มทองผลิตภัณฑ์ชุมชนตำบลคลองหก
Gros Michel
BANANA
ก ล้ ว ย ห อ
จังหวัดปทุมธานี
น า ง ส า ว ณั ฐ ณิ ช า ศ รี แ ส ง อ่ อ น ร หั ส นิ สิ ต 6 3 4 2 2 1 1 1 2 7
คำนำ
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา
2751494 ธุรกิจศึกษาเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน จัดทำขึ้น
เพื่อให้นิสิตได้ตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญของผลิตภัณฑ์
ในชุมชนที่อยู่ใกล้กับบ้านของตนเอง และได้นำความรู้มาพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ภายในชุมชนให้ผู้คนได้รู้จักมากยิ่งขึ้น
โดยชุมชนของผู้จัดทำคือชุมชนตำบลคลองหก อำเภอ
คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ซึ่งพืชเศรษฐกิจหลักคือกล้วยหอม
ทอง ผู้จัดทำจึงคิดที่จะนำกล้วยหอมทองมาแปรรูปเป็นไอศกรีม
เพื่อพัฒนาและต่อยอดกล้วยหอมทองของชุมชน
ทางคณะผู้จัดทำขอขอบพระคุณ ผศ.ดร.บุณฑริกา บูลภักดิ์
อาจารย์ประจำวิชา 2751494 ธุรกิจศึกษาเพื่อการพัฒนา
เศรษฐกิจชุมชน ที่คอยให้คำแนะนำ คำปรึกษาเกี่ยวกับการ
พัฒนาผลิตภัณฑ์ภายในชุมชน
ผู้จัดทำ
นางสาวณัฐณิชา ศรีแสงอ่อน
สคาำรนบัำญ หน้า
ก
คำนำ ข
สารบัญ 1
ประวัติชุมชน 3
โครงสร้างชุมชน 4
แผนที่เดินดิน 5
ปฏิทินชุมชน 9
ต้นทุนทางสังคม 11
แผนที่ทรัพยากรและวัฒนธรรม 12
ผลิตภัณฑ์ชุมชน 14
ประวัติสินค้า คุณสมบัติหรือจุดเด่นของสินค้า 15
การผลิตสินค้า 17
SWOTแนวทางการส่งเสริมธุรกิจในชุมชน 18
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย 19
BUSINESS MODEL CANVAS 20
กลยุทธ์ทางการตลาด STP 21
แผนการตลาด 4P 22
โลโก้ 24
บรรจุภัณฑ์ 26
การประชาสัมพันธ์และการส่งเสริมการขาย 28
บรรณานุกรม
ประวัติชุมชน
อำเภอคลองหลวง
คลองหลวงเป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดปทุมธานีมีประวัติศาสตร์ที่สามารถ
สืบค้นย้อนกลับไปถึงสมัยรัชกาลที่ 7 อำเภอคลองหลวงในช่วงเวลานั้น
เรียกว่า “อำเภอบางหวาย” ตลอดระยะเวลาตั้งแต่ การมีอยู่ของอำเภอนี้
อยู่ในสภาพบริบทที่เกี่ยวข้องกับการแสวงหาวิถีชีวิตและอัตลักษณ์ให้กับ
จังหวัดปทุมธานี
ชุมชนตำบลคลองหก
ชุมชนคลองหกจะเป็นส่วนหนึ่งของอำเภอคลองหลวงที่ปัจจุบันเติบโตหนา
แน่นด้วยบ้านจัดสรรอาคารพาณิชย์และหน่วยงานทางราชการที่เกิดขึ้นใหม่
แต่บริเวณพื้นที่คลองหกถือเป็นเขตชุมชนรอบนอกที่ยังปรากฏพื้นที่ทำการ
เกษตร โดยเฉพาะการทำนาอยู่จำนวนมาก คนรุ่นใหม่บางคน ให้ความ
สำคัญและยังคงสืบสานวิถีเกษตรอย่างมุ่งมั่นและจริงจัง
11
ชุมชนตำบลคลองหก
คลองหก เป็นคลองซอยคลองที่ 6 นับจากฝั่ งขวาของแม่น้ำเจ้าพระยา ที่
เชื่อมต่อคลองหกวาสายบน คลองแปดวา และคลองหกวาสายล่างเข้าไว้
ด้วยกัน ขุดในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยบริษัทขุดคลองตามโครงการทุ่งรังสิตที่มี
จุดประสงค์เพื่อการพัฒนาที่ดินและพื้นที่ทำนาเพาะปลูกข้าว รวมถึงใช้เป็น
ที่ตั้งถิ่นฐานระหว่าง พ.ศ. 2435–2447 ในปัจจุบันคลองหกเริ่มต้นจากคลอง
หนองน้ำส้ม ตำบลหนองน้ำส้ม อำเภออุทัย จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
ผ่านอำเภอวังน้อย แล้วเข้าสู่จังหวัดปทุมธานี โดยตัดกับคลองระพีพัฒน์
แยกตก ผ่านอำเภอธัญบุรี ไปสิ้นสุดที่คลองหกวาสายล่าง ที่บริเวณสี่แยกวัด
ประชุมราษฎร์ อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี ตรงข้ามกับปากคลองสาม
วา
2
โครงสร้างชุมชน
นายกองค์การบริหารส่วนตำบลคลองหก
นายศรายุทธ แหยมเจริญ
รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลคลองหก
นางสาวน้ำฝน คำป้อม
นางสาวศุจีรา แหยมเจริญ
ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลคลองหก
นางสาวมณีรัตน์ ภักค์ธนเศรษฐ์
3
แผนที่เดินดิน
6 7
5
ถนน คลอง 5
ถนน คลอง 6
4
1 โรงพยาบาลธัญบุรี
3
1 2
ถนนรังสิ ต-องครักษ์
2 ศาลจังหวัดธัญบุรี 3 พิพิธภัณฑ์บัว มทร.ธัญบุรี 4 มทร.ธัญบุรี
5 ตลาดริมน้ำคลองหก 6 ก๋วยเตี๋ยวเรือ 7 GREEN GARDEN RESORT
4
ปฏิทินชุมชน
มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม
วันปีใหม่ วันมาฆบูชา
เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน
ประเพณีเปิงสงกรานต์ วันวิสาขบูชา กันยายน
ประเพณีแห่หงส์ธง
ตะขาบ ประเพณีตักบาตรน้ำผึ้ง
กรกฏาคม สิ งหาคม
วันเข้าพรรษา
ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม
วันออกพรรษา ประเพณีตักบาตร วันสิ้นปี
ประเพณีรำพาข้าวสาร พระร้อย
5
ประเพณีแห่หงส์ธงตะขาบ
เป็นประเพณีที่ชาวไทยรามัญเมืองปทุมธานี ถือปฏิบัติกันในเทศกาลวันสงกรานต์
กระทำกันที่เสาหงส์หน้าเจดีย์ หรือโบสถ์วิหารอันเป็นสัญลักษณ์ของชาวรามัญ
แห่งหงสาวดี เสาหงส์ทำด้วยไม้กลมหรือเหลี่ยมมีเสาประกบคู่ประดับด้วยบัวหัว
เสา ที่ปลายเสามีรูปหงส์ทรงเครื่องหล่อด้วยโลหะยืนอยู่ปลายเสากางปีกทั้งสอง
ข้าง ที่จะงอยปากหงส์แขวนด้วยกระดิ่ง บนสุดมีฉัตรสามชั้นปักอยู่ หลังจากทำ
เสร็จแล้ว ในตอนบ่ายก็จะมีการแห่ธง โดยช่วยกันจับขอบธงตลอดทั้งผืน แห่ธง
ไปตามหมู่บ้าน มีขบวนเถิดเทิงกลองยาวประกอบขบวน เสร็จแล้วนำมาทำพิธี
ถวายธงที่หน้าเสาหงส์ แล้วชักขึ้นสู่ยอดเสา เพื่อเป็นการบูชาพระพุทธเจ้า และ
สืบสานประเพณีต่อมาจนถึงทุกวันนี้
6
ประเพณีตักบาตรพระร้อย
ตักบาตรพระร้อย เป็นประเพณีตักบาตรทางน้ำในช่วงเทศกาลออกพรรษา ที่
ชาวปทุมธานี โดยเฉพาะชาวไทยเชื้อสายมอญ ปฏิบัติกันมานานนับร้อยปี
เพราะจังหวัดปทุมธานีมีแม่น้ำเจ้าพระยาไหลผ่าน ทำให้เกิดลำคลองหลายสาย
ขึ้น เพื่อใช้เป็นเส้นทางการคมนาคม ใช้ในการชลประทาน ใช้ในการอุปโภค
บริโภค อีกทั้งบ้านเรือนประชาชนแต่เดิมจะตั้งอยู่ริมแม่น้ำลำคลองเป็นส่วนใหญ่
ซึ่งในช่วงออกพรรษาเป็นช่วงน้ำหลาก บรรยากาศชุ่มชื่น การสัญจรไปมาทาง
เรือสะดวก ดังนั้นการตักบาตรพระสงฆ์จึงใช้เรือในการบิณฑบาตบริเวณท่าน้ำ
หน้าบ้านผู้คน
7
ประเพณีรำพาข้าวสาร
ประเพณีรำพาข้าวสาร คำว่า "รำพา" หมายความว่า การชักชวน เชิญชวน การ
รำพาข้าวสาร หมายถึง การเชิญชวนท่านผู้ที่มีจิตศรัทธาได้ร่วมทำบุญ การเชิญ
ชวนท่านผู้ที่มีจิตศรัทธาได้ร่วมทำบุญ ด้วยการรำพาข้าวสารนั้นก็หมายถึงการ
ร้องรำพาด้วยถ้อยคำสำเนียงเสียงภาษาที่ไพเราะ เสนาะต่อผู้ที่ได้ฟัง จนเกิด
ศรัทธาและร่วมบริจาคสิ่งของต่าง ๆ ร่วมทำบุญ
การรำพาข้าวสาร นิยมจัดขึ้นในช่วงหน้าน้ำ ประมาณช่วงออกพรรษาและเป็น
ช่วงที่ชาวบ้านจะได้ร่วมงานบุญใหญ่ซึ่งเรียกว่า การทอดกฐิน การรำพาข้าวสาร
เป็นการบอกบุญทางเรือ โดยบอกบุญกับชาวบ้านที่อาศัยอยู่ริมฝั่ งแม่น้ำ การรำ
พาข้าวสาร จะร้องรำพาในช่วงกลางคืน ก่อนที่จะถึงวันทอดกฐินเพื่อรวบรวม
สิ่งของ จตุปัจจัยไปร่วมทอดกฐิน
8
ต้นทุนทางสั งคม
ทุนมนุษย์
ผู้คนมีองค์ความรู้ดั้งเดิมจากภูมิปัญญาท้องถิ่นคือ เครื่อง
จักสาน งานหัตถกรรมสีทอง กระยาสารทน้ำอ้อย และขนม
ต้มสามสี การทำเครื่องจักสานเป็นการถ่ายทอดภูมิปัญญา
จากบรรพบุรุษ แต่ในภายหลังได้มีการเรียนวิธีทำเครื่อง
จักสานเพิ่มเติมกับหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้ได้รูปแบบเครื่อง
จักสานที่มีความหลากหลายและมีความทันสมัยมากขึ้น
ทุนสั งคม
การดำรงชีวิตหรือการประกอบอาชีพนั้น แต่เดิมนั้น
ส่วนใหญ่ทำการเกษตร ผู้คนจึงช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
แบ่งปันพืชผลเมื่อถึงเวลาเก็บเกี่ยว และมีความสัมพันธ์
ที่ดีต่อกัน
ทุนธรรมชาติ
มีทำการเกษตร ปลูกพืช ผัก ผลไม้ ซึ่งพืชเศรษฐกิจหลัก
ของจังหวัดปทุมธานี ได้แก่ ข้าว ผัก และกล้วยหอมทอง
9
ต้นทุนทางสั งคม
ทุนกายภาพ
ด้านคมนาคม
ชุมชนคลองหกอยู่ห่างจากตัวจังหวัดปทุมธานี ประมาณ
47 กิโลเมตร ถนนสายหลักที่ใช้ในการคมนาคม / ขนส่ง
คือ ถนนคลองหลวง หนองเสือ ถนนลำลูกกา-วังน้อย ถนน
วงแหวนรอบนอกฝั่ งตะวันออก มีรถประจำทางร่วมบริการ
ผ่านคือสาย รังสิต – หนองเสือ และสาย 1156 รังสิต
หมู่บ้านมาลีรมย์ 5 การเดินทางของผู้คนส่วนใหญ่ใช้
รถยนต์และรถจักรยานยนต์ส่วนตัว และรถจักรยานยนต์
รับจ้างทั่วไป
ทุนภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
มีวัฒนธรรมประเพณีที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษจนถึง
ปัจจุบัน เช่น ประเพณีแห่หงส์ธงตะขาบ ประเพณีรำพา
ข้าวสาร เป็นต้น ซึ่งได้กลายเป็นอัตลักษณ์ของชุมชน
ตำบลคลองหกคือ ‘คลองขุดประวัติศาสตร์ย่านวิถี
เกษตรใกล้เมือง เฟื่ องฟูรอบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคล’
10
แผนที่ทรัพยากร
และวัฒนธรรม
โรงเรียนวัดหว่านบุญ
จันยา อาหารอีสาน
วัดหว่านบุญ
ถนน คลอง 5
ถนน คลอง 6
ก๋วยเตี๋ยวหมูโบราณ
ก๋วยเตี๋ยวเรือถูกปาก
ครัวสวนสุทธิพันธุ์ ก๋วยเตี๋ยวเรือชายนา
ครัวคุ้มแก้ว
ถนนรังสิ ต-องครักษ์
11
ผลิตภัณฑ์ชุมชน
12
กล้วยหอมทอง
เครื่องดื่มสมุนไพร
ดอกไม้ประดิษฐ์จากดินไทย วัสดุรีไซเคิล
และดินญี่ปุ่น
อาหารแปรรูป
13
ประวัติสิ นค้า
กล้วยหอมทอง
กล้วยหอมทอง เป็นพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดปทุมธานี ปัจจุบันมี
พื้นที่ปลูกเกือบ 20,000 ไร่ โดยขึ้นทะเบียนเกษตรกรประมาณ 12,500
ไร่ กระจายในพื้นที่ฝั่ งตะวันออกของปทุมธานี 4 อำเภอ ได้แก่ หนองเสือ
ธัญบุรี ลำลูกกา และคลองหลวง
โดยจุดเด่นอยู่ที่การปลูกแบบร่องสวน และไม่ใช้สารเคมี ทำให้ผลผลิตได้
คุณภาพ รูปทรงดี ผิวและสีสวย มีความคงทนในการขนส่ง และควบคุม
การผลิตได้ ถือเป็นอันดับ 1 ของประเทศ ทั้งปริมาณ คุณภาพ และพื้นที่ปลูก
กล้วยหอมทองปทุมเป็นกล้วยที่มีผลใหญ่ยาว หน้าตัดค่อนข้างกลม ปลาย
คอดเล็กน้อย ผิวนวล เปลือกบาง ผลดิบจะมีสีเขียวนวล แต่เมื่อผลสุกแล้ว
จะมีสีเหลืองทองนวล เนื้อมีความเหนียวและแน่น รสชาติหอม หวาน
จุดเด่น
กล้วยหอมทองที่คัดเลือกนำมาทำไอศกรีม มีเนื้อแน่น หอม และ
หวานกว่ากล้วยหอมปกติ ซึ่งไอศกรีมก็จะได้กลิ่นและรสชาติของ
กล้วยหอมทองแท้ ๆ ที่มีความหอมหวาน ไม่ใส่สีปรุงกลิ่นใด ๆ และ
ไอศกรีมจะใส่เนื้อของกล้วยหอมทองลงไปด้วย เพื่อเพิ่มเนื้อสัมผัสให้
กับตัวไอศกรีม
14
การผลิต
ไอศกรีมกล้วยหอมทอง
วัตถุดิบ 4 ลูก
กล้วยหอมทอง 200 ML
นมโค 50 ML
นมข้นจืด 30 ML
นมข้นหวาน
15
การผลิต
ไอศกรีมกล้วยหอมทอง
ปอกเปลือกและหั่นกล้วยหอมทอง (ไม่ต้อง
บางเพื่อไม่ให้กล้วยดำมาก) แล้วนำไปแช่ใน
ช่องฟรีซประมาณ 2 ชั่วโมง
เทนมทั้ง 3 ชนิด ที่ตวงไว้ใส่ภาชนะ
เดียวกับที่ใส่กล้วยหอมทอง
ปั่ นจนนมและเนื้อกล้วยหอมทอง
ละเอียดเข้ากัน เนียนเหมือนเนื้อครีม
แล้วเทใส่กล่องที่มีฝาปิด นำเข้าไปแช่
ในช่องฟรีซทิ้งไว้ประมาณ 4-5 ชั่วโมง
พอแช่ช่องฟรีซจนได้ที่ ก็ตักไอศกรีม
ใส่ถ้วยพร้อมรับประทาน
16
SWOT แนวทางการส่งเสริม
ธุรกิจในชุมชน
TRENGTHS (จุดแข็ง)
มีการพูดคุยตกลงร่วมกันภายในที่จะพัฒนาสินค้าโดยเน้น
สินค้าที่มาจากภูมิปัญญาท้องถิ่นและต้องใช้วัตถุดิบส่วน
ใหญ่ที่มีอยู่ในชุมชน
EAKNESSES (จุดอ่อน)
ผลิตภัณฑ์เป็นที่รู้จักเพียงภายในท้องถิ่น และคนในชุมชน
ที่ใช้ในการผลิตมีจำนวนไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับเวลาว่าง
ของสมาชิกซึ่งมักไม่ตรงกัน
PPORTUNITIES (โอกาส)
มีการไปอบรมกับหน่วยงานภาครัฐหรือหน่วยงาน ภาครัฐ
เข้ามาให้ความรู้ในชุมชน และมีการแสวงหาความรู้จาก
สื่อต่าง ๆ ผ่านระบบอินเทอร์เน็ต
HREATS (อุปสรรค)
คู่แข่งขันมีจำนวนมาก
17
วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
วัตถุประสงค์
เป็นทางเลือกใหม่ของผู้บริโภค
ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ของชุมชนคลองหก ทำให้กล้วยหอมทองเป็นที่
สนใจของผู้บริโภค
เพิ่มรายได้ให้กับคนในชุมชน
พัฒนาสินค้าให้มีความหลากหลายและแปลกใหม่มากขึ้นเพื่อเจาะกลุ่ม
ลูกค้าใหม่ ๆ
ใช้วัตถุดิบที่มีอยู่แล้วในท้องถิ่นโดยมุ่งเน้นคุณภาพและมาตรฐานในการ
ผลิตเป็นส่วนสำคัญ
เป้าหมาย
เป้าหมายระยะสั้น
โปรโมทสินค้าให้ผู้บริโภคได้รู้จัก
จัดโปรโมชั่นให้กับผู้บริโภคช่วงเปิดร้าน
เป้าหมายระยะยาว
เพิ่มช่องทางการจัดจำหน่ายและเข้าถึงผู้บริโภคทุกกลุ่ม
พัฒนายอดการผลิต การขาย และสร้างกำไร
18
BUSINESS MODEL CANVAS
KEY PARTNERS KEY ACTIVITIES VALUE CUSTOMER CUSTOMER
PROPOSITIONS RELATIONSHIPS SEGMENTS
พันธมิตร กิจกรรมหลัก คุณค่าบริการ ความสัมพันธ์กับ กลุ่มลูกค้า
ผู้ซื้อ-ผู้จัด ออกแบบการผลิต ผลิตภัณฑ์มีคุณค่า ลูกค้า กลุ่มวัยรุ่น และ
จำหน่าย: การหา และการส่งมอบ และมีประโยชน์ กลุ่มวัยทำงาน
วัตถุดิบที่ดีและมี สินค้า ในปริมาณ เพื่อสุขภาพที่ดี มีพนักงานคอย อายุ 16-30 ปี
คุณภาพสำหรับ มากและคุณภาพ ของผู้บริโภค ตอบลูกค้าเกี่ยว กลุ่มคนรักสุขภาพ
สินค้าและบริหาร ที่ดี กับสินค้าผ่านทาง ทุกเพศ
ของเรา ที่มีความ โทรศัพท์ และช่อง
น่าเชื่อถือ ทาง SOCIAL
MEDIA ผ่านการ
แชท
KEY CHANNELS
RESOURCES
ช่องทางการเข้าถึง
ทรัพยากรหลัก ลูกค้า
วัตถุดิบ ได้แก่
กล้วยหอมทอง , สื่อ SOCIAL
นม MEDIA ได้แก่
เครื่องทำไอศกรีม FACEBOOK ,
LINE และ
INSTAGRAM
การค้าปลีก ได้แก่
7-ELEVEN
COST REVENUE
STRUCTURE STREAMS
โครงสร้างทุน รายได้หลัก
ค่าอุปกรณ์เครื่องใช้ในการดําเนินธุรกิจ, เครื่องทําไอศกรีม, มาจากการขายไอศกรีมกล้วยหอมทอง
ตู้แช่ไอศกรีม, อุปกรณ์เครื่องใช้อื่น ๆ
ค่ายานพาหนะ ที่ใช้ในการขนส่งสินค้า
19
กลยุทธ์ทางการตลาด STP
การแบ่งส่วนทางการตลาด (SEGMENTATION)
กลุ่มเป้าหมาย แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มได้ดังต่อไปนี้
กลุ่มวัยรุ่น มีอายุตั้งแต่ 16-24 ปี ทุกเพศ อาศัยอยู่ในภาคกลาง
กลุ่มวัยทำงาน มีอายุตั้งแต่ 25-30 ปี ทุกเพศ อาศัยอยู่ในภาคกลาง
กลุ่มคนรักสุขภาพ ทุกเพศ
การเลือกกลุ่มเป้าหมาย (TARGET MARKET)
กลุ่มวัยรุ่น (กลุ่มเป้าหมายหลัก)
โดยให้บริการไอศกรีมกล้วยหอมทองจากวัตถุดิบชั้นดี ผ่านขั้นตอนทำแบบ
พิถีพิถัน และมีราคาที่ไม่แพงเหมาะกับกลุ่มผู้บริโภคที่มีรายได้ต่ำถึงรายได้
ปานกลาง
การวางตำแหน่งผลิตภัณฑ์ (POSITIONING)
VARIRTY
HIGH
LOW
LOW HIGH PRICE
20
แผนการตลาด 4P
PRODUCT
PROMOTION กล้วยหอมทองมีเนื้อ PRICE
แน่น หอม และหวาน
ตัวไอศกรีมจะใส่เนื้อ
ของกล้วยหอมทองลง
ไปด้วย เพื่อเพิ่มเนื้อ
สัมผัสให้กับตัวไอศกรีม
มีกิจกรรมให้ร่วมสนุก ราคากระปุกละ 49 บาท
ได้ที่เพจ FACEBOOK
และ INSTAGRAM 4P
มีกิจกรรมซื้อ 2 แถม 1
ทุกเดือน PLACE
สะสมแต้มคะแนนเพื่อ
รับส่วนลด จัดจำหน่ายผ่านหน้า
ร้านที่ชุมชนคลองหก
มีขายตาม 7-ELEVEN
ขายผ่านสื่อโซเชียล
ได้แก่ FACEBOOK ,
INSTAGRAM และ
LINE
21
LOGO
22
โลโก้
โทนสี ที่ใช้ ชื่อแบรนด์ "BANANOON" มาจาก
BANANA (กล้วย) + NOON (ชื่อเจ้าของ)
23 ตัวหนังสือ "RUBIK"
รูปกล้วย บ่งบอกถึงผลิตภัณฑ์ชุมชน
ที่นำมาแปรรูป
เน้นใช้สีเหลืองและสีเขียว
บ่งบอกถึงสีของผลิตภัณฑ์ที่เลือก
ซึ่งคือ "กล้วยหอมทอง"
PACKAGING
24
บรรจุภัณฑ์
บรรจุภัณฑ์ทำจากวัสดุธรรมชาติ
สามารถย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ
ปลอดภัยต่อสุขภาพของผู้บริโภค
ออกแบบมาเก็บไอศกรีมโดยเฉพาะ
ซึ่งจะเก็บความเย็นได้ดี
ออกแบบลวดลายให้มีความทันสมัย
และบ่งบอกถึงตัวผลิตภัณฑ์ที่เลือก
นำทำไอศกรีม
ป้ายด้านหลัง
วัน/เดือน/ปี ที่ผลิต
วัน/เดือน/ปี หมดอายุ
ส่วนประกอบ
การเก็บรักษา
กระเป๋าเก็บอุณหภูมิ
หากลูกค้าเดิมนำกระเป๋ามาใส่
ไอศกรีมเมื่อซื้อครั้งถัดไป จะได้รับ
แต้มสะสม เพื่อเป็นส่วนลดเมื่อ
สะสมแต้มครบจำนวน
25
การส่ งเสริมการขาย
26
การประชาสั มพันธ์และ
การส่ งเสริมการขาย
คลิปฉบับเต็ม
สามารถหาซื้อได้ตาม 7-ELEVEN ทุกสาขา และ
มีบริการช่องทางซื้อออนไลน์ ได้ผ่านทาง LINE,
เพจ FACEBOOK และ INSTAGRAM อีกทั้งเพจ
FACEBOOK และ INSTAGRAM จะคอยลง
ประกาศต่าง ๆ เกี่ยวกับสินค้า และมีกิจกรรมให้
ร่วมสนุกผ่านหน้าเพจ
27 BANANOON BANANOON @BANANOON
บรรคณำานนำุกรม
HTTPS://KLONGHOK.GO.TH/PUBLIC/LIST/DATA/I
NDEX/MENU/1144
HTTPS://HUJMSU.MSU.AC.TH/ENG/PDFSPLITE.P
HP?P=MTU5OTAXMZUWMS5WZGZ8OS0YMA==
FILE:///C:/USERS/DELL/DOWNLOADS/11_3_6.PDF
FILE:///C:/USERS/DELL/DOWNLOADS/JOMCUSO
C,+%7B$USERGROUP%7D,+003-
%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8
%A5%E0%B8%B2+%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E
0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B
4%E0%B8%99+28-39.PDF
HTTPS://WWW.PRACHACHAT.NET/LOCAL-
ECONOMY/NEWS-256850
HTTPS://WWW.TECHNOLOGYCHAOBAN.COM/BUL
LET-NEWS-TODAY/ARTICLE_232672
28