามเณร ทกุ ครงั้
ไป เราจะไดพ ระสงฆท รงศลี เพอ่ื เปน นาบญุ ของเรา

นิพนธน้ี สมเด็จพระวันรัตน (แดง สีลวฑฺฒโน) นิพนธ
ไวต งั้ แต พ.ศ. ๒๔๔๕ แลว นบั เปน หนงั สอื ทม่ี อี ายเุ กนิ ๑๐๐ ป
สมกบั ฉายาของเจา ประคณุ วา “สลี วฑฒฺ โน” คอื เจรญิ ในศลี ไดแ ก
พระวินัย” และ “เจริญในธรรม จนถึง เจริญในสมณศักดิ์”
ควรท่ีพระภิกษุ สามเณร จะยดึ ถอื พระปาฏิโมกขแปลเปนหลัก
ปฏบิ ตั อิ ยา งเครง ครดั

(ฉ)

พระภิกษุ สามเณร ผูปฏิบัติพระวินัยอยางเครงครัด
นอกจากจะเจรญิ ในพระบวรพทุ ธศาสนาแลว แมจ ะทำอะไรก็ “ขน้ึ ”
ไปหมด คอื ...

เสก ก็ ขลงั
สอน ก็ ฟง
สงั่ ก็ เชือ่
ขอใหศึกษาดูผลของพระวินัยคือศีลในโอวาทปาฏิโมกข
(หนงั สอื สวดมนต) และ ภกิ ขอุ ปรหิ านยิ ธรรม (หนงั สอื สวดมนต)
เถิด แลวจะไดทราบผลท่ีแทจริงวา...ถาเครงครัดในศีลคือ
พระวนิ ยั ทำอะไรก็ “ขนึ้ ” ไปหมด

ตองขออนุโมทนาตอ ดร. พระมหาประสิทธ์ิ อหึสโก
เปรยี ญธรรม ๗ ประโยค วดั สทุ ศั นเทพวราราม ทรี่ บั ภาระตรวจ
แก และอนุโมทนาตอสำนักพิมพธรรมสภา ท่ีพิมพเผยแพร
จำหนา ย และอนโุ มทนาทกุ ทา นทซี่ อ้ื ถวายพระสงฆ สามเณร ขอ
ใหความศรัทธาในพระวินัย จงดลใหทานเปนคนดี มีลูกหลาน
ทไี่ มผ ดิ ศลี ธรรม กฎหมาย และไดร บั ผลคอื การยกยอ งบชู าจาก
คนท่ัวไป ดังองคพระอรหันตผูเช่ียวชาญพระวินัย คือ องค
พระอรหนั ตผ มู นี ามวา “พระอบุ าล”ี เถดิ .

พระราชวิจิตรปฏิภาณ

สารบัญ (ค)
(ช)
 ทม่ี ี - ทมี่ า ของ พระปาฏโิ มกขแ ปล (ฌ)
 สารบญั (ฒ)
 ประวตั ิ สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ โน) ๑
 การอา นภาษาบาลอี ยา งงา ย ๑๙
 ปาฏโิ มกขสงั วรศลี ๒๗
 ปาราชกิ ๔ ๓๕
 สงั ฆาทเิ สส ๑๓ ๓๙
 อนยิ ต ๒ ๖๑
 นสิ สคั คยิ ปาจติ ตยี  ๓๐ ๙๗
 ปาจติ ตยี  ๙๒ ๑๐๑
 ปาฏเิ ทสนยี ะ ๔ ๑๑๕
 เสขยิ วตั ร ๗๕ ๑๒๑
 อธกิ รณสมถะ ๗ ๑๒๖
 อินทรียสังวร ๑๒๗
 อาชวี ปารสิ ทุ ธศิ ลี ๑๒๘
 ปจ จยั สนั นสิ สติ ศลี ๑๓๐
 ปจ จเวกขณวธิ ี ๔ ๑๓๙
 ถุลลัจจัย
 ทุกกฏ

 ทพุ ภาษติ ๑๔๕
 กาลกิ บพั พ ๑๔๖
 พนิ ทุ อธษิ ฐาน วกิ ปั และปจ จทุ ธรณ ๑๔๘
 คำแสดงอาบตั ิ ๑๕๒
 ขอ ปฏบิ ตั ขิ องภกิ ษทุ จี่ ะตอ งทำ ๑๕๔
 เตอื นใจสมณะ ๑๕๙
 อภธิ านศพั ท ๑๗๐

............... ............... ...............

ประวตั ิ

สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ โน)

อดตี ทา นเจา อาวาสองคท ี่ ๓ วดั สทุ ศั นเทพวราราม

นามเดมิ แดง นามบดิ า โพธิ นามมารดา มิ
ชาตกิ าล วนั พธุ แรม ๑๓ คำ่ เดอื น ๑ ปม ะเมยี พ.ศ. ๒๓๖๕
จุลศักราช ๑๑๘๔ แหงรัชกาลท่ี ๒ บานเดิมอยู
ใกลว ดั อนิ ทาราม (วดั ใต) ปจ จบุ นั ตำบลบางยเ่ี รอื
อำเภอธนบรุ ี กรงุ เทพฯ

(ญ)

บรรพชา ณ วดั อนิ ทาราม จงั หวดั ธนบรุ ี เมอ่ื อายไุ ด ๑๓ ป
บรรพชาแลวอยูกับพระธรรมุเทศาจารย (ฉิม)
ครง้ั ยงั เปน พระอนั ดบั แลว ตดิ ตามพระธรรมเุ ทศา -
จารย (ฉมิ ) มาเรยี นพระปรยิ ตั ธิ รรม ทว่ี ดั สระเกศ
จงั หวดั พระนคร

อปุ สมบท ณ วดั สทุ ศั นเทพวราราม (ปจ จบุ นั ตำบลวดั ราชบพธิ
กรงุ เทพมหานคร) เม่อื ปข าล พ.ศ. ๒๓๘๕ โดยมี
สมเดจ็ พระพฒุ าจารย (สน) วดั สระเกศ เปน พระ
อปุ ช ฌาย มนี ามฉายาวา “สลี วฑฒฺ โน)

วทิ ยฐานะ เดมิ เปน เปรยี ญ ๔ ประโยคอยกู อ นแลว ไดเ ขา แปล
พระปรยิ ตั ธิ รรมครง้ั สดุ ทา ย เมอ่ื ปร ะกา พ.ศ. ๒๓๙๒
อายไุ ด ๒๙ ป แปลไดอ กี ๔ ประโยค รวมเปน ๘
ประโยค เปน เปรยี ญเอก.ในปท ่ี ๒๖.แหง รชั กาลท่ี ๓

สมณศกั ด์ิ - รชั กาลท่ี ๔ ปว อก พ.ศ. ๒๔๐๓
เปน พระศรสี มโพธิ

- รชั กาลท่ี ๕ ปว อก พ.ศ. ๒๔๑๕
เปน พระเทพกวี

- รชั กาลท่ี ๕ ปเ ถาะ พ.ศ. ๒๔๒๒
เปน พระธรรมวโรดม

- รชั กาลท่ี ๕ ปเ ถาะ พ.ศ. ๒๔๓๔
เปน สมเดจ็ พระวนั รตั น

(ฎ)

มสี ำเนาทที่ รงตง้ั ดงั น้ี :-

คำประกาศ
ศภุ มสั ดุ ฯลฯ (ลงวนั อาทติ ย เดอื น ๔ แรม ๘ ค่ำ ปเ ถาะ
ท่ี ๒๐ มนี าคม รตั นโกสนิ ทรศก ๑๑๐)
ทรงพระราชดำรหิ วา พระธรรมวโรดม ประกอบดว ย
สวิ รยิ าธคิ ณุ วบิ ลู ปรชี า ฉลาดรอบรใู นพระไตรปฎ กธรรมถอ งแท
ชำนาญ แลมวี จิ ติ รปฏภิ าณโวหารเทศนา คมั ภรี ภ าพไพเราะ เปน ท่ี
เลื่อมใสแกเอนกนิกรบริสัช แลประพฤติพรหมจริยาวัตร ศีล-
สมาจารเรยี บรอ ย ยงั่ ยนื สมบรู ณบ รสิ ทุ ธิ ควรนบั วา สตุ ะพทุ ธมนุ -ี
สาสนาภิรัต มีอัธยาไศรยหนักนอมไปในพระพุทธสาสนาม่ันคง
ดำรงคณุ ธรรมพเิ ศษ เปน ประธานในพระสงฆค ณะมหานกิ าย ใน
ปรตั ยบุ นั นี้ ยากทจ่ี ะมผี เู สมอเหมอื น แลไดเ ปน พระอปุ ธ ยาจารย
ใหบรรพชาอุปสมบทแกกุลบุตรเปนอันมาก เปนท่ีคารวะสถาน
แหง บรรพชติ แลคฤหสั ถช น สมควรทจ่ี ะเปน ทกั ษณิ มหาคณศิ รา-
จารย พระราชาคณะผใู หญ มอี ศิ รยิ ยศยง่ิ กวา สมณนกิ ร คามวาสี
อรญั วาสี ปก ษใ ต ทงั้ ปวงได
จงึ มพี ระบรมราชโองการมา ณ พระบณั ฑรู สรุ สงิ หนาท
ดำรสั สง่ั ใหส ถาปนา พระธรรมวโรดม เปน ท่ี สมเดจ็ พระราชาคณะ
มนี ามจารกึ ในสพุ รรณบตั รวา สมเดจ็ พระวนั รตั น ปรยิ ตั พิ พิ ฒั น-
พงศ วสิ ทุ ธสิ งฆปรนิ ายก ตรปี ฎ กโกศล วมิ ลญาณสนุ ทร มหา-

(ฏ)

ทกั ษณิ คณฤศร บวรสงั ฆาราม คามวาสี อรญั วาสี สถติ ณ วดั

สทุ ศั นเทพวรารามวรวหิ าร พระอารามหลวง เปน เจา คณะใหญ

ฝา ยใต มนี ติ ยภตั รราคาเดอื นละ ๗ ตำลงึ มถี านานศุ กั ดิ ควรตงั้

ถานานกุ รมได ๑๐ รปู คอื

พระครูปลัด สัมพิพัฒนสุตาจารย ญาณโกศล สกล-

คณนิ ทร ทกั ษณิ สงั ฆนายก ปฎ กธรรมรกั ขติ มนี ติ ยภตั รราคา

เดอื นละ ๓ ตำลงึ ๑

พระครวู นิ ยั ธร ๑

พระครวู นิ ยั ธรรม ๑

พระครธู รรมคตุ ๑

พระครพู ทุ ธบาล ๑

พระครพู รหมสร ๑

พระครอู มรศพั ท ๑

พระครสู งั ฆกจิ จารกั ษ ๑

พระครสู มหุ  ๑

พระครใู บฎกี า ๑ รวม ๑๐ รปู

ขอพระคุณซ่ึงไดรับราชทินนาม เพ่ิมอิศริยยศ แล

นติ ยภตั รในครงั้ น้ี จงจริ ฐติ กิ าล เจรญิ อายุ วรรณ ศขุ พล ปฏภิ าณ

คณุ สารศริ สิ วสั ดิ์ ในพระพทุ ธสาสนาทกุ ประการ เทอญ ฯ

(ฐ)

กิจพระศาสนาดานพระปริยัติ ไดเปดการศึกษาแผนก
บาลขี นึ้ ทว่ี ดั สทุ ศั นเทพวราราม จนเจรญิ แพรห ลาย ทงั้ เปน ประธาน
อำนวยการสอบพระปรยิ ตั ธิ รรม ณ พระอโุ บสถ วดั สทุ ศั นเทพ-
วรารามอยหู ลายป ทา นมชี อ่ื เสยี งทางสอนพระปรยิ ตั ิ ปรากฏวา
สมัยทานเปนผูอำนวยการสอนอยู มีนักเรียนตางวัดไปเรียนกัน
จนทเี่ รยี นไมเ พยี งพอ ตอ งขยายออกมาสอนทศ่ี าลาลอย ๔ หลงั
ดา นพระวหิ ารดา นเหนอื โดยจดั อาจารยส อน ๔ คน ประจำศาลาละ
๑ คน มหี ลวงอดุ มจนิ ดา (ทมิ ) เปน ตน ป พ.ศ. ๒๔๔๑ ทรงพระ
กรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหส อบพระปรยิ ตั ธิ รรมอยา งเกา และโปรดให
สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง) เปน อธบิ ดปี ระชมุ สอบ ณ พระอโุ บสถ
วัดสุทัศนเทพวราราม เปนอธิบดีอำนวยการสอบอยู ๓ ป จน
ถงึ มรณภาพเมอื่ พ.ศ. ๒๔๔๓ เมอื่ สมเดจ็ ฯ ถงึ มรณภาพ แลว
ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯ ใหพ ระวรวงศเ ธอ พระองคเ จา
อรณุ นภิ าคณุ ากร (กระจา ง อรโุ ณ เปรยี ญ ๕ ประโยค) วดั ราชบพธิ
ที่สมเด็จพระพุฒาจารย เปนอธิบดีในการสอบพระปริยัติธรรม
ประชมุ สอบ ณ วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม

ดา นการปกครอง ไดเ ปน อธบิ ดสี งฆว ดั สทุ ศั นเทพวราราม
องคท ่ี ๓ สบื ตอ จากพระพมิ ลธรรม (อน ) นบั แต พ.ศ. ๒๔๒๐ ถงึ
พ.ศ. ๒๔๔๓ ครองพระอารามหลวง ๒๓ ป ไดเ ปน เจา คณะใหญ
ฝา ยใต ราว พ.ศ. ๒๔๓๔

(ฑ)

ดา นสาธารณปู การ ไดป ฏสิ งั ขรณพ ระวหิ ารพระศรศี ากย-
มนุ ี ตลอดจนพระอโุ บสถ พระระเบยี งและเสนาสนะอน่ื ๆทวั่ วดั
สทุ ัศนเทพวราราม กับไดสรางวัดขึ้นวัดหน่ึงที่บานเดิมของทาน
ขนานนามวา “วดั โพธมิ ติ ร” โดยอนโุ ลมตามนามโยมผชู าย “โพธ”ิ
นามโยมผหู ญงิ “ม”ิ ถวายเปน อารามหลวง ปจ จบุ นั วดั นต้ี งั้ อยู
ณ ตำบลบางยเ่ี รอื อำเภอธนบรุ ี จงั หวดั ธนบรุ ี เปน พระอาราม
หลวงช้ันตรี เจาอาวาสเปนพระราชาคณะ นามวา “พระ
โพธวิ รคณุ ” (ฑรู ย)

มรณภาพ เมอื่ วนั ที่ ๕ มกราคม พ.ศ. ๒๔๔๓ จลุ ศกั ราช
๑๒๖๒ ตรงกบั วนั เสาร แรม ๑ ค่ำ เดอื น ๓ ปช วด ในปท ่ี ๓๓
แหงรัชกาลที่ ๕ สิริรวมอายุได ๗๘ ป พรรษา ๕๘ เปน
เจา อาวาสปกครองวดั สทุ ศั นเทพวราราม อยู ๒๓ ป

(ฒ)

การอา นภาษาบาลอี ยา งงา ย

๑. พยญั ชนะทใี่ ชใ นภาษาบาลนี นั้ มที ง้ั หมด ๓๓ ตวั คอื
กขคฆ ง
จ ฉชฌญ
ฏฐ ฑฒณ
ตถทธ น
ปผพภ ม
ยร ลว ส
ห ฬ ํ (อา นวา องั )

พยญั ชนะทกุ ตวั จะมสี ระ “อะ” แฝงอยู แตไ มเ ขยี นรปู สระ
ใหเ หน็ เชน

ก ข ค ฆง
อา นวา กะ ขะ คะ ฆะ งะ
ไมอ า น กอ ขอ คอ ฆอ งอ
๒. ฑ ออกเสยี งเปน “ด” เชน ปณฑฺ ติ อา นวา ปน ดติ ะ
๓. พยญั ชนะทม่ี จี ดุ ขา งใต ( พนิ ท_ุ _ฺ ) ใหถ อื วา เปน ตวั สะกด
ถา พยญั ชนะตวั หนา สะกดมสี ระอนื่ อยดู ว ย เชน

ทกุ ขฺ ติ อา นวา ทกุ -ขะ-ติ
สทิ ธฺ ิ อา นวา สดิ - ทิ
เสยฺโย อา นวา เสย-โย
๔. แตถ า พยญั ชนะตวั สะกดไมม สี ระอนื่ นอกจากถอื เปน ตวั
สะกดแลว ยงั มคี า เทา กบั ไมห นั อากาศดว ย เชน

(ณ)

อตฺถิ อา นวา อัด-ถิ
วปิ ตตฺ ิ อา นวา ว-ิ ปด -ติ
๕. พินทุท่ีอยูใตพยัญชนะบางตัว ไมไดทำหนาท่ีเปนตัวสะกด
ใหอ า นออกเสยี งเปน ตวั ควบกล้ำ เชน เดยี วกบั ภาษาไทย และออก
เสยี ง กงึ่ มาตรา เชน
กตวฺ า อา นวา กดั -ตะ-วา
พรฺ หมฺ อา นวา พรมั -มะ
เทฺว อา นวา ทะเว ไมอ า นวา เท-วะ
เตวฺว อา นวา ตะ-เว-วะ ไมอ า นวา เต-วะ-วะ
๖. สระในภาษาบาลนี น้ั มที ง้ั หมด ๘ ตวั คอื -ะ (ไมป รากฏรปู
สระ)
ดงั กลา วแลว ขอ ที่ ๑ / อา, อ,ิ อ,ี อ,ุ อ,ู เอ, โอ
ผสมกบั พยญั ชนะตวั ใด กอ็ อกเสยี งตามนนั้ เชน
อาทาย อา นวา อา-ทา-ยะ
อภริ ติ อา นวา อะ-พ-ิ ระ-ติ
จตหู ปาเยหิ อา นวา จะ-ต-ู หะ- ปา- เย- หิ
๗. นิคหิต หรือ ํ ถาอยูบนพยัญชนะ ออกเสียง “อัง” โดย
ออกเสยี งแม “กง” คอื ตวั “ง” เปน ตวั สะกด เชน
กรณํ อา นวา กะ-ระ-นงั
วจนํ อา นวา วะ-จะ-นงั
ธมมฺ ํ อา นวา ทำ-มงั
ถา อยบู นสระ อิ ใหอ อกเสยี งเปน “องิ ” เชน

(ด)

ธมมฺ จารึ อา นวา ทำ-มะ-จา-รงิ
กรึสุ อา นวา กะ-ริง-สุ
ถา อยบู นสระ อุ ใหอ อกเสยี งเปน “องุ ” เชน
กาตยํุ อา นวา กา-ตงุ
ทาตยํุ อา นวา ทา-ตงุ
พาหยํุ อา นวา พา-หงุ
๘. สระพเิ ศษ คอื เอยฺย อา นวา เอย-ยะ หรือออกเสยี งเปน
ไอ-ยะ กไ็ ด เชน
กเรยฺย อา นวา กะ-เรย-ยะ หรอื อา นวา กะ-ไร-ยะ
เสยฺโย อา นวา เสย-โย หรอื อา นวา ไส-โย
อาหเุ นยโฺ ย อา นวา อา-ห-ุ เนย-โย

หรอื อา นวา อา-ห-ุ ไน-โย
๙. สมฺ า (สะ-หมา) สมฺ ึ (สะ-หมงิ ) สฺ เปน ตวั สะกด และอา น
ออกเสยี งกง่ึ มาตรา เชน

ตสมฺ า อา นวา ตดั -สะ-หมา
ตสมฺ ึ อา นวา ตดั -สะ หมงิ
วตฺถุสฺมึ อา นวา วดั -ถดุ -สะ-หมงิ

พระราชวจิ ติ รปฏภิ าณ
ผชู ว ยเจา อาวาสวดั สทุ ศั นเทพวราราม

หมายเหตุ : อา นบาลไี ทย เพม่ิ สญั ลกั ษณ สตุ ว๎ า = อา นวา สดุ -ตะวา
คำวา ตะวา อา นเรว็ ๆ



ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 1

ปาฏิโมกขสังวรศีล

2 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

นมตถฺ ุ รตนตยฺสส๎ สฺ ขา พเจา ขอวโรกาสแตง อธศิ ลี
สกิ ขาปาฏโิ มกขสงั วรศลี ๑ไว พอใหภ กิ ษทุ บี่ วชเขา มาแลว
ไดอานใหเขาใจ ไดรูปฏิบัติ ระวังใหพนโทษ มิไดลวง
พทุ ธบญั ญตั ิ ตอ งอนั ตมิ วตั ถุ๒ และครลุ หกุ าบตั ิ๓ เปน
อาณาวีติกกมันตราย๔ จะไดขวนขวายท่ีจะศึกษาให
ชำนาญในพระวนิ ยั จะไดร ถู ถี่ ว นตอ ไป อา นฟง แลว จำได
บทใดไมเ ขา ใจสงสยั อยู ใหไ ตถ ามทา นผรู ใู หส นั ทดั จะขอ
คัดเอาแตขอความที่เปนขอสำคัญข้ึนวา ที่ควรยอก็
ยอ ไว ทค่ี วรกวา งกใ็ หก วา ง บางสกิ ขาบททภี่ กิ ษคุ ะนอง
จะตอ งอาบตั งิ า ยๆ (เพราะศลี ของภกิ ษเุ ปน อปรยิ นั ต
ปารสิ ทุ ธศิ ลี ๕ เปน ศลี ทไ่ี มม สี นิ้ สดุ อยา งนอ ย ๒๒๗
สกิ ขาบท อยา งกลางเกา โกฏเิ กา ลา นสกิ ขาบท อยา งยง่ิ
ไมม ที ส่ี น้ิ สดุ สกิ ขาบททม่ี านอกพระปาฏโิ มกขน น้ั มากนกั
ศลี สามเณรและศลี คฤหสั ถ เปน ปารยิ นั ตปารสิ ุทธิศลี ๖
สามเณรมเี พยี ง ๑๐ สกิ ขาบท ศลี ของคฤหสั ถม เี พยี ง
๘ สกิ ขาบท ๕ สกิ ขาบท เทา นน้ั ) ทา นผปู รารถนาสกิ ขาบท
ละอายแกบาปอยูแลว ตองศึกษาใหรูเขาใจ แลวจำไว
ปฏบิ ตั ิ โดยสมควรแกศ รทั ธา เทอญ.

ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 3

ปาฏโิ มกขสงั วรศลี มี ๒๒๗ สกิ ขาบท ทม่ี าสู
อเุ ทศ๗ พระสงฆทำอโุ บสถ๘ ทกุ กง่ึ เดอื น คอื ปาราชกิ ๔
สังฆาทิเสส ๑๓ อนิยต ๒ นิสสัคคิยปาจิตตีย ๓๐
ปาจิตตีย ๙๒ ปาฏิเทสนียะ ๔ เสขิยวัตร ๗๕
อธกิ รณสมถะ ๗ รวมเปน ๒๒๗ สกิ ขาบทดว ยกนั

ภิกษุตองอาบัติเขาแลวคอยหม่ันแสดงไว เปน
บญุ ใหญก ศุ ลใหญท างศาสนา เปน หนทางใหถ งึ สวรรค
นพิ พานไดเ รว็ พลนั ถา ภกิ ษตุ อ งอาบตั เิ ขา แลว ไมแ สดง
แชอ ยใู นอาบตั หิ รอื ไมเ หน็ อาบตั ิ แลว กไ็ มแ สดง ทา นวา
เปน โทษแรง บาปนนั้ ทำใหต กนรกลกึ เชน

อาบตั ทิ กุ กฏ ทพุ ภาสติ ทำใหต กถงึ สญั ชพี นรก
มอี ายยุ นื ๕๐๐ ปน รก นบั ปใ นมนษุ ยไ ดเ กา ลา นป เปน
วนั หนึ่งคนื หนง่ึ ในสญั ชีพนรก

อาบตั ปิ าฏเิ ทสนยี ะ ทำใหต กถงึ กาลสตู รนรก มี
อายยุ นื พนั ปน รก นบั ปใ นมนษุ ยไ ดส ามโกฏกิ บั หกสบิ แสน
ป เปน วนั หนงึ่ คนื หนง่ึ ในกาลสตู รนรก

อาบตั ปิ าจติ ตยี  ทำใหต กถงึ สงั ฆาฏนรก มอี ายยุ นื
ไดส องพนั ปน รก นบั ปใ นมนษุ ยไ ดส บิ สโ่ี กฏกิ บั หกสบิ แสน

4 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

ป เปน วนั หนง่ึ คนื หนง่ึ ในสงั ฆาฏนรก
อาบตั นิ สิ สคั คยิ ปาจติ ตยี  ทำใหต กถงึ โรรวุ นรก มี

อายุยืนส่ีพันปนรก นับในปมนุษยไดหาสิบเจ็ดโกฏิกับ
หกสบิ แสนป เปน วนั หนงึ่ คนื หนงึ่ ในโรรวุ นรก

อาบตั มิ หานสิ สคั คยี  ทำใหต กถงึ มหาโรรวุ นรก มี
อายยุ นื แปดพนั ปน รก นบั ปใ นมนษุ ยไ ดส องรอ ยสามสบิ
โกฏิกับสีส่ ิบแสนป เปนวันหนง่ึ คนื หนง่ึ ในมหาโรรุวนรก
มหานสิ สคั คยี น มี้ านอกพระปาฏโิ มกข ภกิ ษตุ อ งเขา แลว
รบี จดั การแกไ ข อยา ทง้ิ แชไ วน าน

อาบตั อิ นยิ ตถลุ ลจั จยั ทำใหต กถงึ ตาปนรก มอี ายุ
ยนื ถงึ หมน่ื หกพนั ปน รก นบั ปใ นมนษุ ยไ ดเ กา รอ ยยสี่ บิ เอด็
โกฏกิ บั หกสบิ แสนป เปน วนั หนง่ึ คนื หนง่ึ ในตาปนรก แต
อนยิ ตเปน อาบตั ไิ มเ ทยี่ ง ถา เพยี งปาจติ ตยี ก ม็ อี ายเุ ทา
สังฆาฏนรก ถาเพียงสังฆาทิเสสก็มีอายุเทามหาตาป
นรก ถา ถงึ ปาราชกิ มอี ายเุ ทา อเวจนี รก หรอื ไปตกอเวจี
นรกทเี ดยี ว ถลุ ลจั จยั กเ็ ปน อาบตั อิ ว นอาบตั ผิ อม ถา
อาบตั อิ ว นกต็ กนรกลกึ อายยุ นื มาก ถา อาบตั ผิ อมกต็ กตนื้
อายนุ อ ย

ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 5

อาบตั สิ งั ฆาทเิ สส ตอ งเขา แลว ไมแ กไ ข ทำใหต ก
ถงึ มหาตาปนรก มอี ายยุ นื กง่ึ กปั

อาบตั ปิ าราชกิ ตอ งเขา แลว ไมป ฏญิ าณตนเปน
คฤหสั ถห รอื สามเณร ยงั ทรงอยใู นเพศสมณะจนตาย ทำ
ใหต กถงึ อเวจนี รก มอี ายยุ นื กปั หนงึ่ ทา นเปรยี บไวว า มี
ภเู ขาสงู หนง่ึ โยชน กวา งหนง่ึ โยชน ยาวหนง่ึ โยชน รอ ยป
มเี ทวดาเอาผา เนอ้ื ดมี าปด ทหี นงึ่ จนภเู ขานนั้ เหย้ี นสกึ ลง
ราบถึงพื้นดินเม่ือไร จึงจะเรียกวากัปหน่ึงเม่ือน้ัน (แต
คัมภีรบางแหงก็วาวันเดอื นปของนรกกับสวรรคเทากัน
บางแหง วา มากกวา กนั ) ใหภ กิ ษสุ ามเณรจงสงั วรระวงั
ศลี สกิ ขาบทวนิ ยั ใหม ากๆ ถา พลาดพลงั้ ไปแลว ตกนรก
นาน

อยา เหน็ วา อาบตั ทิ กุ กฏ ทพุ ภาสติ ปาจติ ตยี 
นสิ คั คยี  เปน อาบตั เิ ลก็ นอ ย ถา ตอ งเขา แลว ตกนรกนาน
ย่ิงกวาปาราชิกก็ได เพราะปาราชิกตองเขาแลวก็ขาด
จากเปนพระ ถึงจะทำเขาอีกก็เปนบาปของคฤหัสถ
ไมเ ปน อาบตั ขิ องภกิ ษุ เมอ่ื ตอ งเขา แลว ปฏญิ าณตนเปน
คฤหัสถหรือกลับบวชเปนสามเณรรักษาศีลใหบริสุทธิ์

6 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

กย็ งั ไปสวรรคไ ด เพราะสวรรคไ มห า ม หา มแตม รรคผล
นพิ พาน ถา ทนอยใู นเพศสมณะจนตาย ถงึ ตกนรกกน็ าน
เพยี งกปั หนง่ึ หรอื นอ ยกวา แตอาบตั เิ จด็ กอง๙ ตอ งเขา
แลว ไมข าดจากเปน ภกิ ษุ จงึ ทำใหต กนรกนานถงึ หมนื่ กปั
แสนกัปก็ได

ถา ปฏบิ ตั ดิ ปี ฏบิ ตั ชิ อบใหเ ปน บญุ กศุ ลเขา กจ็ ะเกดิ
ในสวรรคแ ละมนษุ ยส คุ ติ ตง้ั หมน่ื กปั แสนกปั เหมอื นกนั
เปนสมณะน้ันคุณอนันต โทษมหันต เชน อาบัติใน
เสขยิ วตั รตอ งเขา แลว แคต วั เดยี ว แลว ไมแ สดง แชอ ยู
ในอาบัติ ถือวาเล็กนอย ก็อาจจะทำใหบาปน้ันเจริญ
งอกงามขนึ้ มากกวา ปาราชกิ กไ็ ด ถา ตอ งสองตวั ใหญ
เทา ปาฏเิ ทสนยี ะ กต็ กเลอ่ื นลงไปถงึ กาลสตู รนรก ถา
ตอ งสต่ี วั เทา ปาจติ ตยี  กต็ กเลอื่ นลงไปถงึ สงั ฆาฏนรก ถา
ตอ งถงึ แปดตวั เทา นสิ สคั คยี  กต็ กเลอ่ื นลงไปถงึ โรรวุ นรก
ถาตองมากถึงสิบหกตัวเทามหานิสสัคคีย ก็ตกลึกลง
ไปถงึ มหาโรรวุ นรก ถา ตอ งมากถงึ สามสบิ สองตวั เทา
อนยิ ต กต็ กลกึ ลงไปถงึ ตาปนรก ถา มากถงึ หกสบิ สตี่ วั เทา
สังฆาทเิ สส ก็ตกลกึ ลงไปถึงมหาตาปนรก ถา มากถึง

ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 7

รอ ยยสี่ บิ สต่ี วั เทา ปาราชกิ เขา ตกถงึ อเวจนี รก ถา มาก
กวาปาราชิกต้ังรอยเทาพันเทา แลวก็แชอยูในอาบัติ
ไมแ สดง ก็ตกอเวจนี รกนานตง้ั รอ ยกปั พนั กปั ได นเี่ ปน
แตเ พยี งอาบตั ทิ กุ กฏ ยงั ใหโ ทษมากมายถงึ เพยี งน้ี

ถา เปน ปาจติ ตยี  นสิ สคั คยี  มหานสิ สคั คยี  อนยิ ต
สงั ฆาทเิ สส ใหญย งิ่ มากขนึ้ อยา งทก่ี ลา วมาแลว นนั้ มาก
กวาปาราชิกต้ังหม่ืนตั้งแสนเทา ก็ทำใหไหมอยูในอเวจี
นรก ตงั้ หมน่ื กปั แสนกปั เหมอื นกนั เพราะพระวนิ ยั ปฏ ก
นเี้ ปน อาวธุ ทยี่ อดเยย่ี มอยา งสำคญั ทพี่ ระพทุ ธเจา ใหไ ว
แกภิกษุสามเณรอันเปนสาวกจะไดฟาดฟนบาปธรรม
อันเปนขาศึกในพระศาสนา ภิกษุสามเณรท่ีเปนพระ
สาวกมปี ญ ญา กเ็ อาอาวธุ คอื ศลี พระวนิ ยั ฟาดฟน ขา ศกึ
คือ กองอาบัตินอยใหญใหพินาศไป ก็ไปถึงสวรรค
นพิ พานไดโ ดยเรว็ ไว ภกิ ษสุ ามเณรทเ่ี ปน พระสาวกทห่ี า
ปญญามิได ก็ละทิ้งศีลและพระวินัยเสีย กลับเอากอง
อาบัตินอยใหญเปนอาวุธมาฟาดฟนตนเองใหพินาศ
ยอ ยยบั ลงไปไหมอ ยใู นอเวจนี รก เปรต อสรุ กาย สตั ว
เดรจั ฉาน จนนบั ชาตนิ บั ภพไมไ ด จนเนอื้ มากกวา แผน ดนิ

8 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

กม็ ี น้ำตาทรี่ อ งไหม ากกวา น้ำในมหาสมทุ รทงั้ สกี่ ม็ ี เพราะ
ลอุ ำนาจแกค วามปรารถนา และความอยากไดเ หน็ แก
ปากแกท อ งมากจนเกนิ ไป จงึ กลบั ไดร า ยเมอื่ ภายหลงั
ภิกษุสามเณรท้ังหลายท่ีมีปญญาอยาประมาท อยาพึง
คดิ วา อาบตั เิ ลก็ นอ ยไมท ำอนั ตราย หรอื ศลี ขาดแลว กต็ อ
เอาได ผทู หี่ มนิ่ ประมาทบาปไปตกนรกนานเคยมมี าแลว
อยา งเชน

พระวริ ชุ กะบวชในปลายศาสนาพระปรุ าณเวสภู
ทานรักษาไวแตปาราชิก ๔ นอกน้ันถือวาเปนอาบัติ
เลก็ นอ ย แลว กส็ รา งแตอ าบตั เิ ลก็ นอ ยไปจนตลอดชวี ติ
แลว เปลยี่ นแปลงพทุ ธวจนะอกี ดว ย ครน้ั ตายแลว กไ็ ป
ตกอยใู นอเวจนี รกแสนมหากปั หกสบิ สกี่ ปั จงึ เปน มหากปั
หนง่ึ เกดิ ไฟบรรลยั กลั ปไ หมก ปั ไหมแ ผน ดนิ ลมกรรมก็
หอบเอาไปไวในอเวจีนรก จักรวาลอื่นท่ีไฟบรรลัยกัลป
ไหมไ มถ งึ พอจกั รวาลอน่ื อายคุ รบ ๖๔ กปั จะเกดิ ไฟไหม
กปั เขา อกี ลมกรรมของตวั กห็ อบเอาไปไวใ นจกั รวาลอน่ื ที่
ไฟบรรลยั กลั ปไ หมย งั ไมถ งึ ตอ ๆ ไปอยา งนแี้ หละถงึ แสน
มหากัป ไมพบพระพุทธเจาถึงส่ีหม่ืนสามพันพระองค

ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 9

เพราะดหู มนิ่ วา อาบตั เิ ลก็ นอ ย กวา จะไดพ บนพิ พาน มา
สำเรจ็ เอาในศาสนาพระสมณโคดม

อีกองคช่ือกปลภิกษุ บวชในศาสนาพระพุทธ-
กัสสปะนั้น ทรงพระไตรปฎกไดดวย ก็ดูหม่ินอาบัติ
เล็กนอยเปนอาจิณณกรรม๑๐ ไปจนตลอดชีวิต และ
เปล่ียนแปลงพุทธวจนะดวย พอตายไปตกอยูในอเวจี
นรกนนั้ กปั หนง่ึ ครน้ั มาถงึ ศาสนาพระสมณโคดม มา
เกดิ เปน ปลาทองอยใู นแมน ำ้ อจริ วดี ตายจากปลาทองก็
กลบั ไปเกดิ ในอเวจนี รกอกี แลว จะไปไหมอ ยอู เวจนี รกอกี
สกั กหี่ มน่ื กแี่ สนกปั กไ็ มม ใี ครรู เพราะพระพทุ ธเจา กไ็ มไ ด
ตรัสพยากรณไว

ภิกษุสามเณรเห็นจะไปตกนรกกันนับไมถวน
เพราะดหู มนิ่ ศลี ดหู มนิ่ วนิ ยั กนั มากนกั ทท่ี า นกลา วไว
ในบาลวี า ในศาสนาพระกกสุ นั โธ พทุ ธบรษิ ทั ไปสวรรค
หมดทง้ั ๔ สว น ไมม ไี ปนรกเลย เพราะทำความดที ง้ั นน้ั
ในศาสนาพระโกณาคมน พทุ ธบรษิ ทั ไปสวรรค ๓ สว น
ไปนรก ๑ สว น เพราะทำความดมี ากกวา ทำชวั่ ในศาสนา
พระพทุ ธกสั สปะ พทุ ธบรษิ ทั ไปสวรรค ๒ สว น ไปนรก

10 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

๒ สว น เพราะทำดคี รงึ่ หนงึ่ ทำชว่ั ครง่ึ หนง่ึ ในศาสนา
พระสมณโคดม พทุ ธบรษิ ทั ไปสวรรค ๑ สว น ไปนรก
ถงึ ๓ สว น เพราะกเิ ลสหนาปญ ญาหยาบ ไมเ ชอื่
พระธรรมคำสงั่ สอนของพระพทุ ธเจา ทำแตค วามชวั่
กนั มากกวา ทำความดี จงึ ตกนรกมากกวา ไปสวรรค เชน
ภกิ ษบุ วชเขา แลว ดหู มน่ิ วา อาบตั เิ ลก็ นอ ยจะไมท ำอนั ตราย
กส็ รา งแตอ าบตั เิ ลก็ นอ ยเปน อาจณิ ณกรรมแลว ไมแ สดง
แชอ ยใู นอาบตั จิ นสกึ ไปกม็ ี แชอ ยใู นอาบตั จิ นตายไปจาก
เพศภกิ ษกุ ม็ ี สามเณรเลา บวชแลว กป็ ระมาทวา ศลี ขาด
แลวตอได ก็ปลอยใหศีลขาด แลวก็แชอยูในบาปน้ัน
นาน ๆ จงึ จะตอ ศลี สกั ที

บวชเขามาแลวก็ไดแตบาปใหญกรรมใหญ บุญ
เกดิ ขน้ึ ไมไ ดส กั ที พอบญุ เกดิ ขนึ้ จะงอกงามเขา กค็ อย
เอาบาปทำลายลา งเสยี หมดแลว บญุ จะมมี ากไดอ ยา งไร
เหมอื นอยา งดนิ พอกหางหมู มแี ตม ากขน้ึ ทกุ ที เชน ภกิ ษุ
ตองอาบัติ สามเณรศีลขาดแลวจะไปทำบุญกุศล เชน
ไหวพระสวดมนตสักเทาไร บุญกุศลไมเกิดขึ้นไดเลย
เพราะบาปปดบังไว ถึงจะทำไปก็เหน่ือยเปลา เปรียบ

ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 11

เหมอื นตอไมท เี่ ฉพาะนงั่ ไดค นเดยี ว เมอ่ื มบี คุ คลขน้ึ นงั่ อยู
กอ นแลว คนอน่ื จะขนึ้ ไปนงั่ อกี ไมไ ด ตอ เมอื่ ใดคนทนี่ ง่ั
อยกู อ นลกุ ไปแลว คนอน่ื จงึ จะขน้ึ นงั่ ได ฉนั ใดกด็ ี เปรยี บ
ภิกษุสามเณรแสดงอาบัติและตอศีลทำศีลใหบริสุทธ์ิ
ขน้ึ กอ น ฆา บาปทม่ี อี ยใู หห ลดุ ไปแลว นน่ั แหละ สวดมนต
ไหวพ ระบญุ กศุ ลจงึ จะเกดิ ขน้ึ ได

อยา งภกิ ษบุ วชเขา แลว กนิ กอ นขา วของชาวเมอื ง
ทเี่ ขาใหด ว ยศรทั ธา แลว ปลอ ยใหต อ งอาบตั เิ ลก็ นอ ยอยู
บอยๆ สามเณรก็ศีลขาดบอยๆ แลวก็แชอยูในอาบัติ
แลบาป ไมแกไข ทำศีลของตัวใหเศราหมองอยูร่ำไป
อยางนี้ก็ชื่อวา บวชโกงตัวเอง บวชเพื่อหลอกลวง
ชาวบา น ทช่ี าวบา นเขา ใจวา มศี ลี บรสิ ทุ ธิ์ หลงไหวห ลง
กราบก็ไดช่ือวา โกหกผูอื่น แลวก็ออกอบุ ายหาเงนิ หา
ทองนอ มลาภเขา ตวั ประจบประแจงคฤหสั ถ เพอื่ มงุ ลาภ
พวกน้ี บวชประพฤตติ นเปน โจรปลน พระศาสนา ทำบาป
ในทล่ี บั ตา เกย้ี วสกี า กนิ เหลา กนิ ขา วค่ำ ถา เปน เณร
สกึ เสยี ดกี วา หรอื ตายเสยี ไมไ ปตกนรกนาน ถา เปน ภกิ ษุ
เปน ปาราชกิ หรอื โจนเขา กองไฟตายเสยี ดกี วา ไมต อ ง

12 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

ไปตกทุกขอยูในนรกนาน
เหตใุ ดจงึ วา เปน ปาราชกิ ดกี วา เพราะวา ปาราชกิ

เปนอาบัติหมดฤทธ์ิหมดเดชแลว เปรียบเหมือนตาล
ยอดดว น หรอื คนหวั ขาด มฉิ ะนน้ั กข็ า วคว่ั เสยี แลว จะ
เอามรรคผลอะไรกไ็ มไ ดอ กี แลว แตว า ยงั ไมห า มสวรรค
หา มแตน พิ พาน ถา ปฏญิ าณตนเปน คฤหสั ถร กั ษาศลี หา
ศีลแปด หรือบวชเปนสามเณร ทำศีลใหบริสุทธิ์ก็ยัง
ไปสวรรคไ ด พวกภกิ ษทุ เี่ ปน ปาราชกิ ไดบ าปมาก กพ็ วก
ท่ีไมสึก ทนอยูในเพศสมณะ แลวก็เขารวมอุโบสถ
สงั ฆกรรมกบั หมสู งฆ มนั จงึ บาปมาก แตถ งึ อยา งนนั้ ก็
ตกนรกนานเพียงกัปหน่ึงหรือนอยกวากัปหนึ่ง เพราะ
ปาราชกิ ตอ งเขา แลว ถงึ จะเสพเมถนุ อกี สกั รอ ยพนั ครงั้
มนั กไ็ มเ ปน อาบตั แิ ลว จะเปน กแ็ ตบ าปของคฤหสั ถ เชน
อทนิ นาทานกบั มนสุ สวคิ คหะ๑๑ เทา นน้ั ในสงั ฆาทเิ สส
๑๓ ไมเ ปน เลย ในอนยิ ต ๒ นสิ คั คยี  ๓๐ ในปาจติ ตยี 
๙๒ ไมเ ปน อาบตั เิ ลย เปน แตบ าปของคฤหสั ถอ ยู ๓ ขอ
คอื ฆา สตั ว โกหก กนิ เหลา เทา นน้ั

ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 13

ในพระปาฏโิ มกข ๒๒๗ นนั้ ภกิ ษทุ เ่ี ปน ปาราชกิ
แลวไปทำเขา ก็เปนบาปของคฤหัสถอยู ๕ ขอเทาน้ัน
ปาราชกิ นหี้ า มอยแู ตม รรคผลนพิ พานเทา นนั้ สว นสวรรค
นรกไมหาม อนันตริยกรรม๑๒ อยางที่พระเทวทัตทำ
โลหิตุปบาท สังฆเภทนั้นหามทั้งสวรรคนิพพาน นรก
ไมหาม ถึงอยางน้ันก็ไปตกนรกนานอยูไดกัปหรือกวา
กัปเทานั้น ที่จะไปนรกนานต้ังหม่ืนกัปแสนกัป เหมือน
อยา งอาบตั เิ ลก็ นอ ยหาไดไ ม เพราะอาบตั เิ ลก็ นอ ยภกิ ษุ
ตอ งเขา แลว ไมข าดจากภกิ ษุ อาบตั ปิ าราชกิ เปน รากแกว
เหมือนอยางไมเปน มีแตจะแตกกิ่งแตกกานผลิดอก
ออกผลไมส นิ้ สดุ นรกกไ็ มห า ม สวรรคก ไ็ มห า ม จนกระทงั่
นพิ พานกไ็ มห า ม จะสรา งแตอ าบตั แิ ลว กแ็ ชอ ยใู นอาบตั ิ
ไมแ สดงกนั เอาแตบ าปลว น ๆ ใหไ ปตกนรกนาน ๆ สกั
หมนื่ กปั แสนกปั กไ็ ด หรอื จะทำใหถ งึ วมิ ตุ ตหิ ลดุ พน เขา ถงึ
นพิ พาน ไมก ลบั มาสโู ลกมนษุ ยอ กี เลยกไ็ ด

ในพระพทุ ธศาสนาของพระพทุ ธเจา องคหนง่ึ ๆ
สตั วท เ่ี กดิ มาพบแลว จะกอ สรา งจะทำอะไรไดท กุ อยา ง
จะใหไปเกิดในสวรรคหรือนรก หรือจะทองเที่ยวอยูใน

14 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

มนุษยโลก หรือจะไปใหถึงนิพพานหรือโลกันตไดท้ังนั้น
อยา งภกิ ษบุ วชเขา แลว รกั ษาแตป าราชกิ ๔ นอกนน้ั ปลอ ย
ตามเร่ือง สามเณรบวชแลวปลอยใหศีลขาดเนือง ๆ
ไมส งั วรระวงั กนั บวชอาศยั ศาสนาหากนิ กนั อยา งนนั้
กเ็ ทา กบั สรา งใหต วั ไปตกนรกนาน ๆ หรอื ไปโลกนั ตน รก
ทีเดียว

น่ีเปนเพราะเหตุเขาใจผิด คิดวารักษาไวแต
ปาราชกิ ๔ พอไมใ หข าดจากความเปน พระกแ็ ลว กนั แต
ทไี่ หนได อาบตั เิ ลก็ ๆ นอ ย ๆ กลบั รา ยกวา ปาราชกิ หลาย
เทา เปรยี บเหมอื นเงนิ เหรยี ญเฟอ ง ถา สองอนั มนั กเ็ ทา กบั
สลงึ ถา สอ่ี นั กเ็ ทา กบั สองสลงึ ถา แปดอนั เทา กบั เงนิ บาท
ถา สบิ หกอนั หรอื ๓๒ อนั ๖๔ อนั ๑๒๘ อนั มนั กม็ าก
กวา เงนิ บาทหลายเทา ถา มากถงึ รอ ยถงึ พนั หรอื ตงั้ หมน่ื
แสนขึ้นไป มันก็มากกวาบาทหลายรอยหลายพันเทา
เหมอื นอยา งอาบตั เิ ลก็ นอ ยเหมอื นกนั ถา มากถงึ แสน
ตงั้ ลา นตวั เขา มนั กม็ ากกวา ปาราชกิ หลายรอ ยหลายพนั
เทา จงึ ไปตกนรกนาน ๆ ตงั้ รอ ยกปั พนั กปั เปน ภกิ ษุ
สามเณรยังอดทำบาปไมได ก็สึกออกไปเปนคฤหัสถ

ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 15

ทำบาปดกี วา ไมไ ปตกนรกนานอยา งภกิ ษสุ ามเณร เชน
ฆา สตั วอ ยา งเดยี วกนั คฤหสั ถฆ า เปน พนั ๆ ภกิ ษฆุ า ตวั
เดยี วกย็ งั ไดบ าปมากกวา คฤหสั ถเ ปน ไหน ๆ หรอื อยา ง
เชน ทำบญุ กเ็ หมอื นกนั คฤหสั ถจ ะทำใหม ากมายสกั ปานใด
กส็ ภู กิ ษสุ ามเณรทำนดิ หนอ ยกไ็ มไ ด คฤหสั ถท ไี่ มร จู กั บาป
บญุ คณุ โทษ ไมร จู กั เคารพบดิ ามารดา ครบู าอาจารย
ดถู กู ดหู มน่ิ มาตงั้ แตห นมุ จนแก บาปกม็ ากอยแู ลว แต
ยังไมเทาภิกษุสามเณรที่ไมเคารพซ่ึงกันและกัน ดูถูก
ดหู มนิ่ กนั ครหู นงึ่ กไ็ มไ ด หรอื อยา งภกิ ษสุ ามเณรทลี่ ว ง
อุปจาร เชน ใสเ กือก กน้ั รม หม ผา คลมุ สองบา เขา ไป
ภายในอปุ จารพระสงฆ๑๓ ภายในแดนสมี า๑๔ กด็ ี แดน
พระสงฆท แี่ กก วา ตงั้ แตส ามพรรษาขน้ึ ไปกด็ ี เพยี งสศ่ี อก
เทานั้น ก็ช่ือวาลวงอุปจารพระสงฆ แดนเจดียนั้นหก
ศอก แดนศรีมหาโพธิน้ันแปดศอก แดนพระพุทธรูป
สบิ สองศอก ถา ภกิ ษสุ ามเณรใสเ กอื ก กน้ั รม หม คลมุ
สองไหลเ ขา ไปภายในกำหนดน้ี ชอื่ วา ลว งอปุ จารทงั้ นนั้
ไมเ คารพพระศาสนา ดหู มนิ่ พระรตั นตรยั โดยตรง เปน
โจรปลน พระศาสนาไดบ าปอนั ยงิ่ ใหญ คฤหสั ถไ มเ คารพ

16 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

ตง้ั แตห นมุ จนแก กย็ งั สภู กิ ษสุ ามเณรครหู นงึ่ ไมไ ด บวช
ในพระพทุ ธศาสนาเปน บญุ ลาภอนั ยงิ่ ใหญ ฉะนนั้ อยา
ทง้ิ บญุ ลาภไปเอาอปั ลาภเสยี เลย เพราะภกิ ษสุ ามเณร
อาจจะทำใหพ ระศาสนาเสอ่ื มกไ็ ด จะทำใหเ จรญิ กไ็ ดต าม
ปรารถนา ผูท่ีทำใหพระศาสนาเจริญน้ันไดอานิสงส
เปน อนั มาก เชน

ผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบอยางพระภิกษุองคหน่ึง
บวชอยใู นศาสนาพระสเุ มธสมั มาสมั พพุ ทธเจา บวชเขา
แลว กต็ ง้ั ใจสงั วรระวงั ศลี ตอ งอาบตั เิ ขา แลว กค็ อยหมน่ั
แสดงใหบ รสิ ทุ ธอ์ิ ยเู สมอ บวชอยเู จด็ พรรษา แลว กส็ กึ
ออกไปเปน คฤหสั ถร กั ษาศลี หา ศลี แปด และอโุ บสถศลี
เพม่ิ เตมิ บญุ ทบ่ี วชไวจ นตลอดชวี ติ

ครนั้ ตายแลว กไ็ ดไ ปเกดิ ในดสุ ติ เทวโลก มอี ายยุ นื
ส่ีพันปทิพย นับปมนุษยไดสิบเจ็ดโกฏิกับหกสิบแสนป
แลวก็จุติข้ึนไปเกิดช้ันนิมมานรดี มีอายุยืนไดแปดพัน
ปท พิ ย นบั ปม นษุ ยไ ดส องรอยสามสบิ โกฏกิ บั สสี่ บิ แสนป
แลวก็จุติข้ึนไปเกิดในปรนิมมิตวสวัตดี มีอายุยืนหม่ืน
หกพนั ปท พิ ย นบั ปม นษุ ยไ ดเ กา รอ ยสบิ เอด็ โกฏกิ บั หกสบิ

ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 17

แสนป แลวจุติขึ้นไปเกิดในชั้นจาตุมหาราชิกาสวรรค
ชน้ั ตน อกี มอี ายยุ นื หา รอ ยปท พิ ย นบั ปม นษุ ยไ ดเ กา ลา นป
แลว จตุ ขิ นึ้ ไปเกดิ ในชนั้ ดาวดงึ ส มอี ายยุ นื ไดพ นั ปท พิ ย
นับปในมนุษยไดสามโกฏิกับหกสิบแสนป แลวจุติขึ้นไป
เกิดในชั้นยามา มีอายุไดสองพันปทิพย นับปในมนุษย
ไดสิบส่ีโกฏิกับหกสิบแสนป แลวก็จุติขึ้นไปเกิดในช้ัน
ดุสิตจนเต็มอายุ แลวลงมาเกิดในช้ันยามา ดาวดึงส
จาตุมหาราช กลับข้ึนกลับลงในสวรรคหกชั้นส้ินกาล
ชา นาน พอถงึ กปั วนิ าศกจ็ ตุ ขิ นึ้ ไปเกดิ ในพรหมโลก พอตง้ั
กปั ขน้ึ ใหม หมดอายใุ นพรหมโลก กจ็ ตุ ลิ งมาเกดิ ในสวรรค
หกช้ันอีก ทานทองเท่ียวอยูในสวรรคและพรหมโลก
น้ันชานานถึงสองหม่ืนกัปแลว ยังไมไดกลับมาเกิดใน
มนษุ ยโลกนอ้ี กี เลย

ทา นบวชอยเู จด็ พรรษาเทา นนั้
ยังไดไปชมทิพยสมบัติถึงเพียงน้ี
เพราะปฏิบัติดีปฏิบัติชอบน้ันใหผล
จะปวยกลาวไปไยถึงผูปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ
ทอ่ี ยไู ปจนตลอดชวี ติ เลา

18 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

ภกิ ษสุ ามเณรทงั้ หลาย . . .
จงชว ยกนั รกั ษาพระวนิ ยั
อนั เปน รากแกว ของพระศาสนาไวใ หม น่ั คง
จะเปน ผลานสิ งสอ นั มากในชาตหิ นา ๆ
ตอ แตน ไ้ี ปจะไดก ลา วในเรอ่ื งวนิ ยั สกิ ขาบทตอ ไป

ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 19

ปาราชกิ ๔

20 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

ปาราชกิ ๔ คอื

เมถนุ ปาราชกิ ๑
อทนิ นาทานปาราชกิ ๑
มนสุ สวคิ คหปาราชกิ ๑
อตุ ตรมิ นสุ สธรรมปาราชกิ ๑
เปน ๔ สกิ ขาบท ฉะนี้
๑. เมถุนสิกขาบทที่หนึ่ง พุทธบัญญัติหามมิให
เสพเมถุนธรรม ภิกษุรูปใดไมบอกคืนสิกขาบท ยัง
ปฏญิ าณตนวา เปน ภกิ ษมุ าเสพเมถนุ คอื ใหอ งคชาตเขา
ไปในทวารทงั้ ๓ คอื ทวารหนกั ๑ ทวารเบา ๑ ปาก ๑
ของมนษุ ยแ ละอมนษุ ย คอื เทวดา ยกั ษ เปรต ผี ปศ าจ
และสตั วเ ดรจั ฉานทง้ั หญงิ ชาย ตวั ผตู วั เมยี เปน ๓ จำพวก
ดวยกนั แมว า ภิกษุเสพเมถนุ ในซากศพทม่ี ที วารทั้ง ๓
นนั้ อนั สตั วก ดั กนิ เสยี ยงั ไมค รงึ่ หนงึ่ กด็ ี ภกิ ษใุ หผ อู น่ื ใส
องคชาตเขาไปในทวารหนักและปากของตนก็ดี ภิกษุ
หลังออนกมลงอมองคชาตของตนเองก็ดี ภิกษุที่มี
องคชาตยาวจบั องคชาตแหยแ ยงเขา ไปในทวารหนกั ของ
ตนเองกด็ ี อาการเหลา นช้ี อื่ วา เสพเมถนุ ทง้ั สน้ิ

ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 21

ภิกษุเสพเมถุนในทวารท้ัง ๓ ดังกลาวนั้น ให
องคชาตเขา ไปในทวารทง้ั ๓ ตอ งทชี่ มุ ประมาณเมลด็ งา
หนง่ึ เปน ทส่ี ดุ ภกิ ษนุ นั้ เปน ปาราชกิ

๒. อทนิ นาทานสกิ ขาบททส่ี อง พทุ ธบญั ญตั หิ า ม
มิใหลักทรัพยสิ่งของท่ีเจาของหวงแหน มิไดอนุญาต
ยอมให ภกิ ษมุ ไี ถยจติ ๑๕ คดิ จะขโมย ลว ง ลกั เบยี ดบงั
ฉอ ตระบดั ปลน สะดม ขม เหง แยง ยอ้ื ลอบรบิ ถอื เอา
พสั ดสุ งิ่ ของทเ่ี จา ของหวงแหน ควรแกร าคา ๕ มาสก
ทเี่ รยี กวา หนง่ึ บาทของชาวมคธขน้ึ ไป คดิ เปน ราคาทอง
หนกั ๒๐ เมลด็ ขา วเปลอื ก ทอนลงเปน เงนิ สองสลงึ เฟอ ง
กับหากล่ำในสยามประเทศนี้ ลักเองก็ดี ใหผูอ่ืนลักก็ดี
ภกิ ษนุ น้ั เปน ปาราชกิ

ในอทินนาทานนี้ ใชเฉพาะแตลักขโมยนำเอา
ของ ๆ ทา นมาเทา นน้ั เมอื่ ไร อนั การทำประโยชนข องทา น
ใหต กไป กเ็ ปน อทนิ นาทานเหมอื นอยา งยยุ งทาสของทา น
ใหห นไี ปจากเจา เงนิ กด็ ี ทาสทา นหนไี ปชที้ างบอกตำแหนง
ทใ่ี หห นไี ปใหพ น หรอื จะเสยี ดสอ ใหเ จา เงนิ ไปจบั ตวั มาได
กด็ ี อาการเหลา นจี้ ดั เปน อทนิ นาทานทงั้ สนิ้

22 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

อนง่ึ แมว า ของ ๆ ตนทจ่ี ำตอ งเสยี คา ภาษตี ลอด
ดานขนอน เบียดบัง ซอนเรนไปใหพนเขตดานหรือจะ
ขนื ขดั ไมเ สยี ใหผ ทู เี่ รยี กทอดอาลยั กด็ ี หรอื จะชว ยคมุ ให
แกญ าตโิ ยมพวกพอ งดว ยเลศนยั อบุ ายใหผ เู รยี กเขา ใจ
วา เปน ของพระสงฆก ด็ ี เหลา นเ้ี รยี กวา สงุ กฆาตะ๑๖ จดั
เปน อทนิ นาทานเหมอื นกนั

อนง่ึ ของทที่ ายกจะใหด ว ยสลาก เมอื่ จบั ถกู ชอ่ื
วตั ถสุ ง่ิ ของทตี่ นไมช อบใจ ซอ นทง้ิ สลากนน้ั เสยี แลว จบั
ใหม ก็ไมทดแทนทอนราคากันลงได คงปลงอวหาร๑๗
ตามราคาสลากทจี่ บั ใหมน นั้ เอง แมสลากภตั ๑๘ ทป่ี ก ชอ่ื
ภกิ ษรุ ปู อนื่ แลว แลชกั ธงชอื่ ทา นเสยี แลปก ธงชอื่ ของตน
หรือธงช่ือพระภิกษุพวกของตัวลง ก็เปนอทินนาทาน
เชน เดยี วกนั

อน่ึง ภิกษุเบียดเสียดปกที่แดนดินที่มีเจาของ
หวงแหน ใหลวงลำ้ เขาไปในเขตแดนของทาน แม
ประมาณเสน ผมหนงึ่ กเ็ ปน อทนิ นาทาน ภกิ ษใุ หป ระโยชน
ของทา นตกไป ดว ยอาการดงั วา มาน้ี พอครบราคาสอง
สลงึ เฟอ งกบั หา กลำ่ เมอื่ ใด กเ็ ปน ปาราชกิ เมอ่ื นน้ั

ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 23

๓. มนสุ สวคิ คหสกิ ขาบททสี่ าม พทุ ธบญั ญตั หิ า ม
มใิ หฆ า มนษุ ยใ นครรภ นอกครรภ ภกิ ษรุ ปู ใดรวู า มนษุ ย
มชี วี ติ คดิ แกลง จะฆา ใหต ายดว ยอบุ ายตา ง ๆ จำเดมิ แต
ประกอบยาใหห ญงิ มคี รรภก นิ ใหค รรภค อื สตั วท เี่ กดิ ใน
ทอ งมารดา ตงั้ แตแ รกตงั้ ปฐมวญิ ญาณใหต กไป ฆา ดว ย
มอื ตนกด็ ี ใชใ หผ อู น่ื ฆา กด็ ี หรอื วางศสั ตราวธุ ไวใ กล เพอื่
จะใหเ ขาฆา กนั ตายกด็ ี หรอื แกลง พรรณนาคณุ ความตาย
ใหเ ขาเกลยี ดหนา ยรา งกาย ไมเ สยี ดายชวี ติ ฆา ตวั ตาย
เสยี กด็ ี หรอื ชกั ชวนใหถ อื เอาถอ ยคำของตนวา ทา นอยู
ทนทุกขลำบากไปตองการอะไร ตายเสียดีกวาอยูดังนี้
ถาเขาฆาตัวตายตามคำก็ดี หรือแกลงหลอกหลอนให
เขาตกใจตายกด็ ี เมอ่ื คดิ จะใหม นษุ ยต ายแกลง ประกอบ
อบุ ายตา ง ๆ สมตามความคดิ ของตนไดแ ลว ชอื่ วา เปน อนั
ฆา มนษุ ยต ายทง้ั สนิ้ ภกิ ษแุ กลง ใหม นษุ ยต ายดว ยอบุ าย
ตา ง ๆ ดงั วา มาน้ี ภกิ ษนุ น้ั เปน ปาราชกิ

๔. อตุ ตรมิ นสุ สธรรมสกิ ขาบททส่ี ี่ พระพทุ ธ-
บญั ญตั หิ า มมใิ หอ า งอวดอตุ ตรมิ นสุ สธรรม๑๙ ทไ่ี มม ใี นตน
ภกิ ษรุ ปู ใดไมร ไู มเ หน็ ไมไ ด ไมถ งึ ไมไ ดต รสั รู แตเ ปน คน

24 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

ใจบาป อยากจะไดลาภสักการะ จะใหมีผูสรรเสริญ
เลอื่ งลอื ชอ่ื คณุ กลา วอวดซงึ่ ธรรมของมนษุ ยผ ยู ง่ิ ดว ย
คณุ ทางมหรคต๒๐ แลโลกตุ ตระ๒๑ ใหน อ มเขา มาสตู น คอื
ความรูเห็นดวยปญญาอันอาจกำจัดกิเลส คืออวดวา
“ขา ไดถ งึ ฌาน๒๒ ถงึ วโิ มกข๒๓ ขา ไดถ งึ สมาธิสมาบตั ิ๒๔
ขา ไดบ รรลไุ ตรวชิ ชา๒๕ มรรคภาวนา ขา ทำใหแ จง อรยิ ผล
ขา ละกเิ ลสเสยี ได จติ ของขา ปลดเปลอ้ื งจากราคะ โทสะ
โมหะ ขา ยนิ ดจี ะอยใู นเรอื นวา งเปลา เปน ทส่ี งดั พอใจพกั
อยดู ว ยฌาน ขา ไดฤ ทธจิ์ ะทำอะไรกส็ ำเรจ็ ดว ยใจ รใู จ
สตั ว ระลกึ ชาตไิ ด ขา ไดต าทพิ ย หทู พิ ย เปน ผสู นิ้ กเิ ลส”
อวดคุณวิเศษท่ีไมมีในตนใหมนุษยเชื่อถือ แมจะใชเลห
อุบายเปรียบปรายแสดงกายวิการเปนเลศกระหยิบตา
พยกั หนา เปน ตน ใหส งั เกตสำคญั ตนวา ไดค ณุ วเิ ศษดงั วา
มานก้ี ด็ ี เมอ่ื มนษุ ยเ ชอื่ ถอื ตามความคดิ ของตนในขณะนนั้
แลว ภกิ ษนุ นั้ เปน ปาราชกิ

เวนไวแตสำคัญวาได วาถึง ก็ไมมีโทษ เพราะ
ไมแ กลง อวด แมก ลา วมสุ าวา “ขา นงั่ ธรรมเขา บำเพญ็
ไดเ หน็ สวรรคห รอื นรก เหน็ ผมู ชี อื่ คนนน้ั ๆ ไปบงั เกดิ บน

ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 25

สวรรค มสี มบตั อิ ยา งนน้ั หรอื ผมู ชี อ่ื คนนนั้ ๆ ไปบงั เกดิ
ในนรก เปรต อสรุ กาย ทนทกุ ขเวทนาอยา งนน้ั ๆ” คำ
อวดอา งนงั่ ภาวนาเชน นี้ เจอื เขา ในมหรคตและอภญิ ญา๒๖
เหน็ วา เปน อนั ไมพ น อวดอตุ ตรมิ นสุ สธรรม คนทเี่ ขลา ๆ
กเ็ ชอ่ื งา ย ๆ ทา นผรู กั ใครใ นสกิ ขาจงระวงั รกั ษาตวั ให
จงดี เทอญ

ปาราชกิ ๔ น้ี ภกิ ษตุ อ งแตอ ยา งใดอยา งหนง่ึ
กช็ อ่ื วา เปน บคุ คลพา ยแพแ กพ ระพทุ ธศาสนา
ไมไ ดอ ยรู ว มกจิ กรรมกบั ดว ยภกิ ษตุ อ ไปไดอ กี แลว
ถึงจะปฏิญาณตนและอุปสมบทใหม
ก็ไมเปนภิกษุไดอีกแลว
ตายแลวเท่ียงแทท่ีจะไปบังเกิดในอบาย๒๗
เปน แนน อน อยา สงสยั เลย
ใหผ ูอ ปุ สมบทพงึ รกั ษาตัวใหจ งดี
อยาใหเสียทีท่ีไดเกิดเปนมนุษย
ไดบ วชในพระพทุ ธศาสนา

ปาราชกิ ๔ ขอ น้ี
กลา วความพอเปน ทกี่ ำหนดไวเ ทา น้ี

26 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 27

สงั ฆาทเิ สส ๑๓ สกิ ขาบท

28 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

๑. สญั เจตนกิ สกิ ขาบท ความวา ภกิ ษอุ นั กำหนดั
แกลง ทำใหน ้ำอสจุ เิ คลอื่ นออกมา ประกอบความเพยี รจบั
กำ ครดู สี ลบู คลำองคชาต หรอื หนบี ในระหวา งขา หรอื
เดง ดนั เดา ในทอ นผา แลทม่ี ชี อ ง และทว่ี า งเปลา เปน ตน กด็ ี
ใหนำ้ อสุจิเคล่ือนออกจากลำกลององคชาตสักหยด
หยาดหนงึ่ ตอ งอาบตั สิ งั ฆาทเิ สส เวน ไวแ ตน อนหลบั ฝน
เหน็ เมอ่ื เวลาหลบั ไมม โี ทษ แตพ อตน่ื ฟน ขน้ึ ถา พลอย
เพยี รซำ้ เมอื่ กำหนดั มพิ น โทษ

๒. กายสงั สคั คสกิ ขาบท ความวา ภกิ ษมุ จี ติ
กำหนัดในการจะสัมผัสตองกายหญิงมนุษย มาจับมือ
จบั มวยผม จบั ผา หม จบั นม จบั แกม เคลา คลงึ จบู กอด
หญงิ มนษุ ย ตอ งอาบตั สิ งั ฆาทเิ สส

๓. ทฏุ ลุ ลวาจสกิ ขาบท ความวา ภกิ ษมุ จี ติ
กำหนัดนอมในกาม พึงกลาวคำช่ัวหยาบ เก้ียวพาน
แทะโลมหญิงดังชายหนุมอันเกี้ยวพานหญิงสาว กลาว
แทะโลม ถากถางโดยทางเมถนุ มาเจรจาเปรยี บปราย
เฉพาะทวารหนกั ทวารเบา พดู ถงึ การชำเราใหห ญงิ ไดย นิ
แมจ ะทกั ทายวา สง่ิ อน่ื ๆ วา สงิ่ นนั้ สง่ิ น้ี สแี ดง สดี ำ สเี ขยี ว

ศลี ของพระและสมณวสิ ยั 29

สขี าว วา ขนยาว ขนดก วา ทางรก ทางเตยี น ทางแคบ
ทางกวา ง เปน ตน กด็ ี แตจ ติ มงุ เอาทลี่ บั ของหญงิ หญงิ
รอู ธบิ ายของภกิ ษขุ ณะเมอ่ื กลา วนนั้ ภกิ ษกุ ลา วคำหยาบ
เชน นี้ ตอ งอาบตั สิ งั ฆาทเิ สส

๔. อตั ตกามปารจิ รยิ สกิ ขาบท ความวา ภกิ ษมุ ี
จติ กำหนดั นอ มไปในกาม พงึ กลา วคำสรรเสรญิ คณุ การ
บำเรอดว ยกามแกต น ในสำนกั แหง หญงิ มนษุ ยว า หญงิ
คนใดไดบำเรอภิกษุผูมีศีล เปนผูประพฤติพรหมจรรย
เห็นปานดังตัวเรา ที่เปนคนขัดสนจนดวยเมถุนสังวาส
การบำเรอดว ยเมถนุ แกภ กิ ษทุ ขี่ ดั สนนน้ั จะมผี ลอานสิ งส
เปน อยา งยอดยงิ่ จะนำตนใหไ ปสวรรคไ ดง า ย ๆ หญงิ กร็ ู
อธบิ ายในขณะนนั้ ภกิ ษนุ นั้ ตอ งอาบตั สิ งั ฆาทเิ สส

๕. สญั จรติ สกิ ขาบท ความวา ภกิ ษทุ ช่ี กั สอื่
หญิงและชายใหอยูรวมเปนผัวเมียและชูกัน นำความ
ประสงคของหญิงไปบอกเลาแกชาย ชักโยงใหทั้งสอง
ไดเ ปน ผวั เมยี เปน ชกู นั จะชกั นำใหไ ดส งั วาสกนั แต
ในขณะน้ันเปนอยางท่ีสุด ภิกษุผูชักสื่อตองอาบัติ
สงั ฆาทเิ สส

30 แปลจากพระปาฏโิ มกข โดย สมเดจ็ พระวนั รตั น (แดง สลี วฑฒฺ นมหาเถร)

(สกิ ขาบททง้ั ๕ น้ี ใหภ กิ ษหุ มน่ั ดู หมนั่ จำระวงั
ใหจ งมาก ภกิ ษทุ ไี่ มไ ดศ กึ ษา เปน คนคะนองกาย วาจา
อยแู ลว กล็ ว งงา ย ๆ ใหจ ำใหห มายไวเ ปน สำคญั เทอญ)

๖. สญั ญาจกิ สกิ ขาบท ความวา ภกิ ษทุ ำเองหรอื
ใชใหผูอ่ืนทำกุฏิท่ีอยู ดวยทพั สมั ภาระ๒๘ มีอิฐ ปูน ไม
เปน ตน อนั ตนเทย่ี วขอมาเอง ไมม ีทายก๒๙ เปน เจา ของ
ผสู รา งถวาย เฉพาะจะทำอยเู อง หาใหส งฆแ สดงพน้ื ที่
ใหไ ม ทำลงในทมี่ อี ปุ ท วนั ตรายทง้ั ไมม อี ปุ จาร ทำใหเ กนิ
ประมาณ คอื ยาวกวา ๑๒ คบื สคุ ต กวา งกวา ๗ คบื สคุ ต
กำหนดวดั ในรว มฝาขา งใน ตอ งอาบตั สิ งั ฆาทเิ สส

๗. มหลั ลกาสกิ ขาบท ความวา ภกิ ษทุ ำเองหรอื
ใหผ อู นื่ ทำวหิ ารทอี่ ยเู ปน อารามใหญ ไมก ำหนดประมาณ
มที ายกเปน เจา ของลงทนุ สรา งถวาย แตห มายใจเฉพาะ
อยเู อง หาใหส งฆช ท้ี ต่ี งั้ ใหไ ม ทำตามอำเภอใจ ทำลงใน
ทม่ี อี ปุ ท วนั ตรายและไมม อี ปุ จาร ตอ งอาบตั สิ งั ฆาทเิ สส

๘. อมลู กสกิ ขาบท ความวา ภกิ ษขุ งึ้ โกรธขดั เคอื ง
ภกิ ษอุ นื่ คดิ จะใหเ คลอ่ื นจากพรหมจรรย คอื จะใหส กึ เสยี
พงึ ตามกำจดั โจทกย กโทษดว ยอาบตั ปิ าราชกิ ไมม มี ลู คอื


Click to View FlipBook Version