การใช้
พจนานกุ รม
พจนานกุ รม
หมายถึง หนังสือท่ีรวบรวมคาศัพท์ และนิยาม
ความหมายเอาไว้ เพ่ือใช้ค้นคว้าหาความหมายของคา
โดยมีการเรียงลาดับคาศัพท์ตามตัวอักษร ตามเสียง
หรือตามลาดับอ่ืน ๆ ที่เหมาะสมสอดคล้องกับการใช้
พจนานกุ รมน้ัน ๆ
ประโยชนข์ องพจนานกุ รม
ร้ทู ี่มาของคา รู้ลักษณะการใชค้ า อา่ นคาไดถ้ ูกตอ้ ง
รูช้ นิดของคา รู้ความหมายของคา เขยี นคาไดถ้ ูกตอ้ ง
รายละเอียด
ของพจนานกุ รมทคี่ วรรู้
รายละเอยี ดของพจนานกุ รมทคี่ วรร้แู
น. = คานาม ส. = คาสรรพนาม
ก. = คากริยา ว. = คาวเิ ศษณ์
บ. = คาบพุ บท สนั . = คาสันธาน
อ. = คาอทุ าน
รายละเอยี ดของพจนานกุ รมทคี่ วรรู้
อักษรย่อในวงเลบ็ บอกทีม่ าของคา
(ข.) = เขมร (ป.) = บาลี
(ช.) = ชวา (ส.) = สันสกฤต
(จ.) = จนี
(ญ.) = ญี่ปนุ่ (อ.) = อังกฤษ
นอกจากนี้ยงั มีอกั ษรย่อทบ่ี อก
ท่มี าของคาใหศ้ กึ ษาเพ่มิ เตมิ
รายละเอยี ดของพจนานกุ รมทค่ี วรรู้
คาย่อในวงเลบ็ บอกลกั ษณะ
ของคาทใ่ี ชเ้ ฉพาะแหง่
(กฎ) = ใชใ้ นกฎหมาย (โบ) = ภาษาโบราณ
(ถ่นิ ) = ภาษาถ่นิ
(กลอน) = ใช้ในบท
กลอน
(ราชา) = คาราชาศัพท์
นอกจากนี้ยงั มอี กั ษรย่อทบ่ี อก
ทม่ี าของคาใหศ้ กึ ษาเพ่มิ เตมิ
ตวั อย่าง
คาทอ่ี ยใู่ นเคร่อื งหมาย [ ] อักษรยอ่ บอกชนิดของ ความหมาย
แสดงคาอา่ น คา (น. = คานาม) ของคา
เกษตร [กะเสด] น. ท่ีดิน, ทงุ่ , นา,ไร่ (โบ) แดน เชน่
พุทธเกษตร (ส.เกฺษตฺร ; ป. เขตฺต)
อักษรยอ่ ในวงเล็บบอกท่ีมาของคา คายอ่ ในวงเล็บบอกลกั ษณะของคา
ส. = คาที่มาจากภาษาสันสกฤต (โบ) = ภาษาโบราณ
ป. = คาทม่ี าจากภาษาบาลี
ตัวอยา่ ง
คาที่อยใู่ นเคร่อื งหมาย [ ] อกั ษรยอ่ บอกชนิดของ
แสดงคาอา่ น คา (ราชา = คาราชา
ศพั ท์)
บรรทม [บัน-] (ราชา) ก. นอน, ประทม หรือ ผทม
กว็ า่ (ข. ผทม) อกั ษรยอ่ บอกชนิดของ ความหมาย
คา (ก. = คากรยิ า) ของคา
อักษรยอ่ ในวงเล็บบอกทีม่ าของคา
ข. = คาท่ีมาจากภาษาเขมร
การเรยี งลาดับคาใน
พจนานกุ รม
เรียงตามรปู พจิ ารณารูป เรียงตามรปู พิจารณารปู วรรณยกุ ต์
พยญั ชนะ ก -ฮ สระ พยญั ชนะทอ่ี ยู่
ลาดบั ถดั มา เชน่ (หากโครงสรา้ งคาเหมอื นกนั )
(ร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ) เช่น กอ่ น ก้อน
จัด จับ
เหมือนกัน เหมือนกนั เหมอื นกัน
การเรยี งลาดับคาในพจนานกุ รม
ตัวพยญั ชนะลาดบั ไว้ตามตวั อกั ษร คอื ก ข ค ไปจนถงึ ฮ
ไม่ลาดบั ตามเสยี ง เช่น
หากตอ้ งการหาคาว่า ทราย ตอ้ งหาในหมวดพยัญชนะ ท
หากต้องการหาคาวา่ หมาย ต้องหาในหมวดพยัญชนะ ห
*สว่ น ฤ ฤๅ จะดาดบั ไว้หลงั ร และ ฦ ฦๅ จะลาดบั ไวห้ ลงั ล*
ลาดับการเรยี งพยญั ชนะในพจนานกุ รม
ก ขฃคฅฆง จ ฉชซฌ
ญ #ฎ6 ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ด ต ถ ท ธ
นบปผฝพฟภมย ร ฤ
ฤๅ ล ฦ ฦๅ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ
ลาดับการเรียงรูปสระใน
พจนานกุ รม
#6
ข้อสงั เกต ตวั ย ว อ
ใหน้ บั ลาดบั
เป็นพยญั ชนะ
การเรยี งลาดบั คาในพจนานกุ รม
หากพยัญชนะเหมอื นกนั จะพิจารณารปู สระเป็นลาดับถดั ไป
#โด6ย คาที่ไมม่ ีรปู สระจะมากอ่ นคาทมี่ รี ปู สระเสมอ เช่น
สงั เกตคาทไ่ี มม่ รี ปู สระ กนก กลม กลาง กาบ กิน
จะมากอ่ นคาทม่ี รี ปู สระ ตรม ตลอด ตาก ติด ตัด
การเรยี งลาดบั คาในพจนานกุ รม
หากพยัญชนะและรปู สระเหมอื นกนั จะพจิ ารณาพยญั ชนะท่ี
#6 อยลู่ าดบั ถดั ไป เช่น
สังเกตคาทไ่ี มม่ รี ปู สระจะ กัก กัง กัน กัน กับ
มากอ่ นคาทมี่ รี ปู สระ ปราง ปราชญ์ ปราม ปราย
สาคัญ สานวน สารอง สาราญ สาเรจ็ สาลี
ข้อสงั เกต ๓ คาน้ี ลาดับพยญั ชนะทเ่ี ปรยี บเทียบคอื ร เหมือนกนั
จานาเฉพาะ ๓ คาน้ีมาเปรยี บเทยี บกนั ทร่ี ปู สระ สารอง ข้ึนก่อนเพราะ
ไมม่ รี ปู สระ ตามดว้ ย สาราญ สระ –า และสาเรจ็ สระ เ-ะ
การเรยี งลาดบั คาในพจนานกุ รม
หากโครงสรา้ งคาทุกอยา่ งเหมอื นกนั ใหพ้ ิจารณา
ตามลาดับรปู วรรณยุกต์ (เอก โท ตรี จตั วา) เช่น
#6
เตา เตา เต้า
พิจารณาตามรปู วรรณยกุ ต์ ขาวโพลน ขา่ วสาร ขา้ วสาร
คาที่มไี มไ้ ตค่ ู้ จาลาดบั ไวก้ อ่ นวรรณยกุ ต์
เช่น แขง็ แขง่ แขง้