The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by TGI Smart Factory, 2020-10-20 01:41:55

Fundamental of GD&T

1.Fundamental of GD&T

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมัน

คาจากดั ความ

ขนาดของฟี เจอร์ออฟไซซ์(FOS)

50

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมัน

คาจากดั ความ

ขนาดของฟี เจอร์ออฟไซซ์(FOS)

51

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมัน

คาจากดั ความ

ขนาดของฟี เจอร์ออฟไซซ์(FOS)

52

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมัน

คาจากดั ความ

ขนาดของฟี เจอร์ออฟไซซ์(FOS)

53

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมัน

คาจากดั ความ

ขนาดของฟี เจอร์ออฟไซซ์(FOS)

54

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมนั

กฎพืน้ ฐานของ GD&T (Fundamental rules)

กฎข้อที่ 1.

โดยปกติถา้ ไม่มีการกาหนดขนาดเพิม่ เติม, ความคลาดเคล่ือนของขนาด FOS และ
ขนาดจากดั ของชิ้นงาน(Upper limit and Lower limit)จะควบคุมมความเบี่ยงเบน
ทางดา้ นรูปทรงไปในตวั พร้อมๆกบั การควบคุมขนาด ซ่ึงการควบคุมน้ีบงั คบั ใชก้ บั
ฟี เจอร์ออฟไซซส์ ามญั (Regular Feature of size)

ASME Y14.5-2009/page 27

Unless otherwise specified, the limits of size of a feature prescribe the
extent within which variations of geometric form, as well as size, are allowed.

This control applies solely to individual regular features of size

55

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมนั

กฎพืน้ ฐานของ GD&T (Fundamental rules)

56

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมนั

กฎพืน้ ฐานของ GD&T (Fundamental rules)

57

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมัน

กฎพืน้ ฐานของ GD&T (Fundamental rules)

กฎขอ้ ท่ี 1 น้ีจะบงั คบั ใชโ้ ดยอตั โนมตั ิกบั ขนาดของ Feature of size ท่ีเป็นอิสระต่อ
กนั (Individual) ถา้ พ้ืนผวิ Feature หรือ Feature of size ตอ้ งการควบคุม
ความสมั พนั ธ์ซ่ึงกนั และกนั จะตอ้ งมีการกาหนดการจดั วางทิศทาง (Orientation)

หรือกาหนดท่ีต้งั (Location) เพิ่มเติม

58

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมนั

กฎพืน้ ฐานของ GD&T (Fundamental rules)

กฎขอ้ ที่ 1 น้ีไม่มีผลบงั คบั ใชก้ บั ชิ้นงานเหล่าน้ี
•ชิ้นส่วนท่ีมีการเปล่ียนแปลงรูปร่างได้ (Non-rigid body) เช่น ยาง
•ชิ้นงานท่ีเป็นวตั ถุดิบ (Stock size) เช่น แท่งเหลก็ รีด ท่อ โลหะแผน่ หรือเหลก็
โครงสร้างต่างๆ

กฎขอ้ ท่ี 1 น้ีจะถูกยกเลิกไดก้ ต็ ่อเมื่อ
•มีการเขียนยกเลิกกฎขอ้ ท่ี 1 ลงในแบบงานหรือใชส้ ญั ลกั ษณ์ปรับปรุง I
•มีการควบคุมความตรง(Straightness)ของวตั ถุกลาง Feature of size

•มีการความราบ(Flatness)ของวตั ถุกลาง Feature of size

59

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมนั

กฎพืน้ ฐานของ GD&T (Fundamental rules)

60

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมนั

กฎพืน้ ฐานของ GD&T (Fundamental rules)

61

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมัน

กฎพืน้ ฐานของ GD&T (Fundamental rules)

กฎข้อที่ 2.

โดยปกติใหถ้ ือวา่ สภาวะวสั ดุ RFS ถูกใชท้ ่ีช่องคา่ ความคลาดเคล่ือนและสภาวะวสั ดุ
RMB ถูกใชท้ ี่ช่องดาต้มั อา้ งอิง แต่เมื่อตอ้ งการใชส้ ภาวะ MMC, LMC (ในช่องค่า
ความคลาดเคล่ือน), MMB หรือ LMB (ในช่องของดาต้มั อา้ งอิง) จะตอ้ งใส่
สัญลกั ษณ์ Modifier  หรือ  ณ จุดที่ตอ้ งการควบคุมลงในแบบงาน

Rule #2 (ASME Y14.5-2009 / Page 29)
RFS applied, with respect to the individual tolerance, and RMB applies, with
respect to the individual datum feature reference, where no modifying symbol
is specified. MMC,LMC, MMB, or LMB shall be specified on the drawing where
it is required.

62

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมนั

กฎพืน้ ฐานของ GD&T (Fundamental rules)

Drawing Meaning

63

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมัน

กฎพืน้ ฐานของ GD&T (Fundamental rules)

กฎข้อที่ 2.
กฎขอ้ ท่ี 2.1.ในกรณีจุดท่ีถูกควบคุมในแบบงานคือแกนกลางหรือระนาบกลางของ

FOS และใชส้ ภาวะวสั ดุ RFS, MMC หรือ LMC จุดท่ีถูกควบคุมตอ้ งอยภู่ ายใน
ขอบเขตความคลาดเคล่ือน(tolerance zone)แต่ถา้ ผลแตกต่างจากการควบคุมที่

พ้ืนผวิ ดว้ ยขอบเขตพ้นื ผวิ (boundary)ใหใ้ ชก้ ารควบคุมที่พ้นื ผวิ ดว้ ยขอบเขตพ้ืนผวิ
เป็นหลกั สาคญั ก่อน

•The following paragraphs describe the principles based on an axis
interpretation for RFS,MMC, and LMC. In certain cases of surface deviation of
the feature, the tolerance in terms of the feature axis or feature center plane
may not be exactly equivalent to the tolerance in terms of the surface limited by
a boundary. In such cases, the surface interpretation shall take precedence.

64

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมนั

กฎพืน้ ฐานของ GD&T (Fundamental rules)

กฎขอ้ ที่ 2.1

65

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมนั

กฎพืน้ ฐานของ GD&T (Fundamental rules)

กฎข้อที่ 2.
•กฎขอ้ ที่ 2.2.ในกรณีของ Circular runout, total runout, concentricity,

profile of a line, profile of a surface, circularity, cylindricity, and

Symmetry สภาวะวสั ดุ RFS ถูกใช(้ ที่ช่องค่าความคลาดเคล่ือน)เสมอและไม่
สามารถใชส้ ภาวะวสั ดุ MMC  or LMC ได้

• Circular runout, total runout, concentricity, profile of a line, profile of a surface, circularity,
cylindricity, and Symmetry tolerances are applicable only on an RFS basis and cannot be
modified to MMC or LMC

66

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมัน สภาวะต่างๆของ Feature of size

•PERFECT FORM เป็ นสภาวะท่ีรูปร่างของชิ้นงาน มีความราบ (Flatness) ความ
ตรง (Straightness) ความกลม (Circularity) ความเป็ นทรงกระบอก
(Cylindricity) ท่ีสมบูรณ์ตามทฤษฎี

67

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมนั

สภาวะต่างๆของ Feature of size
•Perfect form at MMC เป็ นสภาวะที่รูปร่างของชิ้นงานมีความสมบูรณ์ตามทฤษฎี

(Perfect form) และอยใู่ นสภาวะเน้ือวสั ดุมากสุด (MMC)
•Perfect form at LMC เป็ นสภาวะท่ีรูปร่างของชิ้นงานมีความสมบูรณ์ตามทฤษฎี
(Perfect form) และอยใู่ นสภาวะเน้ือวสั ดุนอ้ ยสุด (LMC)

WORST CASE BOUNDARY ขอบเขตพ้นื ผวิ สูงสุดประกอบดว้ ย
•ขอบเขตผวิ นอกโตสุด(Maximum Outer Boundary or Outer Boundary)
•ขอบเขตผวิ นอกเลก็ สุด(Minimum Outer Boundary)
•ขอบเขตผวิ ในเน้ือเลก็ สุด(Minimum Material Boundary or Inner Boundary)
•ขอบเขตผวิ ในเลก็ สุด(Minimum Inner Boundary or Inner boundary)
•ขอบเขตผวิ ในโตสุด(Maximum Inner Boundary)
•ขอบเขตผวิ ในเน้ือโตสุด(Minimum Material Boundary or Outer Boundary)

68

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมัน สภาวะต่างๆของ Feature of size

69

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมัน สภาวะต่างๆของ Feature of size

70

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมนั

สัญลกั ษณ์ GD&T ของมาตรฐาน ASME และ ISO 1101

71

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมนั สญั ลกั ษณ์ ลกั ษณะการควบคมุ การอ้างอิงดาตมั้

ประเภทของการควบคมุ  ความราบ (Flatness) ไมม่ ี
 ความตรง (Straightness)
ประเภทของการควบคมุ  ความกลม (Circularity) มีเสมอ
 ความเป็นทรงกระบอก (Cylindricity) มีหรือไม่มีตามการ
รปู ทรง  ความตงั้ ฉาก (Perpendicularity)
(Form)  ความเป็นมมุ (Angularity) ประกอบ
 ความขนาน (Parallelism)
ทิศทางการจดั วาง
(Orientation)  ตาแหน่ง (Position)

การจดั วางท่ีตงั้  ความสมมาตร (Symmetry) มีเสมอ
(Location)  มเี สมอ
 ความรว่ มศนู ยห์ รอื ร่วมแกน (Concentricity)
ความเบย่ี งเบนเนื่องจากการ มีเสมอ
หมนุ  ความเบ่ยี งเบนเน่ืองจากการหมนุ ในระนาบ
(Circular runout) มีหรอื ไม่มตี ามการ
(Runout)  ความเบี่ยงเบนเนื่องจากการหมนุ ทงั้ หมด ประกอบ 72
(Total runout)
รปู โครงร่างใดๆ  รปู โครงรา่ งของพืน้ ผิวใดๆ
(Profile) (Profile of a surface)
รปู โครงร่างของเส้นใดๆ
(Profile of a line)

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมัน

กรอบควบคมุ รปู ลกั ษณ์

ตาแหน่งของกรอบควบคมุ รปู ลกั ษณ์

ควบคมุ พืน้ ผิว

ควบคมุ ระนาบกลาง

ควบคมุ แกนกลาง

73

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมนั

กรอบควบคมุ รปู ลกั ษณ์

74

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมนั

ดาตมั้ อ้างอิง (Datum)

ดาตมั้ คือ จดุ เส้นหรือระนาบ ที่มีความถกู ต้องตามทฤษฎี ที่บง่ ชี้หรอื ทาให้เหน็ จดุ กาเนิดของขนาดท่ีระบใุ น
ชิ้นงานท่ีมีความสมั พนั ธก์ บั ค่าความคลาดเคล่ือน (Tolerance) และรปู ลกั ษณ์ (Feature) บนชิ้นงาน

ดงั นัน้ ในการเขียนแบบช้ินงานจะต้องกาหนดตาแหน่งของดาตมั้ เป็นลาดบั แรก
เพือ่ ใช้ในการตรวจสอบความคลาดเคลือ่ นของรปู ลกั ษณ์ทีส่ มั พนั ธก์ บั ดาตมั้ อ้างอิง

75

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมนั

ดาตมั้ อ้างอิง (Datum)

ดาตมั้ จะถกู อ้างอิงในกรอบควบคมุ รปู ลกั ษณ์ (Feature control frame) ในส่วนท่ีอย่ถู ดั จากช่อง Tolerance
value โดยจะอ้างอิงดาตมั้ อนั ดบั หนึ่ง (Primary datum) ดาตมั้ อนั ดบั สอง (Secondary datum) และดาตมั้
อนั ดบั สาม (Tertiary datum) ตามสาดบั โดยการเรียงลาดบั อ้างอิงการประกอบหรอื การสรา้ งแกน

Coordinate System และไม่จาเป็นต้องเรียงลาดบั ตามตวั อกั ษร

76

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมนั

ดาตมั้ อ้างอิง (Datum)

สญั ลกั ษณ์ท่ีใช้ในการกาหนดพื้นผิวดาตมั้ จะเป็นกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้าท่ีภายในจะมตี วั อกั ษรระบุช่ือดาตมั้
และมีเส้นชี้ที่มีหวั ลกู ศรรปู สามเหล่ียมกาหนดพืน้ ผิวของรปู ลกั ษณ์ท่ีต้องการกาหนดเป็นดาตมั้

กาหนดพืน้ ผิวเป็นดาตมั้

กาหนดระนาบกลางเป็ นดาตมั้

กาหนดแกนกลางเป็ นดาตมั้

77

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมัน รปู ทรง (Form)

ความราบ  Tolerance zone
Flatness

Drawing

ความราบ คือ สภาวะที่จดุ ทุกจดุ บนพืน้ ผิวอย่บู นระนาบเดียวกนั และเม่ือมองขนานกบั ผิวจะมองเหน็ ทุกจดุ ของ

พื้นผิวเรียงตวั เป็นเส้นตรง

ขอบเขตค่าความคลาดเคลื่อน ระนาบค่ขู นานทีม่ ีระยะห่างเท่ากบั ค่าความคลาดเคลือ่ นของความราบทีร่ ะบไุ ว้ใน

กรอบควบคมุ รปู ลกั ษณ์โดยทกุ จดุ ของผิวทีต่ ้องการควบคมุ ต้องอย่ภู ายใน Tolerance zone 78

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมัน รปู ทรง (Form)

ความตรง  Tolerance zone
Straightness

Drawing

ความตรง คือ สภาวะที่ทกุ จดุ ของแต่ละเส้นบนผิวรปู ลกั ษณ์ต่อกนั เป็นเส้นตรง

ขอบเขตค่าความคลาดเคลื่อน ประกอบด้วยเส้นตรงค่ขู นานทีม่ ีระยะห่างเท่ากบั ค่าพิกดั ความคลาดเคลือ่ น
ของความตรงทีร่ ะบไุ ว้ในกรอบควบคมุ รปู ลกั ษณ์

79

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมัน รปู ทรง (Form)

ความตรง  Tolerance zone
Straightness

Drawing

ความตรง คือ สภาวะที่ทกุ จดุ ของแต่ละเส้นบนผิวรปู ลกั ษณ์ต่อกนั เป็นเส้นตรง

ขอบเขตค่าความคลาดเคลื่อน ประกอบด้วยเส้นตรงค่ขู นานทีม่ ีระยะห่างเท่ากบั ค่าพิกดั ความคลาดเคลือ่ น
ของความตรงทีร่ ะบไุ ว้ในกรอบควบคมุ รปู ลกั ษณ์

80

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมนั รปู ทรง (Form)

ความกลม Tolerance zone

Circularity 

Drawing

ความกลม คือ สภาวะที่จดุ ทกุ จดุ บนเส้นรอบวงท่ีจดั วางในระนาบเดียวกนั มีระยะห่างจากจดุ

ศนู ยก์ ลางเดียวกนั
ขอบเขตค่าความความคลาดเคลื่อน ประกอบด้วยวงกลม 2 วงร่วมศนู ยก์ นั และความแตกต่างของรศั มี
เท่ากบั ค่าความคลาดเคลือ่ นของความกลมทีร่ ะบุไว้ในกรอบควบคมุ รปู ลกั ษณ์

81

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมนั รปู ทรง (Form)

ความเป็ นทรงกระบอก  Tolerance zone

Cylindricity

Drawing

ความเป็ นทรงกระบอก คือสภาวะท่ีจดุ ทกุ จดุ บนพื้นผิวที่จดั วางตงั้ ฉากกบั แกนกลาง มีระยะห่างจาก

แกนกลางเดียวกนั เป็นระยะเท่ากนั
ขอบเขตค่าความความคลาดเคลื่อน ประกอบด้วยทรงกระบอก 2 ท่อร่วมแกนกนั และมีระยะรศั มี
แตกต่างเท่ากบั ค่าความคลาดเคลือ่ นของความเป็นทรงกระบอกทีร่ ะบไุ ว้ในกรอบควบคมุ รปู ลกั ษณ์

82

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมัน ทิศทางการจดั วาง(Orientation)

ความตงั้ ฉาก  Tolerance zone
Perpendicularity

Drawing

ความตงั้ ฉาก คือสภาวะที่พื้นผิว ระนาบกลางหรือแกนกลาง ทามุม 90 องศาพอดีกบั ดาตมั้ อ้างอิง

ขอบเขตค่าความคลาดเคล่ือน มีลกั ษณะแตกต่างกนั ออกไปตามลกั ษณะของการควบคมุ
• ระนาบค่ขู นาน
• ท่อทรงกระบอก

83

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมัน ทิศทางการจดั วาง(Orientation)

ความตงั้ ฉาก  Tolerance zone
Perpendicularity

Drawing

ความตงั้ ฉาก คือสภาวะที่พื้นผิว ระนาบกลางหรอื แกนกลาง ทามมุ 90 องศาพอดีกบั ดาตมั้ อ้างอิง

ขอบเขตค่าความคลาดเคล่ือน มีลกั ษณะแตกต่างกนั ออกไปตามลกั ษณะของการควบคมุ
• ระนาบค่ขู นาน
• ท่อทรงกระบอก

84

Thai-German Institute  ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมัน Drawing ทิศทางการจดั วาง(Orientation)

ความเป็ นมมุ Tolerance zone
Angularity

ความเป็ นมมุ คือ สภาวะทพ่ี ืน้ ผวิ ระนาบกลางหรือแกนกลาง ทามุมตามที่กาหนดได้พอดกี บั ดาต้มั อ้างองิ

ขอบเขตค่าความความคลาดเคลื่อน มีลกั ษณะแตกต่างกนั ออกไปตามลกั ษณะของการควบคมุ
• ระนาบค่ขู นาน
• ท่อทรงกระบอก

85

Thai-German Institute  ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมัน Drawing ทิศทางการจดั วาง(Orientation)

ความเป็ นมมุ Tolerance zone
Angularity

ความเป็ นมมุ คือ สภาวะทพ่ี ืน้ ผวิ ระนาบกลางหรือแกนกลาง ทามุมตามที่กาหนดได้พอดกี บั ดาต้มั อ้างองิ

ขอบเขตค่าความความคลาดเคลื่อน มีลกั ษณะแตกต่างกนั ออกไปตามลกั ษณะของการควบคมุ
• ระนาบค่ขู นาน
• ท่อทรงกระบอก

86

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมนั ทิศทางการจดั วาง(Orientation)

ความขนาน Tolerance zone

Parallelism 

Drawing

ความขนาน คือ สภาวะท่ีพืน้ ผิว ระนาบกลางหรือแกนกลาง มีระยะห่างคงท่ีกบั ดาตมั้ อ้างอิง

ขอบเขตค่าความคลาดเคลือ่ น มลี กั ษณะแตกต่างกนั ออกไปตามลกั ษณะของการควบคมุ
• ระนาบค่ขู นาน
• ท่อทรงกระบอก

87

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมนั ทิศทางการจดั วาง(Orientation)

ความขนาน Tolerance zone

Parallelism 

Drawing

ความขนาน คือ สภาวะท่ีพืน้ ผิว ระนาบกลางหรือแกนกลาง มีระยะห่างคงท่ีกบั ดาตมั้ อ้างอิง

ขอบเขตค่าความคลาดเคลือ่ น มลี กั ษณะแตกต่างกนั ออกไปตามลกั ษณะของการควบคมุ
• ระนาบค่ขู นาน
• ท่อทรงกระบอก

88

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบันไทย-เยอรมนั การจดั วางที่ตงั้ (Location)

ความได้ตาแหน่ง  Tolerance zone

Position

Drawing

ความได้ตาแหน่ง คือ ตาแหน่งหรือที่ตงั้ ท่ี จดุ แกนกลางหรอื ระนาบกลางของ Feature of size ท่ีจดั วาง

สมั พนั ธก์ บั ดาตมั้ อ้างอิง
ขอบเขตค่าความคลาดเคลือ่ น มีลกั ษณะแตกต่างกนั ออกไปตามลกั ษณะของการควบคมุ
• ระนาบค่ขู นาน
• ท่อทรงกระบอก

89

Thai-German Institute  ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมนั การจดั วางที่ตงั้ (Location)

ความสมมาตร Tolerance zone
Symmetry

Drawing

ความสมมาตร คือ สภาวะท่ีจดุ ก่ึงกลาง (Derived median point) ของพืน้ ผิวที่ต้องการควบคมุ อย่บู น

ระนาบกลางของดาตมั้ อ้างอิง
ขอบเขตค่าความคลาดเคลือ่ น ประกอบด้วยระนาบค่ขู นานท่มี ีระยะห่างเท่ากบั ค่าความคลาดเคลอื่ นของความ
สมมาตรท่รี ะบุไว้ในกรอบควบคมุ รูปลกั ษณ์

90

Thai-German Institute  ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมัน การจดั วางที่ตงั้ (Location)

ความร่วมศนู ย์ Tolerance zone
Concentricity

Drawing

ความร่วมศนู ย์ คือ สภาวะท่ีจดุ ก่ึงกลาง (Median point) ของพืน้ ผิวที่ต้องการควบคมุ อย่บู นแกนกลาง

ของดาตมั้ อ้างอิง
ขอบเขตค่าความคลาดเคลื่อน มีลกั ษณะเป็นท่อทรงกระบอกหรอื วงกลมซึง่ มขี นาดเส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง
เท่ากบั ค่าความคลาดเคลือ่ นของความร่วมศนู ยท์ ีร่ ะบไุ ว้ในกรอบควบคมุ รปู ลกั ษณ์

91

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมนั

ความเบ่ียงเบนเน่ืองจากการหมนุ ใน ความเบี่ยงเบนเนื่องจากการหมนุ (Runout)

ระนาบ (Circular runout) 

Drawing Tolerance zone

ความเบี่ยงเบนเนื่องจากการหมนุ ในระนาบ (Circular runout) คือ สภาวะการเคล่ือนที่ของผิว

เม่ือหมุนรอบแกนดาตมั้ โดยพิจารณาทีละวงที่วดั
ขอบเขตค่าความคลาดเคล่ือน มีลกั ษณะเป็นวงกลม
•วงกลม

92

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมัน

ความเบ่ียงเบนเน่ืองจากการหมนุ ตลอด ความเบี่ยงเบนเนื่องจากการหมนุ (Runout)

ทงั้ พื้นผิว (Total runout)

Drawing Tolerance zone

ความเบย่ี งเบนเน่ืองจากการหมนุ ตลอดทงั้ พืน้ ผิว (Total runout) สภาวะการเคลื่อนที่ของผิว

เมอื่ หมนุ รอบแกนดาตมั้ โดยพิจารณาจากทุกจดุ บนพนื้ ผิวพรอ้ มกนั
ขอบเขตความคลาดเคลื่อน มีลกั ษณะเป็นท่อทรงกระบอก

93

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมัน

รปู โครงร่างของเส้นใดๆ  รปู โครงรา่ งใดๆ (Profile)
(Profile of a line)

Drawing Tolerance zone

รปู โครงร่างของเส้นใดๆ (Profile of a line) คือสภาวะที่จดุ ทุกจดุ ของเส้นโครงร่างบนพืน้ ผิวของ

ชิ้นงาน อย่ใู นตาแหน่งเดียวกนั กบั พื้นผิวจริง
ขอบเขตค่าความคลาดเคลื่อน ประกอบด้วยพ้นื ผิว 2 พ้ืนผิว ทีท่ าการ offset ออกจากพ้ืนผิวทางทฤษฎีและ
มีระยะห่างเท่ากบั ค่าความคลาดเคลือ่ นของ Profile of a surface ทีร่ ะบไุ ว้ในกรอบควบคมุ รปู ลกั ษณ์

94

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมนั

รปู โครงรา่ งของพนื้ ผิวใดๆ  รปู โครงรา่ งใดๆ (Profile)
(Profile of a surface)

Drawing Tolerance zone

รปู โครงรา่ งของพนื้ ผิวใดๆ (Profile of a surface) คือสภาวะท่ีจดุ ทุกจดุ บนพื้นผิวใดๆ อย่ใู น

ตาแหน่งเดียวกนั กบั พืน้ ผิวทางทฤษฎี สภาวะการเคล่ือนท่ีของผิวเมอื่ หมนุ รอบแกนดาตมั้ โดยพิจารณาจาก
ทกุ จดุ บนพื้นผิวพรอ้ มกนั
ขอบเขตค่าความคลาดเคลื่อน ประกอบด้วยพ้ืนผิว 2 พ้ืนผิว ทีท่ าการ offset ออกจากพ้ืนผิวทางทฤษฎี
และมีระยะห่างเท่ากบั ค่าความคลาดเคลือ่ นของ Profile of a surface ทีร่ ะบุไว้ในกรอบควบคมุ รปู ลกั ษณ์

95

Thai-German Institute ความหมายของสญั ลกั ษณ์ GD&T ตามมาตรฐาน ASME Y14.5-2009

สถาบนั ไทย-เยอรมนั

96


Click to View FlipBook Version