The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบควมรู้เรื่องดินและหิน จะบอกถึงเนื้อหาสาระเรื่องดินและหิน นักเรียนและผู้สนใจสามารถศึกษาหาความรู้ได้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Fangfang EsanRecord, 2019-09-07 02:10:14

ใบความรู้เรื่อง ดินและหิน

ใบควมรู้เรื่องดินและหิน จะบอกถึงเนื้อหาสาระเรื่องดินและหิน นักเรียนและผู้สนใจสามารถศึกษาหาความรู้ได้

1

หนํวยการเรยี นรทู๎ ี่ 1 ดินและหนิ

มาตรฐาน ว 6.1 เขา๎ ใจกระบวนการตํางๆ ทเ่ี กดิ ขึ้นบนผวิ โลกและภายในโลก ความสมั พนั ธข๑ องกระบวนการตํางๆ ทมี่ ี
ผลตํอการเปล่ียนแปลงอุณหภมู ิอากาศ ภูมปิ ระเทศและสณั ฐานของโลก มกี ระบวนการสบื เสาะหาความรู๎
และจิตวิทยาศาสตร๑ส่ือสารสิ่งท่ีเรียนรู๎และนาความรไ๎ู ปใชป๎ ระโยชน๑
ตัวชวี้ ัด
ว 6.1 ม.2/1 สารวจ ทดลองและอธิบายลกั ษณะของชั้นหน๎าดิน สมบตั ขิ องดนิ และกระบวนการเกดิ ดิน
ว 6.1 ม.2/2 สารวจ วเิ คราะหแ๑ ละอธบิ าย การใช๎ประโยชนแ๑ ละการปรับปรุงคณุ ภาพของดนิ
ว 6.1 ม.2/3 ทดลอง เลยี นแบบเพ่ืออธิบายกระบวนการเกดิ และลักษณะองคป๑ ระกอบของหนิ
ว 6.1 ม.2/4 ทดสอบ และสังเกตองค๑ประกอบและสมบตั ิของหิน เพือ่ จาแนกประเภทของหินและนาความรู๎ไปใช๎
ประโยชน๑

2

ดนิ

จดุ ประสงค๑การเรยี นรู๎

1. อธบิ ายกระบวนการเกิดดิน

2. ทดลองและอธบิ ายสมบตั ิของดนิ

3. อธิบายสมบตั ิของช้นั หนา๎ ตดั ดนิ

4. วเิ คราะห๑อธบิ ายการใชป๎ ระโยชน๑และการปรบั ปรุงคณุ ภาพของดิน

ดิน (Soil)หมายถึง วตั ถุท่เี กดิ ตามธรรมชาติ โดยเกดิ จากการสลายตวั ทางกายภาพและทางเคมขี องหิน แรํ

รวมทง้ั การสลายตัวของสารอินทรีย๑ เชนํ ใบไม๎ ก่งิ ไม๎ทห่ี ลนํ ลงสูพํ ืน้ ดนิ ซากสตั ว๑ ของเสียท่สี ตั ว๑ขบั ถํายออกมา ส่งิ

เหลาํ น้ีจะถกู สงิ่ มีชวี ิตเลก็ ๆในดนิ เชนํ แมลงและแบคทเี รยี สลายซากพืชซากสตั วท๑ าใหด๎ ินมีสดี าเรยี กวํา ฮิวมัส

(Humus)ซ่งึ อุดมไปด๎วยแรํธาตุท่พี ืชใช๎ในการเจริญเตบิ โต ฮิวมัสและดนิ ที่สลายตวั จากหนิ และแรํผสมกันเปน็ ดนิ ท่ี

เรียกวาํ ดนิ ช้ันบน

หนา๎ ตดั ข๎างของดิน(soil profile)

ดนิ มลี กั ษณะและสมบัตแิ ตกตาํ งกนั ตามชนิดของหนิ ตน๎ กาเนิด และตามสภาพแวดลอ๎ มหรือลกั ษณะภมู ิประเทศ

นอกจากภมู ปิ ระเทศจะเปน็ ปจั จัยหนง่ึ ท่ีมีผลตอํ การกาเนิดดนิ ยังมปี จั จยั อนื่ คือวัตถตุ น๎ กาเนดิ ดนิ สภาพภมู อิ ากาศ

สิง่ มีชวี ติ ซงึ่ เหน็ ได๎จากการเปดิ ผิวหนา๎ ดินเป็นไปตามแนวดิ่งทเี่ รียกวาํ ชน้ั หน๎าตดั ดนิ นักวทิ ยาศาสตรก๑ าหนดช่ือชั้นดนิ

จากหน๎าตดั ดนิ เป็นชั้น O A B C

ชัน้ O หรือชนั้ ดินอินทรียวัตถุ ตามปกติจะอยํูตอนบนสุด
ของหนา๎ ตดั ดินเปน็ ชั้นทป่ี ระกอบดว๎ ยอนิ ทรียวัตถหุ รือฮวิ มัสสะสมตัว

อยมํู ากเปน็ สํวนใหญมํ สี ีคํอนขา๎ งดาจดั ประกอบดว๎ ยเศษซากพชื ตํางๆ
ที่ยังไมํผุพังสลายตัว หรอื มีการสลายตวั บา๎ ง

ช้ัน A เปน็ ช้ันดนิ แรํเปน็ เขตการซมึ ชะ เปน็ ชั้นทีน่ า้ ซึมผาํ น
จากชั้นบนแล๎วทาปฏิกริ ยิ ากบั แรํ บางชนดิ เกิดการสลายตัวของแรํ
เม่ือมกี ารยอํ ยสลายของรากพชื และมกี ารสะสมอินทรียวตั ถสุ ารละลาย
ท่ไี ดจ๎ ะซมึ ผาํ นลงไปสะสมตวั ในชนั้ ตํอไปทาให๎ดนิ ชน้ั นมี้ ีสีจางลง

ภาพแสดงชัน้ หนา๎ ตดั ขา๎ งดนิ ชน้ั B หรอื ชน้ั สะสม เป็นชน้ั หลักของหนา๎ ตัดดิน มักจะมี
ฮวิ มัส คอื ซากพืชซากสตั ว๑ท่ี ความหนามากกวาํ ชนั้ ดินอืน่ ๆมกี ารสะสมของวสั ดจุ ากชัน้ ดินตอนบน
เนาํ เป่ือยยอํ ยสลายอยูใํ นดนิ เชํนเหลก็ และอะลมู เิ นียม ซลิ เิ กต มปี ริมาณของอนภุ าคขนาดดนิ
มีสนี ้าตาลดา มี เหนยี ว สูงกวําสวํ นบนของหนา๎ ตัดดิน
สารอาหารทพ่ี ชื ตอ๎ งการ
ช้นั C ชั้นการผุพงั ของหนิ เป็นช้นั ทีเ่ หมอื นกบั วัตถตุ น๎
กาเนิดของดินข๎างบน วสั ดทุ เ่ี กาะตวั กนั อยํูหลวมๆประกอบด๎วยสํวน
ปรกั หักพงั ของหนิ และแรํท่กี าลังสลายตัว

3

กระบวนการเกดิ ดิน อนิ ทรีย๑
หนิ และแรํ สลายตวั
สลายตัว
วัตถุต๎นกาเนิด พืชและสตั วช๑ วํ ยคลุกเคลา๎ ฮิวมสั

ปัจจัยในการเกดิ ดิน ดนิ

ภาพแสดงปัจจยั ที่เกย่ี วข๎องกบั การเกดิ ดนิ

1. ภมู อิ ากาศมผี ลตํอการสร๎างตัวของดนิ ที่สาคัญคอื อณุ หภมู แิ ละหยาดน้าฟ้า เชนํ ฝน นา้ คา๎ ง หมิ ะ ฯลฯ
ซึ่งมีผลตอํ อัตราการผพุ งั สลายตวั ของวสั ดุตํางๆ ท้งั หนิ แรํ และเศษซากส่ิงมชี ีวติ ตาํ งๆ รวมทง้ั ยังมีอทิ ธิพลตํอ
กระบวนการเพิม่ เตมิ เปลยี่ นแปลง เคล่ือนย๎าย และสญู เสยี วสั ดตุ าํ งๆ ท่ีเกดิ ข้นึ ในดนิ ด๎วย โดยทวั่ ไปการผพุ ัง
สลายตวั ของวัสดุตาํ งๆ ในพืน้ ที่เขตร๎อนจะเกิดได๎รวดเร็วกวําในเขตอบอุนํ หรือเขตหนาว
2. ส่ิงมชี วี ิตซากพชื และสัตวเ๑ ปน็ แหลงํ ของอินทรยี วตั ถใุ นดิน โดยส่งิ มชี วี ิตตํางๆรวมท้ังจลุ ินทรยี ด๑ นิ ชํวยใน
การยํอยสลายทัง้ กระบวนการทางกายภาพ เคมี และชวี ภาพทาใหส๎ มบตั ิของดนิ เหมาะสมตอํ การเจรญิ เตบิ โตของพชื
เปน็ แหลํงเก็บสะสมอาหารตามธรรมชาตใิ นดนิ
3. ลักษณะภูมิประเทศมอี ิทธิพลตอํ อุณหภมู แิ ละความช้นื ในดนิ ระดับน้าใตด๎ ิน การเจริญเติบโตของพชื
พรรณ การผพุ งั สลายตัวของหนิ การไหลบาํ และไหลซมึ ของนา้ การชะล๎างพังทลายของดิน การทับถมของอินทรียวัตถุ
ในดนิ ดนิ ที่พบบรเิ วณทม่ี ีความลาดชนั มากๆ มักจะเปน็ ดนิ ตื้น มชี ้นั ดนิ น๎อย ชัน้ ดินบนบาง หรืออาจจะไมมํ ชี ้ันดนิ
บนเลย มโี อกาสเกิดการชะลา๎ งหนา๎ ดนิ มาก ตาํ งจากดินที่อยํูบริเวณพนื้ ราบทีม่ กั จะมดี นิ ชนั้ บนท่หี นากวําเปน็ แหลงํ
สะสมและทบั ถมของตะกอน มกี ารชะล๎างหนา๎ ดนิ ตา่

4

4. วตั ถุตน๎ กาเนดิ ดิน มีอทิ ธพิ ลตอํ ลกั ษณะและสมบตั ิตาํ งๆ ของดนิ ทีเ่ กดิ ขนึ้ เชํน เนื้อดนิ สีดนิ ชนดิ และ
ปรมิ าณธาตุอาหารในดนิ วตั ถตุ น๎ กาเนดิ ดนิ ทผ่ี ุพงั สลายตัวมาจากหินทราย จะใหเ๎ น้อื ดนิ หยาบ มสี จี าง มธี าตอุ าหาร
พชื นอ๎ ย ความอดุ มสมบรู ณต๑ า่ ถ๎าเปน็ ดินทีเ่ กดิ จากการสลายตวั ของหินบะซอลตห๑ รอื หินภเู ขาไฟสเี ขม๎ จะให๎เน้ือดิน
เปน็ ดินเนือ้ ละเอียด เหนยี ว หรือรวํ นเหนยี ว อาจมีสีดา นา้ ตาล เหลอื ง หรือแดง มีความอดุ มสมบรู ณต๑ ัง้ แตํสูงจนถงึ
ต่า ขึน้ อยํกู ับระยะเวลาในการพัฒนา
5. เวลาลกั ษณะและสมบัตบิ างประการในการเปรียบเทยี บอายขุ องดนิ ได๎ เชนํ ความลกึ ของดนิ ความหนา
ของชั้นดนิ สีของดิน เป็นตน๎ ช้ันดนิ ท่มี ีการสะสมอนิ ทรียวัตถุหนากวาํ แสดงวาํ มีระยะเวลาในการพัฒนามากกวาํ
แม๎วําจะเรมิ่ พฒั นาพรอ๎ มกันก็ตาม ดนิ ลกึ มรี ะยะเวลาการพฒั นามากกวําดนิ ตน้ื หรือดนิ สแี ดงผํานกระบวนการ
เปลีย่ นแปลงมานานกวาํ ดินสดี าหรือสนี ้าตาล จงึ ถอื เปน็ ดนิ สีแดงมอี ายุมากกวาํ

องคป๑ ระกอบของดิน

ภาพแสดงองคป๑ ระกอบของดนิ

1. อนนิ ทรียวตั ถเุ ป็นสวํ นที่สาคญั ในการควบคมุ ลกั ษณะของเนื้อดนิ เปน็ แหลํงกาเนิดของธาตอุ าหารพืชและ
เป็นแหลํงอาหารของจลุ นิ ทรีย๑ในดนิ
2. อินทรียวตั ถมุ ีความหมายครอบคลมุ ต้งั แตสํ ํวนของซากพืชซากสัตวท๑ ี่กาลงั สลายตวั เซลลจ๑ ลุ ินทรีย๑ ท้ังทีม่ ี
ชวี ิตอยูํและในสํวนท่ีตายแลว๎ ตลอดจนสารอนิ ทรยี ท๑ ่ไี ด๎จากการยํอยสลายหรอื สวํ นทถ่ี กู สังเคราะหข๑ ้นึ มาใหมํแตไํ มรํ วมถึง
ซากพืชหรอื ซากสัตว๑ท่ียงั ไมมํ กี ารยอํ ยสลาย
3. นา้ ในดินหมายถึงสวํ นของนา้ ทีพ่ บอยใํู นชอํ งวํางระหวาํ งอนุภาคดินหรอื เมด็ ดินมีความสาคัญมากตํอการ
ปลกู และการเจริญเติบโตของพชื เนือ่ งจากเป็นตวั ชํวยในการละลายธาตอุ าหารตาํ งๆในดนิ และเป็นสํวนสาคญั ในการ
เคลื่อนย๎ายอาหารพชื จากรากไปสํูสวํ นตํางๆของพืช

4. อากาศในดนิ หมายถึง สวํ นของกา๏ ซตาํ งๆท่ีแทรกอยูใํ นชํองวาํ งระหวํางเม็ดดินในสํวนที่ไมมํ นี ้าอยกํู า๏ ซท่ี
พบโดยทัว่ ไปในดนิ คอื ก๏าซไนโตรเจน ออกซเิ จน และคารบ๑ อนไดออกไซด๑ ซ่งึ รากพชื และจลุ ินทรยี ด๑ ินใช๎ในการหายใจ
และสรา๎ งพลังงานในการดารงชีวติ

รู๎ไหมวาํ ....

ปริมาตรของแตลํ ะสํวนประกอบของดินท่ีเหมาะสมแกกํ ารเพาะปลกู โดยท่ัวไปจะมี
อนนิ ทรยี วตั ถ4ุ 5% อินทรียวตั ถุ 5%นา้ 25% และอากาศ 25%

5

สมบตั ขิ องดนิ

1. สมบตั ทิ างกายภาพ ได๎แกํ เนอ้ื ดนิ และสีของดิน

2. สมบัตทิ างเคมี ไดแ๎ กํ ความเปน็ กรด เบส

1. สมบตั ิทางกายภาพ

 เน้อื ดิน เปน็ สมบตั ิที่บอกถึงความหยาบหรือละเอียดของดิน มีผลตํอการดดู ซบั นา้ การดูดยึดธาตุ

อาหาร และปฏกิ ิริยาตํางๆ ท่ีเกดิ ขน้ึ ในดินเนื้อดินเป็นผลมาจากการรวมตัวกันของช้นิ สวํ นเลก็ ๆ ที่เราเรยี กกนั วํา

“อนภุ าคของดิน” อนภุ าคเหลาํ น้มี ีขนาดไมํเทํากนั แบงํ ออกได๎เปน็ 3 กลุมํ คือ

- ขนาดใหญํ เรยี กวาํ อนภุ าคขนาดทราย (เส๎นผาํ ศนู ย๑กลาง 2.0-0.05 มลิ ลิเมตร)

- ขนาดกลาง เรยี กวํา อนุภาคขนาดทรายแป้ง (เสน๎ ผําศูนย๑กลาง 0.5-0.02 มิลลเิ มตร)

- ขนาดเลก็ เรยี กวาํ อนุภาคขนาดดินเหนยี ว (เสน๎ ผําศูนย๑กลาง เลก็ กวาํ 0.02 มลิ ลเิ มตร)

เนอื้ ดินแบงํ เป็นกลุํมใหญๆํ ได๎ 3 กลํมุ คอื

ดนิ ทราย

- มีอนุภาคขนาดทราย เปน็ ดนิ ทีม่ ีทรายประกอบอยูรํ ๎อยละ 85

- เนอ้ื ดนิ ท่แี ห๎งจะรู๎สึกสากมอื

- ระบายนา้ และอากาศดมี าก

*เนอื้ ดินทีอ่ ยใูํ นกลมํุ นี้ ไดแ๎ กํ ดินทราย และดินทรายปนดนิ รวํ น

ดนิ รวํ น - มอี นภุ าคขนาดทรายแป้ง และดนิ เหนยี วในปริมาณใกล๎เคยี งกัน

- เนื้อดนิ คํอนขา๎ งละเอียดนํุมมอื

- มีการระบายน้าและถํายเทอากาศดี อุดมสมบูรณ๑

*เนื้อดนิ ท่อี ยํูในกลุมํ นี้ ไดแ๎ กํ ดนิ รํวน ดนิ รวํ นปนทราย ดนิ รํวนปนทรายแป้ง

ดินรํวนปนดนิ เหนยี ว

ดนิ เหนียว - มีอนภุ าคขนาดดินเหนียวตงั้ แตํร๎อยละ 40 ข้นึ ไป

- เนือ้ ดนิ ละเอยี ด ลักษณะเหนียวตดิ มอื

- มที งั้ ทรี่ ะบายน้าและอากาศดีและไมํดี สามารถอุม๎ นา้

*เนือ้ ดินทีอ่ ยูํในกลมํุ น้ี ไดแ๎ กํ ดนิ เหนยี ว ดนิ เหนยี วปนทรายดนิ เหนียวปน

ทรายแป้ง

รไ๎ู หมวํา.......ดนิ สอพอง คือดนิ ชนิดหนงึ่ !!
ดินสอพองหรอื ดินมารล๑ ไมใํ ชแํ รดํ นิ แตหํ มายถึงดนิ ท่มี ีเน้อื คอํ นขา๎ งรํวนและมีสวํ นประกอบท่ี

สาคญั เปน็ แคลเซยี มคารบ๑ อเนต ดินมาร๑ลเกิดจากผุพังของหนิ ปูน ประโยชน๑ ดนิ มารล๑ ใช๎เป็นวัตถุดบิ ใน
การผลิตปนู ซีเมนต๑ ใช๎ดา๎ นเกษตรกรรม และยังมปี ระโยชน๑ในเรื่องความสวยความงามคอื ขัดหน๎า
พอกหน๎า ขจัดสวิ เส้ยี ว ลดผดผ่นื ศึกษาข๎อมลู เพิม่ เตมิ ได๎ท่ี http://www.dmr.go.th

6

 สีของดนิ ดนิ แตํละบริเวณจะมีสีทแ่ี ตกตาํ งกนั ไป เชํนสดี านา้ ตาลเหลืองแดง สเี ทาซึ่งขึน้ อยํูกบั ชนดิ

ของแรทํ เ่ี ปน็ องคป๑ ระกอบในดินสภาพแวดลอ๎ มในการเกิดดิน ระยะเวลาการพฒั นา หรือวัสดอุ ืน่ ๆ ท่ีมีอยูํในดนิ

สขี องดิน ลักษณะของดนิ

ดนิ สีนา้ ตาลเข๎มหรือสีดา - ดนิ น้ันมอี ินทรียวตั ถุอยใูํ นดนิ มาก หรอื เปน็ ดินท่เี กิด

จากการผุพงั สลายตัวของหิน-แรํ ทีม่ ีสเี ข๎ม เชนํ หินภูเขา

ไฟพวกบะซอลทแ๑ กบโบร

- มกั มีความอดุ มสมบรู ณ๑สูง เนือ่ งจากมอี ินทรียวัตถมุ าก

- ถา๎ เปน็ ดินท่ีลมุํ ตา่ หนา๎ ดินมีสคี ลา้ และดินชั้นลํางมสี ีเทา

เนอ่ื งจากสภาพอับอากาศ จะต๎องเตรยี มการระบายนา้

ดนิ สีขาวหรือสีเทาอํอน - อาจเกิดจากวัตถุตน๎ กาเนดิ ดิน มาจากหินทีม่ สี ีจาง

หรือเป็ นทรายมาก หรือ บริเวณทม่ี ีสจี างนน้ั เกดิ

กระบวนการทางดิน ท่ีทาให๎ธาตุตาํ งๆ ถกู ชะล๎างออกไป

จากช้นั ดินจนหมด เชนํ ชน้ั ดิน E หรอื เกดิ จากการสะสม

ของปูน (lime) หรือยิปซมั ( gypsum) หรอื เกลอื

ชนิดตาํ งๆ กไ็ ด

- มักเปน็ ดนิ ท่ีมีความอุดมสมบรู ณต๑ ่า มกี ารระบายน้าดี

ดินสีเหลอื งหรอื สีแดง - เป็นดนิ ท่มี ีอตั ราการผุพังสลายตวั สูง เน่อื งจาก มพี วก

ออกไซดข๑ องเหลก็ เคลอื บผิวอนภุ าคมาก

- มกั เกดิ ในในบริเวณท่สี ูงตามเนินเขาหรือที่ราบไหลํเขา

- ดนิ เหลาํ นม้ี กี ารระบายนา้ ดีถงึ ดมี าก ถา๎ ดนิ มกี าร

ระบายนา้ ในหนา๎ ตัดดินดีอยูํเสมอ สํวนใหญํจะมสี แี ดง แตํ

ถา๎ การระบายนา้ ของดินไมดํ เี ทาํ กรณีแรก ดนิ จะมีสเี หลือง

ดินสีเทาปนนา้ เงิน - ดินบริเวณนัน้ อยใูํ นสภาวะทีม่ ีน้าขังตลอด

- มีการระบายนา้ ไมเํ พียงพอ ทาใหส๎ ารประกอบของ

เหลก็ อยูใํ นรูปท่มี สี ีเทา

ดินสปี ระหรอื ดนิ ท่ีมีหลายสผี สมกัน ดนิ บรเิ วณน้ัน อยํใู นสภาพทม่ี นี า้ แชขํ ังสลบั สภาพทด่ี นิ แห๎ง

โดยทัว่ ไปมักปรากฏเป็นจุดประสเี หลืองหรือสแี ดงบนวัสดุ

พ้นื สีเทา เปน็ ผลมาจาก การเปลยี่ นแปลงของ

สารประกอบของเหล็ก ที่จะแสดงสเี ทาเม่อื อยใํู นสภาวะท่ี

มนี ้าขงั (ขาดออกซิเจน) และเปลีย่ นรูปเปน็ สารทใี่ ห๎สแี ดง

เมื่ออยํใู นสภาวะดินแหง๎ (มอี อกซิเจนมาก)

มกั จะพบในดนิ นาซ่ึงมคี วามสูงจากระดับน้าทะเล

พอสมควร ซง่ึ นา้ ระบายจากหนา๎ ตัดจนแหง๎ ไดใ๎ นฤดูแล๎ง

หลงั การเก็บเกยี่ ว

7

2. สมบตั ทิ างเคมี
ความเป็นกรด-เบส หมายถึง ปรมิ าณของไฮโดรเจนที่มอี ยํใู นดนิ ความเป็นกรด-เบส กาหนดคําเป็นตัวเลข

ต้งั แตํ 1-14 เรยี กคําตัวเลขนว้ี าํ คาํ pH โดยจดั วาํ
- สารละลายใดที่มคี ํา pH นอ๎ ยกวํา7 สารละลายนน้ั มีสมบตั ิเปน็ กรด
- สารละลายใดทีม่ ีคาํ pH มากกวาํ 7 สารละลายนัน้ มีสมบตั ิเป็นเบส
- สารละลายใดทม่ี คี ํา pH เทาํ กับ7 สารละลายนนั้ มีสมบตั เิ ปน็ กลาง

การแก๎ไขปรบั ปรงุ คุณภาพของดิน
ปัญหาท่ีเกดิ กับดินทง้ั จากธรรมชาติและการใชป๎ ระโยชน๑ของมนุษย๑มหี ลายลักษณะ เชนํ ดินขาดความอดุ ม

สมบรู ณ๑ ดินเปรีย้ ว ดนิ เคม็ และดินฝาด เปน็ ตน๎ ซึง่ ล๎วนแตสํ งํ ผลตอํ การเจรญิ เตบิ โตของพืช การแกป๎ ัญหาดงั กลาํ วของ
ดินจึงจาเปน็ ตอ๎ งใช๎หลายวิธีทแ่ี ตกตาํ งกัน ดังนี้

1. การปรบั ความเปน็ กรด – เบสของดิน

 ดนิ เปร้ียว คือ ดินทีม่ ีสภาพเปน็ กรด บางบรเิ วณอาจเป็นดนิ ทีเ่ ปร้ยี วมากๆ จนพืชไมสํ ามารถเจรญิ เติบโต
ไดเ๎ ทําทค่ี วร เพราะสภาพทางเคมีและชีวภาพได๎ถกู เปล่ียนแปลงไปในทางท่ไี มเํ หมาะสมกบั การเจรญิ เติบโต ต๎องแก๎ไข
โดยการใสสํ ารทเี่ ป็นเบสลงในดนิ ใหม๎ ปี รมิ าณเทาํ กับความเปน็ กรดทงั้ หมดของดิน สารท่ีใชท๎ ัว่ ๆไป เชํน ปูนขาว

 ดินเคม็ เป็นบรเิ วณท่มี ีระดบั ความเข๎มข๎นของเกลอื ในดนิ สูง พชื ไมํสามารถดูดนา้ จากดนิ มาเล้ยี งลาต๎นได๎
ทาใหใ๎ บพืชไหมแ๎ ละลาต๎นเหีย่ ว การแกไ๎ ขทาไดโ๎ ดยการใชน๎ ้าจืดชะล๎างเกลอื แลว๎ ระบายนา้ เกลอื ทิง้ หรือใช๎กามะถันผง
หรอื แคลเซียมซัลเฟต เตมิ ลงไปเพ่อื ทาให๎เกดิ เกลือโซเดียมซัลเฟตทน่ี า้ ชะลา๎ งออกได๎งาํ ย

 ดนิ ฝาดเป็นดินทเ่ี ปน็ เบสมาก ไมํเหมาะตอํ การเจริญเติบโตของพชื การแกไ๎ ขคอํ นข๎างยํุงยากและซับซอ๎ น
กวําดนิ ทผี่ ิดปกติชนดิ อ่ืนๆ แตกํ ส็ ามารถแกไ๎ ขได๎โดยเติมกามะถันผงลงในดนิ

2. การปลูกพืชหมุนเวียนแมว๎ ําการปลกู พชื จะเป็นการชํวยอนรุ กั ษด๑ นิ วธิ ีหน่ึง แตํการปลกู พืชชนิดเดยี วซา้ ๆ อยํูท่ี
เดมิ ตลอดเวลา จะทาให๎ดนิ จดื ขาดธาตอุ าหารท่ีจาเปน็ ตอํ พชื นน้ั เนอ่ื งจากพชื เพียงชนิดเดยี วจะมีการใชแ๎ รธํ าตทุ มี่ ี
ลกั ษณะเดยี วโดยตลอดจงึ จาเป็นตอ๎ งปลูกพชื หมนุ เวยี น และเพ่มิ สารอนิ ทรียใ๑ นดนิ

3. การใสปํ ุ๋ยเพ่อื เพิ่มแรธํ าตุ ดินเป็นสารผสมทปี่ ระกอบดว๎ ยอนภุ าคของสารหลายชนดิ และสัดสวํ นในการผสมกนั
ของอนภุ าคเหลําน้ีจะแตกตํางกันไป ในท่ีตํางๆ ทาใหด๎ นิ มีสมบัติตํางกนั ดังนน้ั การใสํปยุ๋ จึงมวี ัตถปุ ระสงค๑ ดังนี้

- เพอื่ เพ่ิมเกลอื แรใํ หก๎ บั ดนิ เกลือแรํบางชนดิ จาเปน็ ตอํ การเจรญิ เติบโตของพชื เชนํ เกลอื แรํของธาตไุ นโตรเจน
ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และอนื่ ๆ

- เพอื่ เพ่ิมสารอนิ ทรยี ๑ในดนิ อาจกระทาได๎โดยใชป๎ ุ๋ยพชื สด ป๋ยุ คอกและปยุ๋ หมักซงึ่ ปุ๋ยอินทรียเ๑ หลาํ น้ี จะชํวย
ใหด๎ ินมคี วามสามารถอุ๎มนา้ ดขี ้นึ อากาศแทรกซึมไดส๎ ะดวก และลดอัตราการสูญเสยี หน๎าดนิ

เกรด็ นาํ ร.๎ู...
“ การแกล๎งดิน “ เป็นแนวพระราชดารขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา๎ อยูํหัวภมู พิ ลอดลุ ยเดชเก่ยี วกบั การแก๎ปญั หาดนิ
เปรี้ยว หรือดินเป็นกรดโดยมกี ารขังนา้ ไวใ๎ นพ้ืนทจ่ี นกระทงั่ เกิดปฏิกิริยาเคมีทาให๎ดนิ เปร้ยี วจัดจนถงึ ทส่ี ดุ แล๎วจึงระบาย
น้าออกและปรับสภาพฟน้ื ฟูดนิ ด๎วยปนู ขาวจนกระทั่งดินมีสภาพดีพอทจ่ี ะใช๎ในการเพาะปลกู ได๎
ศึกษาขอ๎ มูลเพื่อเติมไดท๎ ี่ http://www.xn--12co9drbac8a9as5aiidh8isei1npa.com/content/

8

หนิ

จุดประสงค๑การเรยี นรู๎
1. ทดลองเลยี นแบบและอธิบายกระบวนการเกดิ หนิ อคั นี
2. ทดสอบ สังเกตองค๑ประกอบและสมบัติของหนิ อคั นี
3. จาแนกประเภทของหินอคั นแี ละยกตวั อยาํ งการนามาใช๎ประโยชน๑
4. ทดลองเลยี นแบบและอธิบายกระบวนการเกิดหินตะกอน
5. ทดสอบ สังเกตองคป๑ ระกอบและสมบตั ิของหินตะกอน
6. จาแนกประเภทของหนิ ตะกอนและยกตัวอยาํ งการนาหนิ มาใช๎ประโยชน๑
7. ทดลองเลยี นแบบและอธิบายกระบวนการเกดิ หินแปร
8. ทดสอบ สังเกตองค๑ประกอบและสมบตั ิของหนิ แปร
9. จาแนกประเภทของหินแปรและยกตวั อยาํ งการนาหนิ มาใชป๎ ระโยชน๑

หนิ (Rock) เป็นวสั ดุท่เี กดิ ข้ึนเองตามธรรมชาตทิ ีม่ นุษยร๑ ูจ๎ ักนามาใช๎ประโยชน๑ตัง้ แตํสมยั แรกเร่ิมที่มนุษยย๑ งั
อาศัยอยใํู นถ้าและตามเพิงผาธรรมชาติ มคี วามแขง็ ขนาดและสีแตกตาํ งกนั มนษุ ย๑ในสมยั กํอนนาหนิ มากะเทาะให๎มี
เหล่ยี มคมเพื่อใชเ๎ ปน็ อาวธุ เรยี กวํา หินกะเทาะ และใชห๎ นิ ขดั ถูกันใหเ๎ กิดประกายไฟเพ่อื ใชใ๎ นการกอํ ไฟ จงึ เรียกมนษุ ย๑
สมัยน้ันวํา มนุษย๑ยุคหิน ตํอมาเมื่อมนุษยร๑ ๎ูจกั พฒั นาเทคโนโลยีสูงขน้ึ จึงไดน๎ ามาใช๎ประโยชน๑ในการกํอสร๎างท่อี ยํู
อาศัย ตลอดจนดัดแปลงทาเคร่อื งใช๎ เครือ่ งประดบั นกั ธรณีวิทยาจาแนกหินตามลกั ษณะการเกดิ ออกเป็น
3 ประเภท ได๎แกํ หินอคั นี หนิ ตะกอนหรอื หนิ ชั้นและหนิ แปร
ลกั ษณะทั่วไปของหิน

หนิ มลี กั ษณะเนื้อหินหลายลกั ษณะแตกตํางกนั แตลํ ะชนิดมสี ี ลกั ษณะเนื้อหิน ขนาดและรปู ราํ งของตะกอน
และผลึก รวมถึงองคป๑ ระกอบตํางๆ โดยหนิ แตลํ ะประเภทก็สามารถระบลุ กั ษณะเดํนของหนิ แตํละประเภทได๎ ดงั น้ี

หนิ อคั นี เนอื้ หนิ จะมีลกั ษณะเป็นผลึกเก่ียวประสานกนั มที ั้งผลกึ ขนาดใหญํ ขนาดเลก็ และผลกึ ทเ่ี ล็กมาก
จนไมํสามารถมองเห็นได๎ดว๎ ยตาเปลํา บางชนิดอาจเปน็ เนือ้ แก๎ว หรือฟองอากาศ มีทง้ั สเี ขม๎ สีจาง ทุบให๎แตกคอํ นข๎าง
ยาก สํวนมากไมทํ าปฏกิ ริ ยิ ากบั กรดไฮโดรคลอริก

หินตะกอน หรือหนิ ชั้น เนื้อหนิ สํวนใหญํประกอบดว๎ ยเศษตะกอนมวลเมด็ ของแรํและหนิ มที ง้ั เนื้อหยาบและ
เนือ้ ละเอยี ด มลี กั ษณะเป็นเม็ด และบางชนดิ เป็นเนอ้ื ผลึกที่ยดึ เกาะกันแนํน หินตะกอนสํวนใหญํมีลักษณะเปน็ ช้ันๆ
แซะให๎แตกออกตามช้นั ได๎ บางก๎อนพบซากดึกดาบรรพ๑อยํดู ว๎ ย บางชนดิ ทาปฏกิ ริ ิยากบั กรดไฮโดรคลอรกิ

หินแปร เป็นหินที่แปรสภาพมาจากหนิ อัคนี หินตะกอนและหนิ แปร จึงมลี กั ษณะเน้อื หินทมี่ ีทัง้ เน้อื แนนํ เปน็
ช้ัน บางชนิดองคป๑ ระกอบตํางๆ จะมีการเรยี งตัวขนานกนั เปน็ แถบ เป็นริ้วขนาน บางชนดิ แซะออกเปน็ แผนํ ๆได๎
สวํ นมากไมํทาปฏกิ ิรยิ ากบั กรดไฮโดรคลอรกิ ยกเวน๎ หินออํ น
การศกึ ษาลักษณะและสมบัติของหนิ สามารถนาไปใช๎จาแนกหินตวั อยาํ งออกเป็นกลมุํ ๆ ไดจ๎ ากเกณฑท๑ ี่
กาหนดข้นึ แตํอยํางไรกต็ ามในการจาแนกหนิ ไมํสามารถใชก๎ ระบวนการใดกระบวนการหน่งึ อาจตอ๎ งใช๎กระบวนการ
รวํ มกันเพอื่ นามาจาแนก

9

หนิ อคั นี หินอคั นี เป็นหินชนดิ แรกทเี่ กดิ ขึ้นในโลก เกิดจากหนิ หนืดทเ่ี รยี กวํา “แมกมา”

(lgneous Rocks) ในช้นั เนอ้ื โลก แทรกตัวขน้ึ มาบนผวิ โลก เรียกวํา “ลาวา” บางคร้งั เกิดการเย็นตวั

กํอนถงึ ผิวโลก เกดิ เป็นหินเนื้อหยาบมีสหี ลากหลาย ลาวาทเี่ ย็นตัวท่ีผวิ โลกมที งั้

พวกท่เี ยน็ ตวั เรว็ และเยน็ ตวั ช๎า ทาใหล๎ กั ษณะเนือ้ หินแตกตาํ งกัน

ภาพแสดง การเกดิ หนิ อคั นี

กระบวนการเกิดหินอคั นี หนิ อคั นคี ือหินทเ่ี กิดจากการเย็นตวั แล๎วแขง็ ตัวของหินหลอมเหลวใตพ๎ น้ื ผิวโลกแมกมาหรือ
ลาวา ซ่งึ หนิ หลอมเหลวแตลํ ะแหงํ มีองคป๑ ระกอบไมเํ หมือนกัน ทาให๎มีสีหรอื เนอื้ หินมีลักษณะตาํ งกนั หนิ อัคนมี ี
ลกั ษณะเปน็ หินแขง็ ประกอบดว๎ ยผลึกที่ไมมํ ชี ั้นให๎เหน็ และหากแมกมามกี ารปะทุจากปลํองภูเขาไฟออกมาเปน็ ลาวาแล๎ว
มีการเย็นตัวอยาํ งรวดเร็วจะเกดิ รพู รุนท่ีเนื้อหิน เนอ่ื งจากการไหลออกของอากาศทีแ่ ทรกอยใํู นหนิ หินชนดิ น้จี ะไมมํ ี
ซากดึกดาบรรพป๑ รากฏอยํู
ประเภทของหนิ อคั นี

1. หินอัคนีแทรกซอน หรือหนิ อคั นรี ะดับลึก (intrusive rocks ) เป็นหินอคั นที เี่ กิดจากการเย็นตัว
และตกผลึกของหินหลอมเหลวใต๎ผิวโลกอยาํ งชา๎ ๆ ตัวอยาํ งเชํน หนิ แกรนิต หนิ ไดโอไรท๑ หินแกบโบร เปน็ ตน๎

2. หนิ ภูเขาไฟ(Voleanic rock) หรอื เรียกวาํ หินอัคนีพุ หมายถึง หินอัคนเี น้ือละเอยี ดหรอื ละเอยี ด
มาก(คลา๎ ยแกว๎ )จนมองดว๎ ยตาเปลาํ ไมเํ ห็น ซงึ่ เกดิ จากการเย็นตัวอยาํ งรวดเร็วจากหินละลาย(Lava) ที่ไหลข้นึ มาสผํู วิ
โลก ตวั อยาํ ง เชนํ หินไรโอโลท๑ หินแอนดีไซท๑ หนิ บะซอลต๑ เป็นต๎น

ตารางแสดงชนดิ ของหินอคั นี ภาพ ลกั ษณะและประโยชน๑

ชอ่ื ภาพ ลกั ษณะของหนิ การนาไปใช๎ประโยชน๑
หนิ อคั นีพุ

หินไรโอไลต๑ ประกอบดว๎ ยผลึกแรเํ นื้อละเอยี ดเป็นพวกเแรํควอตช๑ เป็นสวํ นผสมของผลิตภณั ฑ๑กนั

แรเํ ฟลสปาร๑และแรไํ มกา แดดและทาหนิ ลบั มดี

หินบะซอลต๑ มกั มสี ีดาประกอบด๎วยผลกึ แรขํ นาดเลก็ มากเนอื้ แนนํ ใช๎ทาถนนหรอื งานกอํ สร๎าง

ละเอียดทนทานตํอการผุพงั สึกกรํอน ท่ัวไป

10

ชอ่ื ภาพ ลักษณะของหนิ การนาไปใช๎ประโยชน๑
หนิ แอนดไี ซต๑
เน้อื หนิ ละเอียด แนนํ ทบึ มสี มี วํ ง เขยี ว ใช๎เป็นหินประดบั
เทาแกํ และดาเข๎ม ใช๎ทาครก ใช๎ในอุตสาหกรรม

กอํ สร๎าง

หนิ ออบซิเดียน เป็นหินแก๎วภเู ขาไฟ ผลกึ มีขนาดเลก็ มากเหมอื น ใชท๎ าเป็นมดี เปน็ อาวุธสาหรับ
เน้อื แก๎วสีดา ลาํ สัตวใ๑ นสมัยโบราณ

หนิ สคอเรยี เปน็ หินแขง็ สาก เปราะ เบา และมี ใช๎ทาวัสดุขัดถู
รูพรุน ไมํทนตํอการสึกกรอํ น มสี ีเขม๎

หินพัมมิซ ลักษณะเหมือนหนิ สคอเรียแตมํ ีรพู รนุ ขนาดเล็ก ใช๎ทาวัสดขุ ัดถู
นา้ หนกั เบาลอยน้าไดเ๎ รียกอกี อยาํ งวาํ หินลอยน้า
หนิ บอมบ๑
ภเู ขาไฟ หรือหินสม๎

หินทฟั ฟ์ มเี นอื้ ละเอียด สีเขม๎ หรอื เทา แกถํ งึ ดา น้าตาลแกํ ใชเ๎ ป็นหนิ ประดับสวน โมทํ า
หนิ อคั นีแทรกซอน สวํ นมากมีรูพรุน มีลกั ษณะกลมมน หรอื คลา๎ ยลูก วัสดุกํอสร๎าง

หนิ ไดออไรต๑ รักบี้ พบท่ี จ.บุรีรัมย๑ ศรสี ะเกษ และลาปาง

หินแกรนิต เปน็ หินเถ๎าภเู ขาไฟ พบมากในบริเวณที่ราบภาค ใชเ๎ ป็นหนิ ประดับสวน โมํทา
กลางของประเทศไทย วัสดุกํอสร๎าง

เนอ้ื หยาบ ผลึกแรํใหญํคํอนขา๎ งสมา่ เสมอ ใช๎เป็นหนิ กํอสรา๎ งแทน
มสี คี ล้าอาจถงึ ดาเพราะปรมิ าณแรํ หนิ แกรนติ เพราะวาํ มีคาํ กาลัง
สีเข๎มมมี ากขึ้น วสั ดุสูง เน้ือหยาบ ความพรนุ

เน้อื หยาบทนตอํ การผุพงั สึกกรํอน ต่า มกี ารยดึ ตดิ กบั
มผี ลึกแวววาวสวยงาม ยางมะตอยสงู

ใช๎ประดบั อาคาร

หินแกบโบร เน้อื ผลกึ หยาบ ประกอบดว๎ ยผลกึ แรํท่มี สี เี ข๎มเปน็ ใช๎ทดแทนวสั ดุในงานกอํ สร๎าง

สํวนใหญํ มีผลกึ แรํสจี างเป็นสวํ นน๎อย และปลู าดทาง

11

หนิ ชนั้ หรอื หินตะกอน เปน็ หนิ ทีถ่ กู แสงแดด ลมฟา้ อากาศ และนา้ หรือถูกกระแทก แลว๎ แตก

(Sedimentary Rocks) เป็นกอ๎ นเล็กๆ หรือผกุ รอํ น เส่ือมสภาพลง เศษหินทผี่ พุ ังทัง้ อนภุ าค

ใหญํและเลก็ ถกู พดั พาไปสะสมอดั ตวั กัน เปน็ ชน้ั ๆ เกดิ ความกดดนั และ

ปฏิกิริยาเคมีจนกลบั กลายเป็นหนิ อกี ครงั้ หนิ ท่ีเกดิ ใหมํนีเ้ ราเรียกวาํ “หนิ ตะกอน” หรอื “หนิ ชนั้ ”

กระบวนการเกิดหนิ ชน้ั หรอื หนิ ตะกอน

1. การผพุ ัง (Weathering) หมายถงึ การที่หินผุพังทาลายลง (อยูกํ ับท่ี) ด๎วยกรรมวธิ ีตํางๆ จากลมฟ้า

อากาศ สารละลายและรวมทัง้ การกระทาของตน๎ ไม๎ แบคทีเรยี ตลอดจนการแตกตวั เนอ่ื งจากมกี ารเพิม่ - ลดอณุ หภูมิ

สลับกนั

2. การกรํอน (Erosion) หมายถงึ กระบวนการท่ีทาให๎สารเปลือกโลกหลุด ละลายไป หรือกรอํ นไป

(โดยมีการเคลอื่ นทกี่ ระจัดกระจายไปจากทีเ่ ดมิ ) โดยมีตน๎ เหตคุ ือตัวการธรรมชาติ ซ่ึงได๎แกํ ลมฟ้าอากาศ กระแสนา้

ธารนา้ แขง็ การครดู ถู ภายใตอ๎ ิทธพิ ลของแรงโนม๎ ถํวง

3. การพดั พา (Transportation) หมายถึง การเคล่ือนทขี่ องมวลหนิ ดนิ ทราย โดยกระแสนา้ กระแสลม

หรอื ธารน้าแขง็ ภายใต๎แรงดงึ ดดู ของโลก อนภุ าคขนาดเลก็ จะถกู พดั พาให๎เคลอื่ นทไ่ี ปไดไ๎ กลกวําอนภุ าคขนาดใหญํ

ภาพการคัดขนาดตะกอนด๎วยการพดั พาของน้า

4. การทับถม (Deposit) เกดิ ขน้ึ เมอื่ ตวั กลางซงึ่ ทาให๎เกดิ การพัดพา เชํน กระแสน้า กระแสลมหรือธาร
น้าแขง็ ออํ นกาลงั ลงและยตุ ิลง ตะกอนทถ่ี ูกพัดพาจะสะสมตัวทบั ถมกัน ทาใหเ๎ กิดการเปล่ยี นแปลงทางอุณหภมู ิ
ความกดดัน ปฏกิ ิริยาเคมแี ละเกิดการตกผลกึ หินตะกอนทีอ่ ยูํชน้ั ลาํ งจะมีความหนาแนนํ สงู และมีเนือ้ ละเอยี ดกวํา
ชนั้ บน เนือ่ งจากแรงกดดันซ่ึงเกดิ ขึน้ จากน้าหนกั ตวั ทบั ถมกันเปน็ ช้นั ๆ (หมายเหตุ : การทบั ถมบางครัง้ เกดิ จากการ
ระเหยของสารละลาย สวํ นท่ีเปน็ นา้ ระเหยไปในอากาศทิง้ สารทเ่ี หลือให๎ตกผลกึ ไว๎เชํนเดียวกับการทานาเกลือ)

5. การกลับคืนเปน็ หนิ (Lithification) เม่ือเศษตะกอนทับถมกนั จะเกดิ โพรงขึ้นประมาณ 20 – 40%
ของเนอ้ื ตะกอน น้าพาสารละลายเข๎ามาแทนทอ่ี ากาศในโพรง เมอ่ื เกิดการทับถมกนั จนมีน้าหนกั มากข้นึ เนอื้ ตะกอน
จะถูกทาให๎เรยี งชดิ ติดกันทาใหโ๎ พรงจะมีขนาดเลก็ ลง จนน้าทเี่ คยมีอยถํู ูกขับไลอํ อกไป สารท่ตี กค๎างอยทูํ าหนา๎ ท่ีเป็น
ซีเมนต๑เช่ือมตะกอนเขา๎ ด๎วยกนั กลับเป็นหินอกี ครั้ง

ภาพแสดง การทต่ี ะกอนกลบั คนื เป็นหนิ

12

ประเภทของหินตะกอน
นักธรณวี ทิ ยาจาแนกหินตะกอนตามลักษณะการเกิดออกเป็น 3 กลุมํ คอื
1. หนิ ตะกอนอนภุ าค (Clastic rocks) ไดแ๎ กํ
 หนิ กรวดมน (Congromorate) เป็นหินเนอื้ หยาบเกดิ จากตะกอนซง่ึ เป็นหิน กรวด ทราย ที่

ถูกกระแสน้า พดั พามาอยํูรวมกัน สารละลายในนา้ ใตด๎ ินทาตัวเปน็ ซิเมนตป๑ ระสานใหอ๎ นภุ าคใหญเํ ลก็ เหลําน้ี เกาะตวั
กนั เปน็ ก๎อนหนิ

 หนิ ทราย (Sandstone) เป็นหินตะกอนเนื้อละเอียดปานกลาง เกดิ จากการทับถมตัวของทรายมี
องค๑ประกอบหลกั เปน็ แรํควอรต๑ คนโบราณใช๎หนิ ทรายแกะสลัก สรา๎ งปราสาทและทาหินลบั มดี

 หินดนิ ดาน (Shale) เปน็ หนิ ตะกอนเนือ้ ละเอียดมาก เน่อื งจากประกอบด๎วยอนุภาคทรายแป้ง
และอนุภาคดินเหนียวทับถมกันเป็นชนั้ บางๆขนานกัน เมอื่ ทุบหนิ จะแตกตวั ตามรอยชัน้ (ฟอสซลิ มอี ยูํในหินดนิ ดาน)
ดนิ เหนียวทีเ่ กดิ ดนิ ดานใช๎ทาเครือ่ งปน้ั ดนิ เผา

2. หนิ ตะกอนเคมี (Chemical sedimentary rocks) ได๎แกํ
 หนิ ปูน (Limestone) เปน็ หนิ ตะกอนคาร๑บอเนต เกดิ จากการทบั ถมของตะกอนคาร๑บอเนตใน

ทอ๎ งทะเล ทง้ั จากสารอนินทรีย๑ และซากสงิ่ มีชีวติ เชํน ปะการัง และกระดองของสตั วท๑ ะเล ซง่ึ ถบั ถมกันภายใต๎ความ
กดดนั และตกผลกึ ใหมํเปน็ แรแํ คลไซตจ๑ ึงทาปฏิกริ ิยากบั กรด หินปูนใชท๎ าเป็นปนู ซเิ มนต๑ และใชใ๎ นการกํอสร๎าง

 หนิ เชริ ๑ต (Chert) หนิ ตะกอนเนื้อแนํน แขง็ เกดิ จากการตกผลกึ ใหมํ เนอ่ื งจากนา้ พาสารละลาย
ซลิ ิกาเข๎าไปแลว๎ ระเหยออก ทาใหเ๎ กิดผลกึ ซิลกิ าแทนท่ีเนอ้ื หินเดมิ หนิ เชริ ๑ตมักเกิดขนึ้ ใต๎ทอ๎ งทะเล เนอ่ื งจากแพลงตอน
ทม่ี เี ปลือกเป็นซิลกิ าตายลง เปลือกของมนั จะจมลงทับถมกนั หินเชิรต๑ จึงปะปนอยูํในหินปนู

3. หินตะกอนอนิ ทรีย๑ (Organic sedimentary rocks) หนิ ตะกอนที่เกดิ จากการสะสมสารอินทรยี ๑
วตั ถุ

 ถาํ นหนิ (Coal) เกิดจากการทับถมของซากพชื ทีย่ งั ไมเํ นําเปื่อยไปหมดเนื่องจากสภาวะออกซิเจน
ต่า สภาวะเชํนนีเ้ กิดตามหว๎ ยหนองคลองบึง ในแถบภมู ิอากาศแบบเสน๎ ศูนย๑สูตร การทบั ถมทาใหเ๎ กดิ การแรงกดดนั ที่
จะระเหยขบั ไลนํ ้าและสารละลายอื่นๆออกไป ย่งิ มีปรมิ าณคารบ๑ อนมากข้ึนถาํ นหินจะย่ิงมีสีดา ลิกไนต๑ (Lignite)
เป็นถํานหินคุณภาพปานกลาง มีมากท่เี หมืองแมํเมาะ จ.ลาปาง แอนทราไซต๑ (Anthracite) เป็นถาํ นหนิ
คุณภาพสูง ต๎องนาเขา๎ จากตาํ งประเทศ

รไู๎ หมวาํ .....
นา้ มนั และก๏าซเชือ้ เพลงิ เกิดจากการทับถมของส่ิงมชี วี ิตเล็กๆ ในทะเล เชํน ไดอะตอม

(Diatom) และสาหราํ ยเซลลเ๑ ดยี ว (Algae) เกดิ ตะกอนใต๎มหาสมุทร ตะกอนโคลนเหลํานขี้ าดการ
ไหลถํายเทของนา้ การเนําเปอ่ื ยผพุ งั จึงหยดุ ส้ินกํอนเน่ืองจากออกซิเจนหมดไป ตะกอนที่ถกู ทับถมไว๎
ภายใตค๎ วามกดดนั และอณุ หภูมสิ ูง เปน็ เวลานานหลายร๎อยลา๎ นปี จงึ กลายเป็นน้ามัน (Oil)

13

ตารางแสดงตัวอยํางของหินชั้น ภาพ วตั ถุเช่อื มประสาน ลักษณะของหนิ และประโยชน๑

ช่อื ภาพ วัตถเุ ชื่อมปรปะสราะนโยชน๑ ลกั ษณะของหนิ ประโยชน๑
หนิ ศลิ าแลง
หินกรวดมน - เหล็กออกไซด๑ เกดิ จากการยบุ สลายของหนิ อัคนี ใช๎ทากาแพง
หินทราย - อะลูมิเนียม เน้ือหินประกอบด๎วยตะกอนเปน็ เมด็ สี ปทู างเดนิ
น้าตาลดาแดง เนอ้ื หยาบขรุขระ พบ รองพื้นถนน
ออกไซด๑
มากที่ ศรีสะเกษ บรุ ีรมั ย๑

- ซิลิกา เกิดจากตะกอนทเ่ี ป็นกรวด เนือ้ หนิ ใชท๎ าหนิ ประดับและ
- เหล็กออกไซด๑ ประกอบด๎วยเม็ดหินขนาดใหญํ หนิ กํอสร๎าง
หรือแคลเซียม
มีลกั ษณะกลมมน เพราะถูกขดั สเี นือ่ งจาก
คารบ๑ อเนต การพดั พาพบมากทางภาค

ตะวันออกเฉยี งเหนอื ทกุ จงั หวดั

- ซลิ ิกา เกิดจากตะกอนของทราย เมื่อมองดจู ะมี ใช๎ทาหินประดบั
- เหล็กออกไซด๑ ลกั ษณะเปน็ เน้ือทรายล๎วน มคี วามแข็ง หินแกะสลกั
หรอื แคลเซยี ม มาก สามารถขดู เหลก็ เป็นรอยได๎ พบ หินลบั มดี
มากที่ ราชบรุ ี เพชรบุรี กาญจนบรุ ี
คารบ๑ อเนต

เกดิ จากดนิ เหนยี วและโคลนทบั ถมกัน ใช๎ทา

หนิ ดินดาน ไมมํ ีวัตถเุ ชอ่ื มประสาน เนือ้ ละเอียด กะเทาะหลุดเปน็ แผนํ งาํ ย เครอ่ื งปั้นดนิ เผา
หนิ ปูน พบทส่ี งขลา เลย ใชผ๎ สมทาปนู ซเี มนต๑

- แคลเซียม เกิดจากการทับถมของอนิ ทรยี วัตถุ หรอื ใช๎ทาหนิ กอํ สร๎าง
คาร๑บอเนต ซากพชื ซากสัตว๑ แคลเซยี มคาร๑บอเนต ทาทางรถไฟ
อาจพบรอํ งรอยของซากพืช ซากสัตว๑
หรือ
- แรํแคลไซต๑ เปลอื กหอย เปลือกปู พบมากท่ี
สระบุรี ราชบุรี

ถํานหนิ - วทิ ริไนต๑ เกดิ จากการยํอยสลายและแปรสภาพของ เชอ้ื เพลิงธรรมชาติ
ส่ิงมีชวี ติ เน้ือหินแนนํ และเป็นผลึก

หนิ เซิร๑ต - ซิลิกา เกิดจากการระเหยของน้าในสารละลาย ไวท๎ าเครอื่ งประดับ

เนือ้ เป็นผลึกตัง้ แตํละเอยี ดถึงหยาบ ทาเลนส๑

14

หนิ แปร เกดิ จากการแปรสภาพของหินอัคนีและหนิ ตะกอน โดยการกระทาของ

Metamorphic Rocks ความร๎อนและความกดดนั ซึ่งหินอคั นแี ละหนิ ตะกอนทมี่ ีสวํ นประกอบ

ทส่ี ามารถมองเห็นได๎ชดั เจนจะถูกแรงอัด ทาใหโ๎ ครงสร๎างเกดิ การเรยี งตัว

ใหมเํ ป็นรว้ิ ขนาน เชนํ หนิ ไนส๑ หนิ ชีสต๑ หนิ ฟลิ ไลต๑ สํวนหินแปรทไ่ี มํมรี ิ้วขนาน ไดแ๎ กํ หินอํอน หินแปรชนดิ หนง่ึ ๆจะมี

องค๑ประกอบเดยี วกันกบั หินตน๎ กาเนิด แตํอาจจะมีการตกผลกึ ของแรใํ หมํ เชนํ หนิ ชนวนแปรมาจากหินดนิ ดาน

หนิ ออํ นแปรมาจากหินปนู เป็นต๎น

นักธรณวี ิทยาแบํงการแปรสภาพออกเป็น 2 ประเภท คือ

 การแปรสภาพสัมผัส (Contact metamorphism) เป็นการแปรสภาพเพราะความรอ๎ น เกดิ ขน้ึ

ณ บรเิ วณทหี่ นิ หนดื หรือลาวาแทรกดันข้นึ มาสัมผัสกับหินท๎องท่ี ความร๎อนและสารจากหินหนดื หรอื ลาวาทาใหห๎ นิ

ทอ๎ งท่ีในบรเิ วณนน้ั แปรเปลีย่ นสภาพผิดไปจากเดมิ

ภาพการแปรสภาพสัมผัส

 การแปรสภาพบรเิ วณไพศาล (Regional metamorphic) เป็นการแปรสภาพของหนิ ซ่งึ เกิดเป็น
บรเิ วณกว๎างใหญํไพศาลเนื่องจากอุณหภูมิและความกดดัน โดยปกติการแปรสภาพแบบนจี้ ะไมํมคี วามเก่ียวพนั กบั
มวลหนิ อคั นแี ละมกั จะมี “ริ้วขนาน” (Foliation) จนแลดูเป็นแถบลายสลบั สี บดิ ย๎วยแบบลูกคลน่ื ซ่งึ พบในหินชีสต๑
หินไนส๑ ท้งั น้เี ป็นผลมาจากการการตกผลึกใหมขํ องแรํในหนิ ทง้ั น้รี ิว้ ขนานอาจจะแยกออกได๎เปน็ แผํนๆและมผี ิวหนา๎
เรยี บเนยี น เชํน หนิ ชนวน

ภาพการแปรสภาพบรเิ วณไพศาล

15

ลักษณะเนือ้ หินของหินแปร

1. เน้ือหินไมมํ กี ารเรยี งตัวเปน็ ริว้ ขนาน ( unfoliated texture) เปน็ หนิ แปรสัมผสั ซ่งึ ประกอบด๎วยแรทํ ่ี

เปน็ เม็ดท้งั ผลึกขนาดเลก็ หรอื ใหญํเม่อื ถกู แปรสภาพแรเํ หลาํ นีไ้ มสํ ามารถแสดงให๎เห็นถงึ ทิศทางของการเติบโตและทศิ ทาง

ของแรงท่ีมากระทาใหเ๎ กดิ การแปรสภาพแตจํ ะเกาะกันแนํนผลึกมขี นาดใหญํขึน้ เชนํ หนิ อํอน ( marble)หนิ ควอตไซต๑

(quartzite) และหินแอนทราไซต๑ (Anthracite)

2. เนื้อหินทม่ี ีการเรียงตวั เปน็ ร้วิ ขนาน ( foliated texture) เปน็ หินแปรไพศาลที่มกี ารเรยี งตัวหรอื แยก

เปน็ ชน้ั ของแรสํ ีจางและแรํสเี ข๎มความรุนแรงหรอื ความเดนํ ชดั ของการแปรสภาพเพิม่ ขึ้นตามอณุ หภมู แิ ละความดันเชนํ

หินชนวน (slate) หินฟิลไลต๑ (phyllite) หนิ ชสี ต๑ (schist) และหินไนส๑ (gneiss)

ตารางแสดงตัวอยํางของหนิ แปร ภาพ หินดั้งเดิม ลักษณะของหนิ และการนาไปใช๎ประโยชน๑

ช่ือ ภาพ หนิ เดิม ลกั ษณะของหิน การนาไปใช๎
ประโยชน๑

หินแปรเนอ้ื หยาบประกอบดว๎ ยแรํ

หินไนส๑ หนิ แกรนิต ควอรตซ๑ เฟลด๑สปาร๑ และไมกาสลับกนั อยูํ ใชท๎ าหนิ ประดบั
เป็นแถบเกดิ จากหินอัคนีถูกความรอ๎ นและ หินแกะสลักและ
ความดนั ทาให๎แยกแรสํ ีเขม๎ และสอี อํ นออกมา
กํอสร๎าง
เรียงตัวขนานเปน็ ร้ิวหรือแถบลายทาง

หนิ ควอร๑ตไซต๑ หนิ ทราย เน้อื ละเอียดประกอบด๎วยแรํควอรตซ๑เปน็ สวํ น ใชท๎ าหนิ กอํ สร๎าง
ใหญเํ นอ้ื ละเอยี ดเป็นผลึกคล๎ายน้าตาลทราย อุตสาหกรรมแกว๎
แกรงํ แตํเปราะ เน่อื งมาจากไดร๎ บั ความร๎อน และวัสดทุ นไฟ

และความดนั สงู

หนิ ชนวน หินดนิ ดาน หนิ แปรเนือ้ เนียนเกดิ จากการแปรสภาพ ใช๎ทากระดาน
หินดนิ ดานเนอื่ งจากได๎รบั ความร๎อนและความ ชนวนหินประดับ
กดดนั ทาใหม๎ เี นื้อละเอียดแขง็ แซะออกได๎เป็น และกระเบือ้ งมุง
แผนํ ๆผวิ รอยแยกเรยี บนวลมสี ีตํางๆกันเชนํ เทา
หลงั คา
ดาแดงมํวงและเขยี ว

หินอํอน หินปูน หนิ แปรเน้อื ละเอยี ดประกอบดว๎ ยแรํแคลไซต๑ ใชท๎ าหินประดับ
ตกผลกึ ใหมมํ ีขนาดใหญํขึน้ เนือ้ หินจะแวววาวข้นึ หินแกะสลกั
โดยมากมสี ีขาวแตํกพ็ บสอี ่นื เชํนชมพแู ดงเหลือง
อตุ สาหกรรมเคมี
น้าตาลและดาทาปฏกิ ิริยากับกรดเกลือ

หนิ ชสี ต๑ หนิ ทัฟ และ มีร้ิวขนาน เนอื้ หยาบ ไมํเรียบ ใชใ๎ นการกอํ สรา๎ ง
หนิ ดนิ ดาน พบทเี่ ข่ือนภูมพิ ล จ.ตาก

หินฟิลไลต๑ หินดินดาน ลกั ษณะคลา๎ ยหินชนวน เนอื้ หยาบกวาํ มี ใชท๎ าหินประดับ
และ หินทัฟฟ์ ลกั ษณะเปน็ ชั้นเรียงตัวขนานกนั กับผวิ หนา๎ หิน

สํวนใหญํจะราบและมัน

16

วฏั จกั รของหิน (Rock cycle)
วัฏจักรของหิน คอื การเปล่ยี นแปลงของหนิ ท้ัง 3 ชนดิ จากหินชนดิ หนง่ึ ไปเปน็ อีกชนดิ หนึ่งหรืออาจเปล่ียน

กลบั ไปเปน็ หนิ ชนดิ เดมิ อีกก็ได๎ กลาํ วคือ เม่ือหนิ หนดื รอ๎ นภายในโลก ( Magma) และหนิ หนืดร๎อนบนพืน้ ผิวโลก
(Lava) เยน็ ตวั ลงกลายเปน็ “หินอคั นี” ลมฟา้ อากาศ น้า และแสงแดด ทาให๎หนิ ผพุ งั สกึ กรํอนเป็นตะกอน
ทบั ถมกนั เปน็ เวลานานหลายลา๎ นปี แรงดนั และปฏกิ ิรยิ าเคมีทาใหเ๎ กดิ การรวมตวั เป็น “หนิ ตะกอน” หรือเรยี กอกี
อยาํ งหน่ึงวํา “หนิ ชน้ั ” การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกและความร๎อนจากแมนเทิลขา๎ งลําง ทาให๎เกดิ การแปรสภาพ
เป็น“หินแปร” กระบวนการเหลําน้เี กดิ ขึ้นเป็นวงรอบเรยี กวํา “วัฏจักรหิน” (Rock cycle)

ภาพแสดง วฎั จักรของหนิ

17

หนํวยการเรยี นร๎ทู ่ี 2 อาหารกบั การดารงชีวติ

มาตรฐาน ว 1.1 :

เขา๎ ใจหนวํ ยพ้นื ฐานของสิ่งมีชวี ติ ความสมั พันธข๑ องโครงสรา๎ ง และหนา๎ ทขี่ องระบบตํางๆ ของสิง่ มีชีวิตท่ี
ทางานสัมพนั ธ๑กนั มีกระบวนการสืบเสาะหาความร๎ู สื่อสารสิ่งทเ่ี รยี นรูแ๎ ละนาความร๎ไู ปใชใ๎ นการดารงชีวิตของตนเอง
และดูแลส่งิ มชี ีวติ

ตวั ช้ีวดั

ว 1.1 ม.2/5 ทดลอง วเิ คราะห๑ และอธิบายสารอาหารในอาหารมปี ริมาณพลังงานและสดั สํวนทเี่ หมาะสม
กบั เพศและวัย

18

อาหารและสารอาหาร

จุดประสงค๑การเรียนร๎ู
1. อธิบายความหมายของคาวาํ อาหารและสารอาหาร
2. จาแนกประเภทของสารอาหาร
3. บอกความสาคัญของสารอาหารท่ีมตี อํ ราํ งกาย
4. ระบุสารอาหารหลักท่มี อี ยูํในอาหารทรี่ บั ประทาน
5. ทดสอบและระบุประเภทของสารอาหารและอธิบายหลักการได๎

อาหาร (food) คือ สงิ่ ทเี่ รารบั ประทานไดโ๎ ดยปลอดภยั และใหส๎ ารอาหารตํางๆ ทเี่ ปน็ ประโยชนต๑ ํอราํ งกาย
ชํวยให๎เจริญเติบโต แข็งแรง มีความตา๎ นทานโรค

สารอาหาร (Nutrient) คือ สารเคมที ่เี ป็นสํวนประกอบของอาหาร แบงํ ออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. สารอาหารทใ่ี หพ๎ ลงั งาน ไดแ๎ กํ คารโ๑ บไฮเดรต โปรตนี ไขมัน
2. สารอาหารท่ไี มใํ ห๎พลังงาน ไดแ๎ กํ วิตามิน แรํธาตุ และน้า

สารอาหารทใ่ี หพ๎ ลงั งาน สารอาหารทีใ่ ห๎พลงั งาน มีดังนี้

1. คารโ๑ บไฮเดรต เปน็ สารอาหารชนิดหนึ่ง ประกอบดว๎ ยธาตคุ าร๑บอน ไฮโดรเจน และออกซเิ จน ซงึ่ ให๎

พลงั งาน 4 กโิ ลแคลอรตี ํอกรัม คาร๑โบไฮเดรต คารโ๑ บไฮเดรตท่ีมีในอาหารจาแนกตามสมบัตทิ างกายภาพและเคมีได๎

เปน็ 2 ประเภท ดังน้ี
1.1 นา้ ตาล ไดแ๎ กํ คารโ๑ บไฮเดรตท่มี ีรสหวานและละลายน้าได๎ แบงํ ออกเปน็ 2 ชนดิ คอื
1) โมโนแซก็ คาไรด๑ ( monosaccharide) หรอื นา้ ตาลโมเลกลุ เดยี่ ว เปน็

คารโ๑ บไฮเดรตท่ีมี โมเลกลุ เล็กท่ีสดุ เม่อื กินแล๎วจะดูดซึมจากลาไสไ๎ ด๎เลย ไมตํ อ๎ งผาํ นการยอํ ย ตัวอยํางของนา้ ตาล
ประเภทน้ี ได๎แกํ กลูโคส (glucose) และฟรักโทส ( fructose) และกาแล็กโทส ( galactose) ท้ังกลโู คสและ

ฟรักโทสเป็นนา้ ตาลที่พบได๎ในผกั ผลไม๎ และนา้ ผ้ึง น้าตาลสํวนใหญํท่ีพบในเลือด คอื กลโู คส

ภาพแสดงสตู รโครงสร๎างของน้าตาลโมเลกลุ เด่ยี ว

19

2) ไดแซก็ คาไรด๑ ( disaccharide) หรอื นา้ ตาลโมเลกลุ คูํ เปน็ คาร๑โบไฮเดรตที่

ประกอบดว๎ ยโมโนแซก็ คาไรด๑ 2 ตวั มารวมกนั อยํู เมอื่ กนิ ไดแซก็ คาไรดเ๑ ข๎าไป น้ายํอยในลาไสเ๎ ล็กจะยอํ ยออกเป็น

โมโนแซก็ คาไรด๑กอํ น ราํ งกายจึงสามารถนาไปใชเ๎ ป็นประโยชนไ๑ ด๎ ตวั อยํางของน้าตาลประเภทน้ี เชนํ

ซโู ครส (sucrose) หรือนา้ ตาลทราย ประกอบดว๎ ย กลโู คสและฟรกั โทส แล็กโทส ประกอบด๎วย กลูโคสและ

กาแลก็ โทส มอลโทส (maltose) ประกอบดว๎ ย กลูโคส 2 โมเลกุล

ภาพแสดงสตู รโครงสรา๎ งของซโู ครส

1.2 ประเภทที่ไมํใชํน้าตาล เปน็ คาร๑โบไฮเดรตทีม่ ีโมเลกุลเชงิ ซอ๎ น เรียกวาํ พอลีแซ็กคาไรด๑
(polysaccharide) หรือ "น้าตาลโมเลกุลใหญํ " เปน็ คาร๑โบไฮเดรตที่ ไมํมีรสหวาน มีสูตรโครงสรา๎ งซับซ๎อน
ประกอบด๎วยโมโนแซก็ คาไรดจ๑ านวนมากมารวมตวั กันอยํู พอลีแซ็กคาไรดท๑ ี่สาคัญทางอาหาร ไดแ๎ กํ ไกลโคเจน
(glycogen) แปง้ (starch) และเซลลูโลส (cellulose) ไกลโคเจนพบในอาหารพวกเนอ้ื สตั วแ๑ ละเครื่องในสตั ว๑
สวํ นแป้งและเซลลโู ลสพบในพชื แมว๎ าํ ไกลโคเจน แป้ง และเซลลูโลสประกอบดว๎ ยกลูโคสเหมอื นกนั แตํลักษณะ
การเรียงตัวของกลโู คสตํางกันทาใหล๎ กั ษณะสตู รโครงสร๎างตาํ งกันไป เฉพาะไกลโคเจนและแปง้ เทาํ นนั้ ที่นา้ ยํอยในลาไส๎
สามารถยํอยได๎
การทดสอบแป้ง ทดสอบโดยใช๎สารละลายไอโอดีน ถ๎าเป็นแป้งจะเปล่ียนเป็นสีน้าเงินเข๎ม หรอื มวํ งดา
การทดสอบน้าตาลทดสอบดว๎ ยสารละลายเบเนดกิ ต๑ จะเปลยี่ นเป็นสีใดนั้นขน้ึ อยกํู บั ปรมิ าณของนา้ ตาล ถ๎า
น้าตาลปรมิ าณนอ๎ ย สขี องสารละลายอาจเปลี่ยนเปน็ สีเขียวอมเหลอื งหรือสเี หลือง ถ๎ามีนา้ ตาลปริมาณมาก อาจได๎สี
แสดหรือสีนา้ ตาลปนแดง

2. โปรตนี เปน็ สํวนประกอบสาคัญของอวัยวะและเซลล๑ทุกเซลล๑ ชวํ ยสร๎างเสรมิ การเจริญเติบโตและซํอมแซม
เซลล๑ และเปน็ สารอาหารท่ใี ห๎พลงั งาน โปรตนี มีบทบาทสาคญั โดยเปน็ เอนไซม๑ ฮอรโ๑ มน แอนตบิ อดี อาหารทีพ่ บ
โปรตีนมากได๎แกํ เนื้อสัตว๑ ไขํ นมและถัว่ โปรตนี ประกอบดว๎ ย กรดอะมิโนหลายชนิดเรยี งตํอกัน กรดอะมิโนแตํละ
โมเลกลุ ประกอบด๎วยธาตุหลัก 4 ธาตุ ไดแ๎ กํ คารบ๑ อน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน จากน้ันบางชนดิ ก็ยังมี
กามะถนั เปน็ สํวนประกอบอยํู โปรตนี จะใหพ๎ ลงั งาน 4 กิโลแคลอรตี ํอกรมั หมํูคาร๑บอกซลิ และหมอูํ ะมิโนเป็นหมํู
ฟงั ก๑ชันสูตรท่ัวไปดังนี้

ภาพแสดงสูตรโครงสรา๎ งโมเลกลุ ของโปรตีน(โครงสรา๎ งปฐมภูมิ)

20

ชนิดกรดอะมโิ น

กรดอะมิโนที่พบเป็นองคป๑ ระกอบของโปรตนี มี 20 ชนิด จาแนกตามความจาเปน็ แกํราํ งกาย คือ

1. กรดอะมโิ นทีจ่ าเป็นแกรํ ํางกาย (Essential amino acid ) ไดแ๎ กํ กรดอะมโิ นทีร่ าํ งกาย สังเคราะห๑

ไมํได๎ หรอื สังเคราะหไ๑ ด๎แตํไมํเพียงพอกับความต๎องการของราํ งกาย จาเปน็ ต๎องไดร๎ บั จากอาหาร กรดอะมิโนเหลาํ นี้

ไดแ๎ กํ อาร๑จนิ นี ( Arginine ) ฮสี ทิดนี (Histidine ) ไอโซลวิ ซีน ( Isoleucine ) ลวิ ซนี (Leucine )

ไลซนี (Lysine ) เมทิโอนนี (Methionine ) เฟนิลอะลานนี ( Phenylalanine ) เทรโอนีน(Threonine )

ทรปิ โทเฟน ( Tryptophan ) และวาลีน ( Valine ) เด็กตอ๎ งการกรดอะมโิ นที่จาเป็นแกรํ าํ งกาย 9 ตวั ยกเว๎น

อาร๑จนิ นี สาหรับผใู๎ หญํต๎องการกรดอะมโิ นทจี่ าเปน็ แกํรํางกาย 8 ชนดิ ยกเวน๎ อาร๑จินีน และฮีสทิดนี

2. กรดอะมิโนท่ีไมจํ าเป็นแกํราํ งกาย ( Nonessential amino acid ) ไดแ๎ กํ กรดอะมโิ นทร่ี ํางกาย

สงั เคราะหข๑ น้ึ ไดเ๎ พยี งพอกบั ความต๎องการของรํางกายไมํจาเปน็ ต๎องได๎รบั จากอาหาร คอื อาจสังเคราะหข๑ ้นึ จาก

สารประกอบพวกไนโตรเจน หรือจากกรดอะมิโน ท่จี าเป็นแกํราํ งกาย หรือจากไขมันหรือจากคาร๑โบไฮเดรต กรดอะมิ

โนพวกน้ี ได๎แกํ กรดกลแู ทมกิ ไกลซนี ซีสทีน ไทโรซีน เป็นต๎น ในเร่อื งนม้ี ักมีคนเขา๎ ใจผิดวาํ กรดอะมโิ นทีไ่ มจํ าเป็นแกํ

รํางกาย เป็นกรดอะมโิ นท่ีรํางกายไมํจาเป็นตอ๎ งใช๎ ความจรงิ นัน้ ราํ งกายต๎องใชก๎ รดอะมโิ นท้ังสองพวกในการสร๎าง

โปรตนี แตํที่เราเรียกวาํ เปน็ กรดอะมโิ นทไี่ มํจาเปน็ นน้ั เพราะเราคิดในแงํที่วํารํางกายสร๎างเองได๎เพียงพอ จากการ

วิเคราะห๑พบวําโปรตีนในเซลล๑ และเนือ้ เยือ่ ของรํางกายมีกรดอะมโิ นพวกนอ้ี ยูรํ อ๎ ยละ 40

สารอาหารประเภทโปรตนี สามารถทดสอบด๎วยการเตมิ สารละลายคอปเปอร๑( II)ซัลเฟตและสารละลาย

โซเดียมไฮดรอกไซดล๑ งในอาหารท่นี ามาทดสอบ การทดสอบวธิ นี ม้ี ีช่อื วาํ "การทดสอบไบยเู รต " ถ๎าอาหารท่ีนามา

ทดสอบมสี ารอาหารประเภทโปรตีนประกอบอยูํด๎วย สขี องสารละลายจะเปล่ยี นจากสีฟ้าเปน็ สมี ํวง สชี มพูอมมํวง หรือ

สนี ้าเงนิ

3. ไขมนั เปน็ สารอาหารทใ่ี หก๎ รดไขมนั ท่จี าเป็นตอํ รํางกาย และใหพ๎ ลงั งานสาหรับกจิ กรรมตํางๆ ของเซลล๑

รํางกายจะสะสมไขมนั ในบรเิ วณใต๎ผวิ หนังและรอบอวัยวะภายในตาํ งๆ เพ่ือใหม๎ แี หลงํ พลงั งานไวใ๎ ช๎ยามต๎องการ ไขมัน

เป็นฉนวนปอ้ งกนั การสญู เสยี ความร๎อนจากรํางกาย และปกปอ้ งอวยั วะภายในจากความกระทบกระเทือน ไขมันเป็น

สํวนประกอบสาคญั ของเยือ่ ห๎มุ เซลล๑และเยื่อหมุ๎ ออรแ๑ กเนลล๑ตาํ งๆ ภายในเซลล๑ นอกจากน้นั ยงั ชํวยดดู ซมึ วติ ามินบาง

ชนดิ

ไขมันประกอบด๎วยกลเี ซอรอล และกรดไขมัน โดยท่วั ไปมธี าตคุ าร๑บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน

เปน็ องค๑ประกอบ โดยไขมันจะให๎พลงั งาน 9 กิโลแคลอรีตํอกรัม

ไขมนั สามารถแบํงไดเ๎ ปน็ 2 ชนิด คอื

1. กรดไขมันอิม่ ตวั (Saturated Fatty Acids) คือเป็นไขมันเต็มตัวแลว๎ คือ ธาตคุ าร๑บอน ไฮโดรเจน

และออกซิเจนจบั กันเป็นลูกโซํโดยสมบรู ณ๑ และไมํมีชอํ งวาํ งเหลอื ทีจ่ ะทาปฏิกิริยากบั สารใดๆ ในรํางกายได๎ ดังนน้ั

ไขมนั ชนดิ นีจ้ ะอยใํู นรูปของแข็งในอุณหภูมปิ กติ ไขมันจาพวกนีจ้ ะพบมากใน ไขมนั สตั ว๑ เชํน เนือ้ หมู วัว และไขมนั จาก

กะทิ มะพรา๎ ว เนย ไขแํ ดงและอืน่ ๆ

2. กรดไขมันไมํอม่ิ ตวั ( Unsaturated Fatty Acids) คอื ไขมนั ที่ธาตุ คาร๑บอน ไฮโดรเจนและ

ออกซเิ จน จบั กันยงั ไมสํ มบูรณ๑ น่นั คือ ยังมีชํองวํางในลกู โซํเหลอื อยูํ และพร๎อมท่ีจะทาปฏกิ ิรยิ าและจับกบั สารอน่ื ๆ ใน

21

รํางกายไดแ๎ ละพร๎อมจะเปลีย่ นแปรสภาพเปน็ สารอื่นๆ ได๎ พบมากในนา้ มันปลาแซลมอน น้ามนั เมลด็ พันธุบ๑ อเรจ
นา้ มนั อฟี นง่ิ พริมโรส นา้ มนั จมูกข๎าวสาลี และอนื่ ๆ

ภาพแสดงสตู รโครงสร๎างโมเลกลุ ของโปรตนี (โครงสรา๎ งปฐมภูมิ)

กรดไขมันบางชนดิ จาเปน็ ตํอการดารงชีวติ เพราะราํ งกายไมสํ ามารถสร๎างเองได๎ ตอ๎ งไดร๎ บั จาการรับประทาน
อาหาร เชนํ กรดไขมันกลํุมโอเมกา 3 และกลุํมโอเมกา 6 กรดไขมันกลมุํ โอเมกา มบี ทบาทในการควบคุมระดับไขมนั
ในเลอื ด ลดความเส่ียงของภาวะความดนั โลหิตสูง โรคหัวใจ โรคซมึ เศรา๎ โรคอัลไซเมอร๑ และชํวยเพม่ิ ภมู คิ ม๎ุ กัน ในเดก็
กรดไขมนั มีบทบาทสาคญั ตํอโครงสรา๎ งและการทางานของสมอง ตับ และระบบประสาททีเ่ กีย่ วข๎องกบั พฒั นาการ
การเรยี นร๎ู การมองเห็น
การทดสอบหาสารอาหารประเภทไขมนั ทาได๎โดยนาอาหารท่ตี ๎องการทดสอบไปถกู บั กระดาษสขี าว แลว๎ ยก
กระดาษขน้ึ ใหแ๎ สงผาํ น ถ๎าแผนํ กระดาษตรงบรเิ วณทถี่ ูโปรงํ แสง แสดงวํามีไขมนั อยูํ

สารอาหารทไ่ี มใํ ห๎พลังงาน

สารอาหารที่ไมใํ ห๎พลังงาน แตํมีความจาเป็นตํอการทางานตํางๆในระบบรํางกาย ซ่ึงรํางกายตอ๎ งการใน
ปริมาณนอ๎ ยแตขํ าดไมํได๎ ไดแ๎ กํ วิตามนิ แรธํ าตุ และนา้

1. วติ ามนิ เปน็ สารอนิ ทรียท๑ ี่มีความสาคัญตํอการทางานของระบบตาํ งๆ รํายกายตอ๎ งการปรมิ าณไมมํ าก
วติ ามนิ สํวนใหญมํ ีบทบาทในปฏกิ ริ ิยาเคมีภายใยเซลล๑ โดยทางานรํวมกบั เอนไซม๑ แตเํ ม่อื ขาดวิตามนิ จะสํงผลให๎เกิด
ภาวะผดิ ปกติเนื่องจากความบกพรํองของกระบวนการเคมใี นราํ งกาย
พชื มามารถสังเคราะหว๑ ติ ามนิ ไดเ๎ อง แตํสตั วต๑ อ๎ งกินวิตามินหลายชนดิ จากอาหาร อาหารทเี่ รารับประทานมี
วติ ามนิ หลายชนดิ วิตามนิ แตลํ ะชนิดมสี มบตั ิแตกตํางกนั และทดแทนกันไมไํ ด๎

22

ตารางแสดงแหลํงอาหาร ความสาคญั และผลจากการขาดวิตามนิ ชนดิ ตํางๆ

วติ ามิน แหลงํ อาหาร ความสาคญั ผลของการขาด

ละลายในไขมนั

เรตินอล ตับ นา้ มนั ตบั ปลา ไขํ นม ชวํ ยในการเจรญิ เติบโต เดก็ ไมเํ จรญิ เตบิ โต
(A) เนย ผักและผลไมท๎ มี่ สี เี ขยี ว บารงุ สายตา บารงุ ผวิ หนัง ผิวหนงั แหง๎ หยาบ
มองไมํเหน็ ในทส่ี ลวั
แคลซเิ ฟอรอล และเหลือง จาเป็นในการสรา๎ งกระดูกและฟนั
(D) ชวํ ยเพม่ิ อัตราการดดู ซมึ โรคกระดูกอํอน
นม เนย ไขํ ตับ แคลเซยี มและฟอสฟอรสั
แอลฟา โทโคเฟอรอล นา้ มนั ตบั ปลา โรคโลหติ จาง หญิงมคี รรภ๑
(E) อาจทาใหแ๎ ท๎งได๎
ผกั สเี ขียว นา้ มันจากพชื ทาให๎เม็ดเลือดแดงแขง็ แรง ผ๎ูชายอาจเปน็ หมัน
เชํน นา้ มนั รา น้ามันถัว่ เหลือง และไมเํ ปน็ หมัน

แอลฟา ฟิลโลควโิ นน ผกั สเี ขยี ว ตบั ชํวยในการแขง็ ตัวของเลอื ด เลอื ดแข็งตวั ชา๎ กวําปกติ
(K)
ละลายในนา้
ไทอามีน
(B1) ข๎าวซอ๎ มมือหรือขา๎ วกล๎อง ชํวยบารุงระบบประสาท โรคเหน็บชา
ไรโบเฟลวนิ เนื้อสตั ว๑ ตับ ถ่วั ไขํ
(B2) และการทางานของหัวใจ เบอ่ื อาหาร ออํ นเพลีย
ตับ ไขํ ถว่ั เหลอื ง นม ยสี ต๑
ไนอาซิน ชวํ ยใหก๎ ารเจริญเตบิ โตเป็นไป โรคปากนกกระจอก
(B3) เนอ้ื สตั ว๑ ตบั ถ่ัว ขา๎ วซ๎อมมอื
หรอื ขา๎ วกลอ๎ ง ยสี ต๑ อยาํ งปกติ ทาให๎ผิวหนา๎ ลิ้น ผิวหนงั แหง๎ และแตก
ไพริดอกซนิ
(B6) เน้อื สัตว๑ ตบั ผัก ถวั่ ลิสง ตา มสี ขุ ภาพดี แขง็ แรง ลน้ิ อักเสบ
ถวั่ เหลือง ขา๎ วซ๎อมมือ
ไซยาโนโคบาลามิน ชํวยในการทางานของระบบ เบ่ืออาหาร ออํ นเพลีย
(B12) ตับ ไขํ เนอ้ื ปลา
ประสาท กระเพาะอาหาร ลาไส๎ ผิวหนงั เปน็ ผ่ืนแดง ตอํ มาสี
กรดแอสคอรบ๑ ิก ผลไม๎และผักตาํ งๆ เชนํ
(C) มะขามปอ้ ม ผลไม๎จาพวกส๎ม จาเป็นสาหรบั สุขภาพของผิวหนัง จะคลา้ หยาบ และอกั เสบ
มะละกอ ฝรง่ั กลว๎ ยน้าว๎า
มะเขอื เทศ คะน๎า กะหลา่ ปลี ลิน้ เม่อื ถกู แสงแดด

บารุงผิวหนงั และระบบประสาท เบื่ออาหาร ผวิ หนงั เปน็ แผล

ชวํ ยการทางานของ มีอาการทางประสาท การ

ระบบยํอยอาหาร ทางานของกลา๎ มเน้ือผดิ ปกติ

จาเปน็ สาหรบั การสรา๎ ง โรคโลหติ จาง
เม็ดเลอื ดแดง ชวํ ยใหก๎ ารเจริญ ประสาทเสอื่ ม
เตบิ โตในเดก็ เป็นไปตามปกติ

ทาใหห๎ ลอดเลือดแข็งแรง โรคเลอื ดออกตามไรฟัน
ชวํ ยรกั ษาสุขภาพของฟนั หลอดเลอื ดฝอยเปราะ

และเหงอื ก เป็นหวัดงาํ ย

23

2. แรํธาตุ เป็นสารอนินทรีย๑ท่ีรํางกายจาเป็นต๎องมีอยใํู นระดับทเ่ี หมาะสมจงึ จะสามารถทางานได๎ แรํธาตุ
ยังเป็นสวํ นประกอบของสารหลายชนดิ ที่มีความสาคัญตอํ การทาหน๎าท่ีของเซลลแ๑ ละอวัยวะ ประโยชน๑ของแรํธาตุ
ท่มี ตี อํ ราํ งกายคอื
- เปน็ สํวนประกอบของอวยั วะบางอยําง เชนํ กระดกู ฟัน กล๎ามเน้ือ เซลลป๑ ระสาท
- เปน็ สํวนประกอบของสารตาํ งๆ ในราํ งกาย เชํน เลอื ด นา้ ในเซลล๑
- ชวํ ยในการควบคมุ การทางานของอวยั วะตํางๆให๎ทาหนา๎ ท่เี ปน็ ปกติ

แรธํ าตุแตํละชนดิ มคี วามจาเป็นตอํ การทางานของราํ งกายแตกตํางกันและมอี ยํใู นแหลํงอาหารตาํ งชนดิ กนั
ตารางแสดงแหลํงอาหาร ความสาคญั และผลของการขาดแรํธาตุบางชนดิ

แรธํ าตุ แหลงํ อาหาร ความสาคัญ ผลจากการขาด

แคลเซยี ม นม เน้อื ไขํ ผักสีเขียวเขม๎ เปน็ สวํ นประกอบที่สาคัญของกระดูก เดก็ เจรญิ เติบโตไมเํ ต็มท่ี ในหญิงมี
(Ca) สตั ว๑ที่กินท้งั เปลือกและกระดกู เชนํ และฟนั ชวํ ยในการแข็งตัวของ ครรภจ๑ ะทาใหฟ๎ ันผุ
เลอื ด ชวํ ยในการทางานของ
ก๎ุงแหง๎ ปลา ประสาทและกล๎ามเน้ือ

ฟอสฟอรสั นม เนื้อสตั ว๑ ไขํ ถว่ั เหลือง ชํวยในการสรา๎ งกระดูกและฟัน อํอนเพลยี
(P) นมสด ผกั ใบเขยี ว การดูดซึมคารโ๑ บไฮเดรต กระดูกเปราะและแตกงาํ ย
การสรา๎ งเซลลป๑ ระสาท
ฟลูออไรด๑ ชา อาหารทะเล ฟันผุงาํ ย
(F) เป็นสํวนประกอบของสารเคลอื บ
อาหารทะเล ราข๎าว ฟนั ทาให๎กระดกู และฟนั แข็งแรง เกดิ ความผดิ ปกตขิ องระบบ
แมกนีเซยี ม ถวั่ นม ผักสีเขยี ว ประสาทและกล๎ามเน้อื
(Mg) ปอ้ งกันฟนั ผุ
เกลอื แกง ไขํ นม นา้ ปลา เนย เกิดอาการคลื่นไส๎
โซเดียม เปน็ สวํ นประกอบของเลือด และ เบอ่ื อาหาร ความดนั เลอื ดต่า
(Na) ตบั เนือ้ สตั ว๑ ถั่ว ไขํ กระดูก ชํวยในการทางานของระบบ
ผกั สเี ขียว งาดา โลหติ จาง อํอนเพลยี
เหลก็ ประสาทและกลา๎ มเนอื้
(Fe) ในเด็กทาใหส๎ ติปัญญา
ควบคุมปริมาณนา้ ในเซลล๑ เสือ่ ม ราํ งกายแคระแกรน็
ไอโอดนี อาหารทะเล เกลอื สมทุ ร ให๎คงที่ ในผู๎ใหญํ จะทาใหเ๎ ปน็ โรคคอพอก
(I) เกลอื เสริมไอโอดนี
เปน็ สํวนประกอบของเอนไซม๑บาง เลือดไหลไมํหยดุ
โพแทสเซยี ม เนื้อสตั ว๑ นม กล๎วย ผกั สเี ขียว สม๎ ชนดิ และฮโี มโกลบิน การทางานของกลา๎ มเนอื้ ระบบ
(K) ถวั่ ขา๎ ว เห็ด ไขํ ในเม็ดเลือดแดง
ประสาทผิดปกติ
เป็นสํวนประกอบของฮอรโ๑ มน เบอ่ื อาหาร ซึมเซา
ไทรอกซิน ซง่ึ ผลติ จาก
ตํอมไทรอยด๑

ควบคุมระดับของเหลวในเซลล๑
การทางานของกล๎ามเน้อื
ระบบประสาท
ชวํ ยในการผําตดั ใหญํ

24

3. น้า รํางกายคนเราประกอบดว๎ ยของเหลวร๎อยละ 60-70 ของน้าหนกั ตัว นา้ จงึ เปน็ สารอาหารท่ี มี

ความสาคัญตอํ ราํ งกายอยํางมาก โดยเปน็ สวํ นประกอบของเซลลท๑ ุกเซลลใ๑ นรํางกาย เปน็ สวํ นประกอบหลกั ของเลือด

เป็นตวั ทาละลาย ชวํ ยในการนาของเสียออกจากรํางกาย และชวํ ยในการควบคุมอณุ หภมู ิ ของราํ งกายโดยการระเหย

ของเหงอื่

เน่อื งจากเซลล๑ในรํางกายของเราอยูใํ นสภาพแวดล๎อมท่เี ปน็ สารละลาย ความเข๎มข๎นของของเหลวในราํ งกายจึง

มคี วามสาคญั ตอํ หน๎าท่ขี องเซลล๑ การลาเลยี งสาร และการทางานของระบบตํางๆในรํางกาย ถา๎ ราํ งกายได๎รับน้าไมํ

เพียงพอ อาจมอี าการปวดศีรษะ หงุดหงิดงําย อํอนเพลยี ปากแหง๎ ผวิ แห๎ง ปัสสาวะสีเข๎ม ภาวะขาดนา้ นอกจากจะ

ดื่มน้าไมเํ พียงพอแลว๎ ยงั อาจเป็นผลจากการอาเจยี น ทอ๎ งรํวง หรือจากการเสยี เหง่ือ เน่อื งจากการออกกาลงั กายหรอื

อากาศร๎อน การขาดนา้ ในวัยเดก็ อาจร๎ายแรงจนถงึ แกํชีวิตได๎

รํางกายคนเราไมสํ ามารถสะสมนา้ ไวไ๎ ด๎ เม่ือรํางกายสญู เสยี น้าประมาณ 2-3 ลติ ร จึงตอ๎ งรับน้าเขา๎ ไปแทน

นา้ ทีร่ าํ งกายไดร๎ ับสํวนหน่งึ มาจากการรับประทานอาหาร และไดร๎ บั จากการดม่ื นา้ โดยตรง โดยท่ัวไปแล๎วเราควรดืม่ นา้

ประมาณวนั ละ 6-8 แกว๎ หรอื ปรมิ าณ 1.5-2 ลติ ร

เรือ่ งนําร๎ู

คณุ เป็นคนหน่งึ หรอื เปลําท่กี าลังเหํอซ้ือวิตามินมารบั ประทาน เพราะอยากมสี ขุ ภาพดี

สวํ นมากจะเข๎าใจผดิ คดิ วาํ วติ ามนิ คอื "ยาบารุง" กนิ เขา๎ ไปแลว๎ รํางกายจะสดชื่น แขง็ แรง อายุยืน ฉะนนั้ มาทา
ความเข๎าใจกนั กอํ นวาํ วติ ามนิ คืออะไร

วติ ามินท่ีเข๎าสํูรํางกายของเรา สํวนใหญํได๎มาจากอาหารที่กนิ เข๎าไป กบั สํวนหน่ึง ราํ งกายสงั เคราะห๑
ขึน้ เอง แม๎ปจั จบุ ัน จะมวี ิตามินออกมาจาหนํายในรปู เม็ดหรอื แคปซูลและของเหลว แตวํ ติ ามินเหลํานกี้ ต็ อ๎ ง
สกดั มาจากอาหาร มวี ติ ามนิ บางอยาํ ง สร๎างจากการสังเคราะห๑ทางเคมีได๎ แตํวิตามนิ ทด่ี ที ส่ี ดุ ต๎องสกัดจากอาหาร
แตถํ งึ แมว๎ ิตามินจะมาจากอาหาร เราก็ใชว๎ ิตามนิ แทนอาหารไมไํ ด๎ เพราะฉะน้ัน จงอยาํ เขา๎ ใจวํา
วติ ามินคอื ยาวิเศษ คือยาบารงุ

วิตามินไมใํ ชยํ า แตเํ ปน็ สารสกดั จากสิง่ มีชีวิต (Organic) ทจ่ี าเปน็ สาหรับรํางกาย ชํวยทาให๎การ
ทางานของระบบตํางๆของรํางกาย ทางานไดโ๎ ดยถกู ต๎อง และชํวยให๎ชีวติ ดารงอยูไํ ด๎ ถ๎าขาดวิตามนิ และแรธํ าตุ
ราํ งกายจะหยุดทางาน

ถ๎าคณุ รบั ประทานตาม สตู รอาหารชีวจติ ก็ไมจํ าเป็นจะต๎องกินวิตามินหรือแรํธาตุเสริม แตํ
เน่ืองจากชีวิตความเป็นอยํูและชีวิตประจาวันของคุณ ทม่ี ักจะชอบกินอาหารจาพวกแป้ง พวกนา้ ตาล
(เชนํ เค๎ก ไอศกรีม นา้ อัดลม) และของหวานเป็นประจา และอยํใู นส่งิ แวดลอ๎ มซึง่ เต็มไปดว๎ ยมลพษิ
หรอื คุณมอี ายตุ ั้งแตํ 50 ปีขึน้ ไป คณุ อาจตอ๎ งการวติ ามินและแรํธาตเุ สริมบ๎าง

บทความจากหนังสือ ชวี จิต

25

ความตอ๎ งการอาหารและพลังงานของรํางกาย

จุดประสงคก๑ ารเรยี นรู๎
1. คานวณปรมิ าณพลังงานจากอาหารทร่ี ับประทานในแตลํ ะวัน

การเลอื กรบั ประทานอาหารใหถ๎ กู สัดสวํ นจะทาให๎รํางกายแข็งแรงสมบูรณ๑ ความต๎องการพลงั งานและ

สารอาหารแตลํ ะประเภทของราํ งกายคนเราน้ีมีความแตกตํางกัน ขนึ้ อยกํู ับปจั จยั หลายประการ อาหารท่ีเราบรโิ ภค

ประกอบดว๎ ยสารอาหารตํางๆ ในปรมิ าณและสัดสํวนที่พอเหมาะ

ตารางแสดงคาํ พลงั งานและสารอาหารในอาหารบางชนิดตอํ มวล 100 กรัม

อาหาร คําพลงั งาน โปรตีน ไขมัน คารโ๑ บไฮเดรต เส๎นใย
(100 กรมั ) (กโิ ลแคลอรี) ( กรมั ) ( กรัม ) ( กรัม ) ( กรมั )

ประเภทแป้ง

ก๐วยเต๋ียว ( สุก ) 88 1.0 0 20.3 -

ขา๎ วเจา๎ จากโรงสี ( สกุ ) 155 2.5 0.4 34.2 0.1

ขา๎ วเหนยี วขาว 355 7.0 0.3 81.1 0

บะหมี่สาเรจ็ ( แห๎ง ) 328 7.4 0.6 84.3 0.6

ประเภทเมล็ดผลติ ภัณฑ๑

ถว่ั ลิสง ( ตม๎ ) 316 14.4 26.3 11.4 1.3
1.6
ถั่วเหลืองแห๎ง ( สกุ ) 130 11.0 5.7 10.8 0
-
มะพร๎าว ( น้ากะทิ ) 259 4.6 28.2 1.7

วน๎ุ เส๎น ( ต๎ม ) 79 0 0.1 19.3

ประเภทผกั

ตาลงึ ( ใบ ) 28 4.1 0.4 4.2 1.0

ผกั คะน๎า ( ใบและก๎าน ) 35 3.0 0.4 6.8 1.2

มะละกอดิบ 26 1.0 0.1 6.2 0.9

ผกั บุง๎ ไทย ( ตน๎ แดง ) 30 3.2 0.9 2.2 1.3

มะเขอื เทศ ( สกุ ) 20 1.2 0.3 4.2 0.7

แครอท ( ต๎มสุก ) 56 0.8 0.5 12.8 0.8

ประเภทผลไม๎ 100 1.2 0.3 26.1 0.6
กล๎วยน้าว๎า ( สกุ ) 21 0.6 0.2 4.9 0.2
แตงโม ( เน้อื แดง ) 51 0.9 0.1 11.6 6.0
45 0.5 0.1 11.8 0.5
ฝรงั่ 62 0.6 0.3 15.9 0.5
มะละกอ ( สุก ) 44 0.6 0.2 9.9 0.2
มะมวํ ง ( สุก ) 47 0.7 0.3 11.6 0.5

สม๎ เขียวหวาน
สับปะรด

26

นกั เรยี นจะเหน็ ไดว๎ ํา รํางกายของคนเราในแตํละเพศ แตลํ ะวัยมคี วามตอ๎ งการพลังงานทแี่ ตกตาํ งกัน อาหาร
แตลํ ะชนดิ ก็มสี ารอาหารในปรมิ าณสดั สํวนทแี่ ตกตํางกัน รํางการต๎องการสารอาหารแตํละอยาํ งในสัดสํวนทีต่ าํ งกนั
เพอื่ ให๎เหมาะสมกับความต๎องการของรํางการและไดร๎ บั ในปริมาณท่ีครบถ๎วน

ตาราง ปรมิ าณพลังงานทคี่ วรไดร๎ ับในแตลํ ะวันสาหรบั คนไทยในวยั ตาํ งๆ

สถาณภาพ อายุ (ปี) พลังงาน (กิโลแคลอร่ี)
ทารก
เด็ก 0-5 เดอื น ชาย หญงิ
6-11 เดือน
วัยรุํน ควรได๎รับพลังงานจากนา้ นมแมํ
1-3 ปี
ผใ๎ู หญํ 4-5 ปี 800
6-8 ปี
ต้ังครรภ๑ 9-12 ปี 1,000
ให๎นมบตุ ร 13-15 ปี
16-18 ปี 1,300
19-30 ปี
31-50 ปี 1,400
51-70 ปี
71 ปีขึ้นไป 1,700 1,600
3 เดือนแรก
เดอื นที่ 4-9 2,100 1,800

2,300 1,850

2,150 1,750

2,100 1,750

2,100 1,750

1,750 1,550

+0

+300

+500

ในการทากิจกรรมแตํละอยํางใช๎พลังงานแตกตาํ งกนั นอกจากนน้ั เพศชายและเพศหญิงทีท่ ากจิ กรรมอยําง
เดียวกนั ยงั ใชพ๎ ลงั งานในการทากจิ กรรมไมํเทาํ กนั โดยปกติแล๎ว เพศชายจะใชพ๎ ลังงานมากกวาํ เพศหญิง

พลงั งานในอาหาร

ราํ งกายไดร๎ บั พลังงานสาหรบั ทากจิ กรรมตาํ งๆในชวี ติ ประจาวันจากอาหารทกี่ ินเขา๎ ไป พลงั งานในอาหารวดั ได๎
เปน็ ปริมาณซง่ึ มีหนวํ ยเปน็ แคลอร่ี พลังงานในอาหาร 1 แคลอร่ี มคี ําเทาํ กับพลงั งานความรอ๎ นทีท่ าให๎นา้ 1 กรมั มี
อณุ หภูมิเพิ่มขึน้ 1 องศาเซลเซียส เคร่อื งมอื ท่ใี ชห๎ าคาํ พลงั งานในอาหาร เรียกวาํ แคลอรีมเิ ตอร๑

หนวํ ยของพลงั งานในอาหาร
พลังงานในอาหารมักระบหุ นํอยเปน็ กิโลแคลอรี ในฉลากอาหารตํางๆ จะระบุหนํวยพลังงานโดยเขยี นเป็น

หลายรูปแบบ เชนํ 210 กิโลแคลอรี่ หรือ 210 C หรอื 210 kcal ท้ัง C และ kcal แทนหนวํ ยกโิ ลแคลอร่ี
1 กิโลแคลอร่ี เทาํ กับ 1000 แคลอร่ี , 1 แคลอร่ี เทํากบั 4.2 จูล ( Joule, J )

27

คาํ ดชั นมี วลกาย (BMI: Body Mass Index) เปน็ คําท่อี าศยั ความสมั พันธร๑ ะหวาํ งนา้ หนกั ตวั และสํวนสูง
มาเป็นตวั ชว้ี ัดสภาวะของราํ งกายวาํ มคี วามสมดุลของน้าหนักตวั ตอํ สํวนสงู อยํใู นเกณฑ๑ทเี่ หมาะสมหรอื ไมํ
คาํ ดชั นีมวลกายสามารถคานวณไดโ๎ ดย

นานา้ หนักตวั (หนํวยเป็นกิโลกรมั ) หารดว๎ ย สวํ นสูงกาลังสอง (หนวํ ยเปน็ เมตร)

BMI = น้าหนักตวั (kg)
สํวนสูง (2)

BMI การประเมนิ คําดัชนีมวลกาย
มาตรฐานอาเซยี น(เอเชีย)
การแปรผล
< 18.5
18.5-22.9 นา้ หนกั นอ๎ ยกวํามาตรฐาน
23-24.9 ปกติ
25-29.9
มากกวาํ หรือเทาํ กบั 30 อว๎ นระดบั 1
อ๎วนระดบั 2
อ๎วนระดับ 3

ดชั นีมวลกายน๎อยกวํา 18.5
คุณมีนา้ หนกั นอ๎ ยเกนิ ไป ซง่ึ อาจจะเกิดจากนกั กฬี าที่ออกกาลงั กายมาก และได๎รับสารอาหารไมํเพียงพอ

วธิ ีแก๎ไขตอ๎ งรบั ประทานอาหารที่มคี ุณภาพ และมปี ริมาณพลังงานเพยี งพอ และออกกาลงั กายอยาํ งเหมาะสม
ดชั นีมวลกายระหวาํ ง 18.5-22.9

คณุ มีน้าหนกั ปกตแิ ละมปี ริมาณไขมนั อยํใู นเกณฑป๑ กติ มักจะไมํคอํ ยมีโรครา๎ ย อุบัตกิ ารณ๑ของโรคเบาหวาน
ความดันโลหติ สูงต่ากวําผู๎ที่อว๎ นกวํานี้
ดัชนมี วลกายอยํรู ะหวําง 23-24.9

คุณเรมิ่ จะมนี า้ หนักเกนิ (อ๎วนระดบั 1) หากคณุ มี กรรมพันธ๑ุ เป็นโรคเบาหวานหรอื ไขมนั ในเลอื ดสงู ต๎อง
พยายามลดนา้ หนกั ใหด๎ ัชนีมวลกายต่ากวาํ 23
ดชั นีมวลกายอยูรํ ะหวําง 25-29.9

คุณจดั วําเป็นคนอ๎วนระดบั 2 และหากคณุ มเี ส๎นรอบเอวมากกวาํ 90 ซม.(ชาย) 80 ซม.(หญงิ ) คุณจะ
มโี อกาสเกิดโรคความดัน เบาหวานสูง จาเปน็ ต๎องควบคุมอาหาร และออกกาลงั กาย
ดัชนีมวลกายมากกวํา 30

คณุ จัดวําอ๎วนระดับ 3 คุณเสยี่ งตํอการเกดิ โรคทม่ี ากับความอ๎วน หากคณุ มีเสน๎ รอบเอวมากกวาํ เกณฑ๑ปกติ
คณุ จะเส่ยี งตอํ การเกิดโรคสูง คณุ ต๎องควบคมุ อาหาร และออกกาลงั กายอยาํ งจรงิ จงั

28

การเลือกบริโภคอาหาร

จุดประสงค๑การเรยี นร๎ู
1. อธบิ ายแนวทางการบริโภคอาหารใหไ๎ ด๎สารอาหารครบถ๎วนในสัดสํวนที่เหมาะสมกบั เพศและวัย
2. บอกโทษและแนวทางการป้องกนั การขาดสารอาหาร
3. อธบิ ายวัตถเุ จอื ปนและสารปนเปอื้ นในอาหารท่มี กั พบในชีวติ ประจาวนั

จากขอ๎ มลู ปริมาณสารอาหารและพลังงานทร่ี ํางกายไดร๎ บั ในแตลํ ะวัน ซ่งึ ระบุปรมิ าณโดยเฉพาะเจาะจง เชนํ
บริโภคโปรตีน 46 กรัมตํอวนั วติ ามินเอ 700 กรมั ตอํ วัน หรือบริโภคอาหารใหไ๎ ด๎พลงั งาน 1600 กิโลแคลอรีตอํ
วนั อาจไมสํ ะดวกในทางปฏิบตั ิ นกั โภชนาการจงึ พยายามใหข๎ อ๎ แนะนาทป่ี ฏิบัตงิ ายสาหรบั การรบั ประทานอาหารให๎
ครบสดั สวํ น โดยนาเสนอในขอ๎ มูลสัดสํวนอาหารท่ีควรบริโภคในแตลํ ะวนั นาเสนอในรปู แบบธงโภชนาการ

ชั้นท่ี 1 กลมุํ ข๎าว แป้ง
บริโภคปริมาณมากที่สุดเพราะเป็นแหลงํ พลงั งาน

ช้นั ที่ 2 กลํมุ ผกั และผลไม๎
บรโิ ภคปริมาณรองลงมา เพือ่ ใหไ๎ ดว๎ ติ ามนิ แรธํ าตุ และใยอาหาร

ชั้นที่ 3 กลุํมเนอื้ สตั ว๑ ถ่ัว ไขํ และกลุมํ นม
บรโิ ภคปริมาณทพ่ี อเหมาะ เพื่อให๎ไดโ๎ ปรตนี คณุ ภาพดี เหลก็ และแคลเซียม

ชั้นท่ี 4 กลมุํ นา้ มนั น้าตาล เกลือ
บริโภคแตนํ อ๎ ยเทาํ ท่ีจาเปน็

ภาพแสดงธงโภชนาการ

ธงโภชนาการบอกปรมิ าณ สดั สวํ น และความหลากหลายของอาหารทคี่ นไทยอายุ 6 ปขี ึ้นไป ควร

รับประทานใน 1 วนั โดยแบงํ อาหารเป็น 4 ชน้ั 6 กลุมํ ตามสดั สํวนที่ควรรับประทาน แสดงโดยขนาดพนื้ ท่ี พน้ื ท่ี

มากรบั ประทานมาก พ้นื ท่ีน๎อยรับประทานน๎อย โดยในแตลํ ะกลํมุ ก็ควรรบั ประทานอาหารหลากหลายไมซํ ้าจาเจ

เพื่อใหไ๎ ด๎สารอาหารตํางๆ ครบถ๎วน ตามท่ีราํ งกายต๎องการ และเปน็ การหลกี เลี่ยงการสะสมสารพิษจากการปนเปอื้ น

ในอาหารชนดิ หนึ่ง ทรี่ ับประทานอาหารเป็นประจา

29

ตารางแสดงปริมาณของอาหารทีค่ นไทยควรรับประทานใน1 วัน

กลํุมอาหาร หนํวยครัวเรอื น พลังงาน (กิโลแคลอรี) 2,400
1,600 2,000

ข๎าว - แป้ง ทพั พี 8 10 12

ผัก ทัพพี 4(6) 5 6

ผลไม๎ สวํ น 3(4) 5 5

เน้ือสัตว๑ ช๎อนกินขา๎ ว 6 9 12

นม แก๎ว 2(1) 1 1

นา้ มนั นา้ ตาลและเกลอื ช๎อนชา ใช๎แตนํ ๎อยเทาํ ทีจ่ าเป็น

หมายเหตุ เลขใน() คอื ปริมาณแนะนาสาหรบั ผ๎ใู หญํ
1,600 กโิ ลแคลอรี สาหรบั เด็กอายุ 6 - 13 ปี หญงิ วยั ทางานอายุ 25 - 60 ปี ผู๎สงู อายุ 60 ปีขน้ึ ไป
2,000 กิโลแคลอร ี สาหรับวัยรํุนหญิง - ชาย อายุ 14 - 25 ปี วัยทางานอายุ 25 - 60 ปี
2,400 กโิ ลแคลอรี สาหรบั หญงิ - ชาย ทใ่ี ชพ๎ ลงั งานมากๆ เชนํ เกษตรกร ผ๎ูใชแ๎ รงงาน นกั กฬี า

วัตถุเจือปนและสารปนเป้ือนในอาหาร

ในการผลติ อาหาร ผ๎ผู ลติ อาจเตมิ สารเคมีบางอยํางลงในอาหาร เพ่ือสงวนคณุ คาํ ทางโภชนาการ ชํวยยดื อายุ
ในการเกบ็ ชวํ ยให๎อาหารนนั้ มีคณุ ภาพคงท่ี หรือชวํ ยปรบั ปรงุ คุณภาพในด๎าน กลนิ่ สี รส สารที่เติมลงไปในอาหารนี้
เรียกวํา วัตถุเจือปนในอาหาร

ภาพแสดงตวั อยาํ งอาหารท่มี ีวัตถุเจอื ปน

วตั ถุกันเสีย อาจเรียกวํา สารกันเสยี หรือสารกนั บดู เปน็ วัตถเุ จอื ปนอาหารท่ใี ช๎เพ่ือการถนอมอาหาร ซง่ึ
อาจได๎จากธรรมชาติ หรือเป็นสารสังเคราะห๑ สามารถชํวยยับย้ังหรอื ทาลายจุลินทรีย๑ เชนํ แบคทีเรีย ยสี ต๑ รา ทท่ี า
ให๎อาหารเกดิ การเนําเสยี หรอื ยบั ยงั้ ปฏิกิริยาทางเคมี ท่ที าให๎อาหารเสื่อมเสีย ชํวยยดื อายุการวางจาหนาํ ยของอาหาร
อาหารทกุ ชนิด รวมไปถึงพืชผกั และผลไมส๎ ด เม่ือท้งิ ไวร๎ ะยะหนึ่งและสูญเสยี ความสด หรือเนําเสยี จงึ มีการเติมวตั ถุ
กันเสยี ไปเพอื่ ยดื การใชง๎ าน โดยวตั ถุกนั เสียท่นี ยิ มใช๎ เชํน กรดเบนโซอกิ โซเดียมเบนโซเอต สารพวกไนเตรตและ
ไนไตรท๑ เชํนโซเดยี มไนเตรต เป็นตน๎ วัตถุกนั เสียทีใ่ สํในอาหารนั้น จะต๎องเป็นชนดิ ท่กี ระทรวงสาธารณสุขอนญุ าต
และจะต๎องใช๎ในปรมิ าณท่ีกาหนดไว๎

30

สผี สมอาหาร คือ วัตถุเจอื ปนอาหารที่ผสมในอาหารโดยมวี ัตถปุ ระสงคเ๑ พอ่ื เพอ่ื แตงํ สผี ลิตภณั ฑอ๑ าหารเพ่ือให๎
มีสีเปน็ ทีด่ ึงดูดใจผบ๎ู ริโภค สผี สมอาหารท่นี ยิ มใช๎โดยท่ัวไป แบงํ ออกเปน็ สธี รรมชาติ ซง่ึ มักผลติ จากพืช หรอื สตั ว๑ เชนํ
สที ่ไี ด๎จากดอกอัญชนั กระเจ๊ยี บ เป็นตน๎ และสีสังเคราะห๑ ซึ่งเปน็ สีทีส่ งั เคราะห๑จากสารเคมีตาํ งๆ

ภาพแสดงสํวนประกอบของพชื เชนํ ดอกอัญชัน ใชผ๎ สมอาหารใหม๎ สี ีสนั สวยงามได๎

สีจากธรรมชาตเิ ปน็ สที ีใ่ ชไ๎ ดป๎ ลอดภัยทส่ี ุด สํวนสีสังเคราะหท๑ อ่ี นญุ าตใหใ๎ ชใ๎ นอาหารได๎นน้ั หากบริโภคในปริมาณน๎อย
กไ็ มํเป็นอนั ตรายตํอสุขภาพ

วัตถปุ รงุ แตงํ กลนิ่ รสอาหาร เป็นสารทีช่ ํวยให๎อาหารมีรสและกลนิ่ ถกู ใจผบ๎ู รโิ ภค หรือใชแ๎ ตกํ ลิ่นรส ให๎
ผบู๎ ริโภคเขา๎ ใจผดิ คดิ วาํ เปน็ ของแท๎ หรอื มสี ํวนผสมอยูํมากหรือนอ๎ ยทัง้ ๆ ท่เี ป็นของเทียม สารเหลําน้ีได๎แกํ เครอ่ื งเทศ
สารแตงํ กลนิ่ ผลไม๎ สารรสหวานประเภทน้าตาลเทียม ผงชูรส เป็นสารประกอบท่ีเรยี กวํา "โมโนโซเดียมกลตู าเมต" ถ๎า
เปน็ ผงชรู สปลอมจะใชส๎ ารโซเดยี มเมตาฟอสเฟตและบอแรกซ๑ ซ่งึ เป็นอันตรายตอํ รํางกายมาก

วตั ถุปนเปื้อนในอาหารทีน่ ักเรียนไดศ๎ กึ ษามาน้นั เป็นสารทผี่ ผู๎ ลติ ตงั้ ใจเตมิ ลงในอาหาร นอกจากนีย้ ังมี
สารปนเปอ้ื น ทต่ี ิดมาในอาหารโดยไมํไดต๎ ้งั ใจ ไมวํ ําจะเกดิ ขึน้ ในกระบวนการผลิตอาหาร ซ่งึ รวมถงึ การเพาะปลูก เล้ียง
สตั ว๑ กรรมวิธีการผลิต การบรรจุ การขนสงํ หรอื การกกั เกบ็ รักษา เกิดจากการปนเป้ือนจากสิ่งแวดลอ๎ ม เชํน โลหะ
สารพษิ จากส่ิงมชี วี ิต ยาฆาํ แมลง หมึกพิมพจ๑ ากถุงบรรจุอาหาร

สารปนเป้อื นในอาหารทีค่ วรทราบ
1. ดนิ ประสวิ (Potassium nitrate) นยิ มนามาใสํอาหารประเภทเนือ้ หมู เนือ้ ปลา เนือ้ ววั ทาให๎เนื้อ

เปอ่ื ย สีสวยรสดี และเก็บไวไ๎ ด๎นาน
2. ปรอท พษิ ของสารปรอททไี่ ปสะสมในสมอง ทาให๎ประสาทหลอน ความจาเส่อื ม เป็นอมั พาต เด็กใน

ครรภป๑ ระสาทจะถูกทาลาย นิว้ มือหงิกงอ ปัญญาอํอน และอาจตายได๎ อาการเชนํ นเ้ี รียกวํา "โรคมินามาตะ"
3 .ตะกัว่ พษิ ตะกว่ั เกิดจากสแี ละไอเสยี รถยนต๑ จะทาลายเซลล๑สมองทาลายเม็ดเลือดแดง
4. โครเมยี ม สารประกอบของโครเมียมใชท๎ าสียอ๎ ม พิษของโคเมียมเป็นอันตรายตอํ ผวิ หนงั และปอด
5. แคดเมยี ม มพี ษิ ตํอปอดและไต ทาให๎เกิดโรคอิไต - อิไต
6. น้าประสานทองหรอื บอแร็กซ๑ มชี อ่ื ทางเคมวี าํ "โซเดียมบอเรต" ชาวบ๎านเรียกวํา "ผงกรอบ" ใชใ๎ สํลกู ชิ้น

แป้งกรอบ ทาใหไ๎ ตอักเสบได๎

31

การเลือกรบั ประทานอาหารทีส่ ะอาด ปราศจากสารปนเปอ้ื น สามารถพจิ ารณาจากสญั ลักษณ๑มาตรฐานของกระทรวง
สาธารณสุข ดงั นี้

เครื่องหมาย “สขุ ภาพดี เร่ิมทอ่ี าหารปลอดภัย” Safe Food Good Health
ใช๎กบั อาหารสด เป็นสัญญลกั ษณ๑ให๎กบั ร๎านค๎าทแี่ ผงทจี่ าหนาํ ยอาหารสดในตลาดสดและ
ซปุ เปอร๑มาเกต็ รับผดิ ชอบโดย สานกั งานคณะกรรมการอาหารและยาเป็นการรับรอง
อาหาร ไดแ๎ กํ อาหารสด อาหารแปรรูป ปรงุ จาหนาํ ย สารเคมที ่ตี รวจ ได๎แกํ สาร
บอร๑แรกซ๑ สารพษิ ตกคา๎ งจากสารเคมี สารฟอกขาวสารกนั เชอื้ รา สารฟอรม๑ าลนี สารเรงํ
เน้อื แดง จุลินทรยี ๑ คลอแรมแฟนิคอลไนโตรฟแู รน

เครือ่ งหมาย อย. เปน็ สัญลักษณใ๑ หก๎ ับผลติ ภณั ฑ๑อาหารแปรรูป ทีม่ ี
ภาชนะบรรจสุ นทิ รับผดิ ชอบโดยสานักงานคณะกรรมการอาหาร
และยากระทรวงสาธารณสุข

เครื่องหมายโครงการ “อาหารปลอดภัย” Food Safety
อาหารปลอดภยั เปน็ สญั ลกั ษณ๑ใหก๎ ับฟารม๑ แหลงํ ปลูก ที่ดาเนินการตาม GAP,
COC และ GMPรบั ผิดชอบโดย กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณเ๑ ปน็
การรับรอง

เครอื่ งหมาย ตลาดสด นําซอื้
อาหารสด เปน็ สัญลักษณ๑ ให๎กับตลาดขายอาหารสด อาหารพรอ๎ มบรโิ ภค อาหาร
แปรรูป รบั ผดิ ชอบโดย กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข

เครื่องหมายรับรองคุณภาพระบบตรวจสอบสารพษิ กรมวิทยาศาสตร๑การแพทย๑
กระทรวงสาธารณสขุ
สัญลกั ษณ๑ รับรองคณุ ภาพระบบตรวจสอบสารพิษ รับผิดชอบ โดย
ก รมวทิ ยาศาสตร๑การแพทย๑ กระทรวงสาธารณสขุ ใช๎รับรองคุณภาพระบบตรวจสอบ
สารพิษตกค๎างในผักสดผลไม๎ ซึง่ ผู๎ประกอบการสามารถดาเนินการตรวจสอบผกั สดผลไม๎
ไดอ๎ ยํางเปน็ ระบบ สามารถตรวจสอบให๎เป็นไปตามข๎อกาหนดและเงอ่ื นไขของ
กรมวิทยาศาสตร๑การแพทย๑ กระทรวงสาธารณสขุ

ในการดาเนินกิจกรรม การดารงชวี ิต และการเจริญเติบโต รํางกายต๎องการอาหารเพ่ือเปน็ แหลํงพลงั งาน
และเป็นวัตถดุ ิบในการสังเคราะหส๑ ารตํางๆ ประเทศไทยอดุ มไปดว๎ ยพชื พนั ธุ๑ ธัญญาหารนานาชนิด ทกุ คนจงึ สามารถ
เลอื กบริโภคอาหารไดอ๎ ยํางหลากหลาย เราควรรบั ประทานอาหารทส่ี ด และสะอาด เพื่อให๎รํางกายได๎รบั สารอาหาร
ครบถ๎วนในสัดสวํ นท่เี หมาะสม และหลีกเลยี่ งอาหารท่ีมวี ัตถเุ จือปนหรือสารปนเป้ือนท่ีเปน็ อนั ตราย

32

บรรณานุกรม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพค๑ รุ สุ ภาลาดพร๎าว.
บัญชา แสนทวี. (2547). หนงั สอื เรยี นสาระการเรยี นรู๎พ้นื ฐาน วทิ ยาศาสตร๑ เลมํ 3 กลํุมสาระการเรียนรู๎
วทิ ยาศาสตร๑ ชวํ งช้นั ท่ี 3 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2. กรงุ เทพฯ : สานกั พิมพ๑วัฒนาพานชิ ย๑
ฝา่ ยวิชาการสานกั พมิ พ๑ภูมบิ ณั ฑิต. (2556). วทิ ยาศาสตร๑ ม.2 กรุงเทพ : ภูมิบณั ฑติ การพิมพ๑
สถาบนั สงํ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ๑ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ. (2551). หนงั สอื เรยี น

สาระการเรียนร๎พู ื้นฐานวิทยาศาสตร๑ 3 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 2. ครุ สุ ภาลาดพรา๎ ว.
สถาบันสํงเสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร๑และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2551). คมูํ อื ครูสาระ

การเรียนร๎พู ื้นฐานวิทยาศาสตร๑ 3 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 2. คุรุสภาลาดพร๎าว.


Click to View FlipBook Version