The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบรายงาน การประเมิน ITA ONLINE ปี งบประมาณ 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ชัชดนัย กาญจนตฤณ, 2022-09-04 00:41:22

แบบรายงาน การประเมิน ITA ONLINE ปี งบประมาณ 2564

แบบรายงาน การประเมิน ITA ONLINE ปี งบประมาณ 2564

Keywords: ITA

รายงานผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ
สถานศึกษาออนไลน์

(ITA Online) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

โรงเรยี นบา้ นโป่งน้าร้อน

สานักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาแพงเพชร เขต ๒

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

กระทรวงศกึ ษาธกิ าร https://bit.ly/3jvhoLc

คานา

ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) กาหนดเป้าหมายสาคญั ในประเด็นที่เก่ยี วข้องกับ การ
ตอ่ ต้านการทุจรติ และประพฤติมชิ อบ คือ ภาครฐั มีความโปรง่ ใสปลอดการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ มีการบรหิ าร
จดั การตามหลกั ธรรมาภิบาลและหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในทกุ ระดบั พรอ้ มทั้งสร้างวัฒนธรรมตอ่ ตา้ น
การทุจรติ และประพฤตมิ ิชอบของบคุ ลากรภาครัฐ โดยกาหนดมาตรการใหห้ นว่ ยงานภาครฐั และทกุ ภาคสว่ น
ดาเนินงานอยา่ งโปรง่ ใส เพอื่ เสริมสรา้ งคุณธรรมความสจุ รติ ความซ่ือสตั ยค์ วามโปรง่ ใส และเป็นธรรม รวมท้งั
การกาหนดแนวทางการพัฒนาใหเ้ กิดความโปร่งใส ๓ ประการ ไดแ้ ก่ ๑. ปลูกและปลุกจิตสานกึ การเป็นพลเมืองดี
มวี ัฒนธรรมสจุ ริตและการปลกู ฝงั วฒั นธรรมในกลุ่มเดก็ และเยาวชนทุกชว่ งวัยทกุ ระดบั ๒. ส่งเสรมิ การปฏบิ ัติ
หน้าทขี่ องขา้ ราชการและเจา้ หน้าทข่ี องรฐั ใหม้ ีความใสสะอาดปราศจากพฤตกิ รรม ทส่ี ่อไปในทางทจุ รติ และ ๓.
ปรบั ระบบงานและโครงสรา้ งองคก์ รทเ่ี อื้อต่อการลดการใช้ดุลพนิ จิ ในการปฏิบัตงิ านของเจ้าหน้าท่ี โดยกาหนดให้
หน่วยงานภาครัฐเข้ารับการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานเพ่ือจะไดท้ ราบผลการประเมิน
และแนวทางการพฒั นา ซ่งึ จะช่วยยกระดบั หน่วยงาน ในด้านคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานให้
สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรช์ าติ

การประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์ ไดเ้ ร่ิมดาเนนิ การ ใน
ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ซ่งึ สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ได้จัดใหม้ กี ารประเมินในรปู แบบ
ออนไลน์ โดยประเมินจากแหลง่ ข้อมูล ๓ แหล่ง ไดแ้ ก่ ๑. ผูม้ สี ว่ นได้สว่ นเสียภายใน (สาหรบั แบบ IIT) ๒. ผมู้ สี ว่ น
ได้สว่ นเสยี ภายนอก (สาหรับแบบ EIT) และ ๓. เวบ็ ไซต์สถานศกึ ษา (สาหรบั แบบ OIT) ซ่งึ ผลคะแนนครั้งน้ี จะ
สะทอ้ นใหเ้ ห็นถงึ ผลการปฏบิ ตั ิงานของสถานศกึ ษาดา้ นคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงาน

โรงเรียนบา้ นโป่งนา้ รอ้ น หวังเปน็ อยา่ งยง่ิ ว่าเอกสารรายงานผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสใน
การดาเนนิ งานของสถานศึกษาออนไลน์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ฉบับนี้ จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ สถานศึกษา
ในการนาผลการประเมินไปวางแผนปรบั ปรงุ หรือพฒั นาการดาเนินงานในระดบั นโยบายและระดบั ปฏิบัตติ ่อไป
ขอขอบคุณคณะทป่ี รกึ ษาและคณะทางานทกุ ทา่ นทมี่ ีส่วนรว่ มในการจดั ทารายงานผลการประเมินคุณธรรมและ
ความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์ จนบรรลวุ ัตถุประสงค์ ไว้ ณ โอกาสน้ี

โรงเรยี นบา้ นโปง่ นา้ ร้อน สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษากาแพงเพชร เขต ๒

สารบัญ
คานา หน้า

บทนา

ความเปน็ มา ๑

แนวทางการประเมิน ITA ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๒

ยุทธศาสตรช์ าตริ ะยะ ๒๐ ปี

นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ๒

สรปุ ผลการประเมนิ ตามตัวช้ีวัดของ IIT และ EIT

ขอ้ มลู พื้นฐานเก่ียวกับการประเมนิ ๑๓

รายละเอยี ดการประเมนิ ITA แตล่ ะตัวชว้ี ัด ๑๓

การประเมินตามตัวชี้วัด ของ OIT

ตัวช้วี ัดการประเมิน ๓๑

การประมวลผลคะแนน ๔๑

ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์

โรงเรยี นบ้านโป่งน้าร้อน จาแนกตามตวั ชี้วดั การประเมิน ๔๒

ผลการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์ ๔๕

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ และ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

ปญั หาและอุปสรรคการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์

ปัญหาและอปุ สรรคการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์ ๔๖

บทสรปุ ผูบ้ ริหาร ๔๗

ภาคผนวก ๔๙



บทนา

ความเปน็ มา

สานักงานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาติ (สานักงาน ป.ป.ช.) ได้พัฒนาเคร่ืองมอื การประเมิน
เชงิ บวกเพ่อื เป็นมาตรการปอ้ งกนั การทุจรติ และเป็นกลไกในการสรา้ ง ความตระหนักให้หน่วยงานภาครฐั มกี ารดาเนินงานอย่าง
โปร่งใสและมีคุณธรรม โดยใช้ช่อื ว่า “การประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั (Integrity
and Transparency Assessment: ITA)” เปน็ กลยทุ ธท์ ่ีสาคญั ของยทุ ธศาสตร์ชาตวิ ่าด้วยการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ
ระยะที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ซ่ึงถอื เป็นการยกระดับใหก้ ารประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของ
หนว่ ยงานภาครัฐ ให้เปน็ “มาตรการป้องกนั การทจุ รติ เชิงรุก” ท่ีหน่วยงานภาครฐั ทัว่ ประเทศจะต้องดาเนนิ การ โดยม่งุ หวังให้
หน่วยงานภาครัฐที่เขา้ รับการประเมนิ ได้รบั ทราบผลการประเมินและแนวทางในการพฒั นาและยกระดับหนว่ ยงานในดา้ นคุณธรรม
และความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานได้อย่างเหมาะสม และที่ผ่านมาพบว่า หลายหนว่ ยงานนาการประเมินคณุ ธรรมและความ
โปรง่ ใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั ไปเป็นกรอบในการพัฒนาและยกระดับการบริหารการจัดการให้เปน็ ไปตามหลกั ธรร
มาภบิ าล เกดิ การปรับปรุงประสิทธิภาพในการให้บริการและการอานวยความสะดวกต่อประชาชน ใหเ้ ขา้ ถงึ การ บริการสาธารณะ
ด้วยความเปน็ ธรรมผ่านการปฏิบตั ิงานอย่างมมี าตรฐาน มกี ารประกาศขั้นตอนและระยะเวลาในการให้บริการอยา่ งชดั เจน
นอกจากน้ี ในด้านบรหิ ารจัดการในหนว่ ยงาน กย็ งั พบว่าหน่วยงานใหค้ วามสาคญั กบั การปอ้ งกันในประเดน็ ท่ีอาจเป็นความเส่ียง
หรอื เป็นชอ่ งทางทีอ่ าจจะกอ่ ให้เกดิ การทุจริต การรบั สนิ บน หรือกอ่ ใหเ้ กดิ ผลประโยชน์ทับซอ้ น และสามารถยบั ยง้ั การทุจริตหรือ
ผลประโยชน์ทับซ้อนท่อี าจเกิดขนึ้ ได้อยา่ งเท่าทนั สถานการณ์ ซึ่งเมอ่ื หนว่ ยงานภาครัฐท่วั ประเทศมีการปอ้ งกันการทุจริตเชิงรกุ ใน
ลกั ษณะดังกล่าว กจ็ ะทาให้การทจุ ริตในภาพรวมของประเทศลดลงไดใ้ นทีส่ ุด ตลอดจนยังผลักดันใหเ้ กิดทิศทาง การพัฒนาและ
ปรบั ปรงุ การทางานภายในหนว่ ยงานในภาพรวมของประเทศให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขนึ้ อกี ดว้ ย

การดาเนนิ การประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and
Transparency Assessment: ITA) ท่ผี ่านมา ถอื ว่าประสบความสาเรจ็ เป็นอย่างย่ิง โดยได้รบั ความรว่ มมือจากหน่วยงานภาครัฐท่ี
เขา้ ร่วมเป็นอยา่ งดี และได้รบั เสียงสะทอ้ นว่าการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐนั้น
เปน็ เครือ่ งมือที่ชว่ ยให้หนว่ ยงานทีร่ บั การประเมินได้มกี ารตรวจสอบและสอบทานตนเอง มีการปรับปรุงการดาเนินงานใหเ้ ปน็ ไป
ตามหลักธรรมาภิบาลในส่วนท่ี ยงั ขาดตกบกพร่อง มกี ารพัฒนาระบบงานให้เกิดความโปร่งใส มีการปรับปรงุ การบริหารงานและ
การปฏิบตั งิ านอย่างเปน็ ธรรมทง้ั ต่อบคุ ลากรในหนว่ ยงานและตอ่ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสียของหน่วยงานไดเ้ ปน็ อยา่ งดี

ปจั จบุ ันการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐไดถ้ กู กาหนดเป็นตวั ชว้ี ดั และค่า
เป้าหมายของแผนแมบ่ ทภายใตย้ ุทธศาสตร์ชาติ ประเดน็ ที่ ๒๑ การตอ่ ต้านการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ (พ.ศ ๒๕๖๑ -พ.ศ
๒๕๘๐) โดยในระยะแรก (พ.ศ ๒๕๖๑- ๒๕๖๕) กาหนดคา่ เป้าหมายใหห้ น่วยงานภาครัฐทม่ี ผี ลการประเมินผ่านเกณฑ์ (๘๕
คะแนนขึน้ ไป) ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ ๘๐

สานกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษากาแพงเพชรเขต ๒ นอกจากจะเป็นหนว่ ยงานท่ีรับการประเมินคณุ ธรรม และ
ความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานจากสานักงาน ป.ป.ช แลว้ ยงั เป็นหนว่ ยงานที่นาเครื่องมอื การประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสใน
การดาเนินงานของหนว่ ยงานภาครฐั (Intergrity and Transparency Assessment : ITA) ไปขยายผลเพือ่ พฒั นาและยกระดบั
คณุ ธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานในสงั กัด โดยการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของโรงเรียนบ้าน



โปง่ นา้ รอ้ นอย่างตอ่ เน่อื ง และไดพ้ ฒั นานวัตกรรมการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใส ในการดาเนนิ งานของสานักงานเขตพน้ื ท่ี
การศึกษาในรปู แบบออนไลน์ โดยมีแนวคิดการพฒั นานวัตกรรมการประเมินดว้ ยระบบ ITA Online เพอ่ื ความสะดวกในการ
จัดเก็บข้อมลู รวดเรว็ ในการวเิ คราะหแ์ ละประมวลผลโปรง่ ใสตรวจสอบไดด้ ้วยระบบเวลาจริง (Real- Time System) และการ
ประเมินมปี ระสทิ ธิภาพ ลดภาระงานด้านเอกสาร (Paperless) ของสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาทรี่ บั การประเมนิ โดยปรบั ปรุง
ระบบการเก็บขอ้ มลู ใหเ้ ป็นแบบออนไลนเ์ ต็มรูปแบบ

แนวทางการประเมิน ITA Online ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

สำหรบั เกณฑก์ ารประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์ ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ.๒๕๖๔ สำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐานใชก้ รอบแนวทางการประเมินเช่นเดียวกบั การประเมนิ คุณธรรมและความ
โปร่งใสในการดำเนินงานของสานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาออนไลน์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ เพื่อให้สถานศกึ ษาที่เข้ารบั
การประเมนิ ไดท้ ราบผลการประเมินตลอดจนขอ้ เสนอแนะทจ่ี ะนาไปสกู่ ารปรบั ปรุงพัฒนาคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงาน
อย่างเช่อื มโยงและตอ่ เนอ่ื ง โดยมีการปรบั ปรงุ ในรายละเอยี ดของระเบยี บวธิ กี ารประเมนิ และประเด็นการประเมินเล็กนอ้ ย เพือ่
แกไ้ ขปรับปรงุ ข้อจำกัดของการประเมนิ ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพมากย่ิงขึ้น

หน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้องในการประเมิน ITA Online

ในการขับเคลอื่ นการประเมิน ITA Online จาเป็นที่จะตอ้ งมีหลายหนว่ ยงานร่วมกันขับเคลือ่ นการประเมนิ ITA Online
ใหส้ ามารถดาเนินการได้อย่างเรยี บร้อยและเป็นไปตามกรอบระยะเวลาท่กี าหนด ประกอบดว้ ย

สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เป็นหนว่ ยศนู ย์กลางในการกากบั ติดตาม การประเมิน ITA Online โดย
มีหน้าท่กี าหนดกลไกและกระบวนการในการขับเคล่ือนการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสถานศึกษา
ออนไลน์ในภาพรวม รวมไปถงึ หลกั การและหลักเกณฑ์ต่างๆ ในการประเมิน การกากับตดิ ตามการประเมินและการดาเนนิ การตอ่
ผลการประเมนิ เพื่อนาเสนอตอ่ สานกั งาน ป.ป.ช.

สานักงาน ป.ป.ช. มบี ทบาทในการรว่ มกาหนดแนวทางและร่วมกากับติดตามการประเมิน รวมไปถึงการประสานงานใน
ระหว่างกระบวนการต่างๆในการประเมนิ

สานักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษา เปน็ หน่วยย่อยในการดาเนนิ การประเมนิ คุณธรรมและ ความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของ
สถานศกึ ษาออนไลน์ โดยมีหน้าทก่ี าหนดกลไกและกระบวนการในการขบั เคลอื่ นการประเมินสถานศกึ ษากล่มุ เป้าหมาย คอื
โรงเรยี นคุณภาพประจาตาบลในแต่ละเขตพนื้ ที่การศกึ ษา

สถานศึกษา เปน็ กลุ่มเปา้ หมายที่รบั การประเมิน โดยในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ัน
พืน้ ฐาน กาหนดให้โรงเรียนคณุ ภาพประจาตาบล จานวน ๘,๒๒๔ แหง่ เขา้ รับการประเมนิ



สาหรับการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๖๔ ในปนี ี้ ถือเป็นการขยายผลการนาเคร่อื งมอื การประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใส มาใชใ้ นการประเมนิ สถานศึกษาในสังกัด
สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน ในรปู แบบออนไลนเ์ ปน็ ครง้ั แรก หลงั จากที่ไดม้ กี ารปรบั ปรงุ เครือ่ งมอื การประเมนิ
อย่างตอ่ เน่ืองในการประเมนิ สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาจนประสบผลสาเร็จ โดยการประเมนิ ผา่ นระบบ ITA Online ซง่ึ ได้
ดาเนนิ การพัฒนา และออกแบบระบบการประเมินในครง้ั น้ีให้งา่ ยต่อการใช้งาน ลดความยงุ่ ยาก ซับซอ้ นในการนาเข้าขอ้ มูล และ
คานงึ ถงึ ความสะดวกในการตอบคาถามแบบสารวจของผ้ทู ี่เกีย่ วขอ้ ง

การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์ในครงั้ นี้ จะทาใหห้ นว่ ยงานเกดิ ความ
ตระหนัก และนากรอบการประเมินที่กาหนดไปดาเนนิ การจัดทามาตรการส่งเสรมิ คุณธรรมและความโปรง่ ใส พฒั นาระบบงาน
ออกแบบกลไกปรบั ปรงุ แก้ไข ข้นั ตอน วิธีการปฏบิ ตั งิ านต่างๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง รวมถงึ เปิดเผยข้อมลู หรอื ข่าวสารสาธารณะใน
ครอบครอง ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ นอกจากน้ผี ลการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จะเปน็ ขอ้ มลู พนื้ ฐานสาคญั ที่จะนาไปสกู่ ารปรบั ปรุงหนว่ ยงานและการวางแผนในการป้องกัน
การทุจรติ ทงั้ ระดบั นโยบายและระดบั ปฏิบตั ใิ นอนาคตอีกด้วย

ยทุ ธศาสตรช์ าตริ ะยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙)

ในการที่จะบรรลุวิสัยทศั นแ์ ละทาใหป้ ระเทศไทยพฒั นาไปส่อู นาคตที่พึงประสงค์ จาเปน็ จะตอ้ งมี การวางแผนและกาหนด
ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาในระยะยาว และกาหนดแนวทางการพฒั นาของทุกภาคส่วน ใหข้ บั เคลือ่ นไปในทิศทางเดยี วกนั ยทุ ธศาสตร์
ชาติระยะ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) ภายใตว้ สิ ัยทัศน์“ประเทศมี ความม่นั คง ม่ังคง่ั ย่ังยนื เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ดว้ ย
การพัฒนาตามปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ประกอบด้วย ๖ ยุทธศาสตร์ โดยสรปุ ได้ดงั นี้
(๑) ยุทธศาสตรด์ ้านความมัน่ คง
มเี ป้าหมายทัง้ ในการสร้างเสถยี รภาพภายในประเทศและช่วยลดและปอ้ งกันภยั คุกคาม จากภายนอกรวมทัง้ สร้างความเช่ือมัน่ ใน
กลุ่มประเทศอาเซยี นและประชาคมโลกทีม่ ตี ่อประเทศไทย ๔ รายงานผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงาน
ของสถานศกึ ษาออนไลน์ (ITA Online) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
(๒) ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั
เพ่ือใหป้ ระเทศไทยสามารถพัฒนาไปสู่การเปน็ ประเทศพฒั นาแล้ว ซ่งึ จาเปน็ ตอ้ งยกระดับผลิตภาพ การผลติ และการใช้นวตั กรรม
ในการเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันและการพัฒนาอย่างยั่งยืนท้งั ในสาขา อุตสาหกรรม เกษตรและบรกิ าร การสร้างความมัน่ คง
และปลอดภัยด้านอาหาร การเพิ่มขีดความสามารถทาง การค้าและการเป็นผู้ประกอบการ รวมทั้งการพฒั นาฐานเศรษฐกจิ แหง่
อนาคต ทง้ั นภ้ี ายใตก้ รอบการปฏริ ปู และพัฒนาปัจจยั เชิงยทุ ธศาสตร์ทกุ ด้าน อนั ไดแ้ ก่โครงสร้างพนื้ ฐานและระบบโลจสิ ตกิ ส์
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม การพฒั นาทุนมนุษย์ และการบรหิ ารจดั การทง้ั ในภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชน
(๓) ยุทธศาสตรด์ ้านการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพคน
เพื่อพฒั นาคนและสงั คมไทยให้เปน็ รากฐานทแี่ ข็งแกร่งของประเทศ มคี วามพรอ้ มทางกาย ใจ สติปญั ญา มคี วามเปน็ สากล มที ักษะ
การคดิ วิเคราะหอ์ ย่างมเี หตผุ ล มีระเบยี บวินยั เคารพกฎหมายมีคุณธรรม จริยธรรมรคู้ ุณค่าความเป็นไทย มคี รอบครัวท่มี น่ั คง
(๔) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม
เพื่อเร่งกระจายโอกาสการพัฒนาและสร้างความมัน่ คงให้ท่วั ถงึ ลดความเหลอื่ มล้าไปสูส่ งั คมท่เี สมอ ภาคและเป็นธรรม
(๕) ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ติ ที่เปน็ มิตรต่อส่งิ แวดล้อม



เพ่อื เรง่ อนุรกั ษ์ฟน้ื ฟแู ละสร้างความมน่ั คงของฐานทรพั ยากรธรรมชาติ และมคี วามมน่ั คง รวมท้งั มี ความสามารถในการป้องกนั
ผลกระทบและปรับตวั ต่อการเปลย่ี นแปลงสภาพภูมิอากาศและภยั พบิ ัติธรรมชาติ และพัฒนามุ่งสกู่ ารเป็นสังคมสีเขียว
(๖) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดลุ และพฒั นาระบบการบริหารจัดการภาครฐั
เพ่อื ให้หนว่ ยงานภาครัฐมขี นาดทเี่ หมาะสมกบั บทบาทภารกจิ มสี มรรถนะสูง มีประสิทธภิ าพและ ประสิทธิผล กระจายบทบาท
ภารกจิ ไปสทู่ ้องถิ่นอย่างเหมาะสม มธี รรมาภิบาล สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้จดั ทาแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐
– ๒๕๗๙ ซง่ึ เปน็ แผน ระยะยาว ๒๐ ปี เพอื่ เปน็ แผนแมบ่ ทสาหรับหนว่ ยงานที่เกย่ี วข้องนาไปใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนา
การศึกษาในช่วงระยะเวลา ดงั กล่าว โดยนายุทธศาสตร์ชาติมาเปน็ กรอบความคดิ สาคัญในการจัดทาแผนการ ศกึ ษาแห่งชาติ และ
ได้กาหนดวสิ ยั ทศั น์ (Vision) ไวด้ ังน้ี
“คนไทยทุกคนได้รบั การศกึ ษาและเรียนร้ตู ลอดชีวิตอย่างมคี ุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคลอ้ งกับหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และการเปลย่ี นแปลงของโลกศตวรรษที่ ๒๑”
วัตถปุ ระสงค์ของแผนการศึกษาแหง่ ชาติ (Objectives) ๔ ประการ คือ
๑) เพื่อพัฒนาระบบและกระบวนการจดั การศึกษาที่มีคุณภาพและมีประสทิ ธิภาพ
๒) เพ่อื พฒั นาคนไทยให้เป็นพลเมอื งดี มคี ณุ ลกั ษณะทักษะและสมรรถนะทสี่ อดคลอ้ งกับบทบัญญัติ ของรฐั ธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจกั รไทย พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ และยทุ ธศาสตรช์ าติ
๓) เพอ่ื พฒั นาสังคมไทยใหเ้ ปน็ สังคมแหง่ การเรยี นรู้ และคุณธรรม จรยิ ธรรม ร้รู กั สามัคคี และร่วมมอื ผนึกกาลังมุง่ สู่การพฒั นา
ประเทศอยา่ งย่ังยืน ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๔) เพอ่ื นาประเทศไทยก้าวข้ามกับดกั ประเทศทีม่ รี ายได้ปานกลาง และความเหลือ่ มล้าภายในประเทศ ลดลง และได้วางเป้าหมาย
ไว้ ๒ ด้าน คือ เป้าหมายด้านผ้เู รยี น (Learner Aspirations) และเป้าหมายของการ จัดการศกึ ษา (Aspirations)
๔.๑ เป้าหมายด้านผเู้ รยี น (Learner Aspirations) โดยมงุ่ พัฒนาผู้เรียนทกุ คนให้มีคุณลักษณะ และทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี
๒๑ (๓Rs๘Cs) ประกอบดว้ ย ทกั ษะและคุณลกั ษณะต่อไปนี้ ๕ รายงานผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน
ของสถานศกึ ษาออนไลน์ (ITA Online) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๓Rs ได้แก่ การ อ่านออก (Reading) การเขยี นได้ (Writing) และการคดิ เลขเปน็ (Arithmetic)
๘Cs ได้แก่ ทกั ษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทกั ษะในการแกป้ ัญหา (Critical Thinking and Problem Solving) ทักษะ
ด้านการสร้างสรรค์และนวตั กรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทศั น์ (Cross
– cultural Understanding) ทักษะด้าน ความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผนู้ า (Collaboration, Teamwork and
Leadership) ทักษะด้าน การสือ่ สาร สารสนเทศ และการร้เู ท่าทนั สอ่ื (Communications, Information and Media Literacy)
ทักษะด้านคอมพวิ เตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะ อาชีพและทักษะการ
เรียนรู้ (Career and Learning Skills) และความมีเมตตา กรุณา มีวินัย คุณธรรม จรยิ ธรรม(Compassion)
๔.๒ เป้าหมายของการจัดการศกึ ษา (Aspirations) ๕ ด้าน ประกอบดว้ ย
๑) ประชากรทกุ คนเข้าถึงการศึกษาทม่ี คี ณุ ภาพและมาตรฐานอย่างทั่วถึง (Access) เดก็ ปฐมวัยมีพัฒนาการสมวยั ประชากรทกุ คน
มีโอกาสได้รบั บรกิ ารทางการศกึ ษาต้งั แต่ปฐมวยั ถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย หรอื เทยี บเท่าที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ประชากรทอี่ ยู่
ในกาลังแรงงานได้รบั การพัฒนาทักษะ ความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะทีต่ อบสนองความตอ้ งการของตลาดงานและการ
พัฒนาประเทศ ประชากรสงู วัย ได้เรียนรู้ ฝึกฝนเพอ่ื พฒั นาความรคู้ วามสามารถ และทกั ษะเพ่ือการทางานหรอื การมชี วี ติ หลงั วัย
ทางานอย่างมี คณุ ค่าและเปน็ สขุ



๒) ผเู้ รียนทุกกลมุ่ เป้าหมายได้รับบริการทางการศกึ ษาอย่างเสมอภาคและเท่าเทียม (Equity) ผู้เรียนทกุ กลมุ่ เป้าหมาย ทั้งกล่มุ ปกติ
ผมู้ คี วามสามารถพเิ ศษ ผู้มีความบกพร่องด้านต่างๆ ผู้พกิ ารผ้ดู อ้ ยโอกาสและผู้มภี ูมิหลงั ทางสงั คมหรือฐานะทางเศรษฐกจิ ที่แตกต่าง
กันได้รับโอกาสและการบริการทางการศึกษาอย่าง เสมอภาคและเท่าเทยี ม
๓) ระบบการศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพ สามารถพัฒนาผู้เรยี นใหบ้ รรลขุ ดี ความสามารถและเตม็ ตาม ศักยภาพ (Quality)ประชาชนทุกคนมี
โอกาสไดร้ บั การศึกษาทีม่ ีคุณภาพและมาตรฐาน เพอ่ื พัฒนาคณุ ลกั ษณะ ทักษะความรู้ ความสามารถ และสมรรถนะของแตล่ ะ
บคุ คลใหไ้ ปไดไ้ กลทสี่ ุดเท่าทศ่ี ักยภาพและความสามารถ ของแต่ละบุคคลพงึ มี ภายใต้ระบบเศรษฐกิจสังคมฐานความรู้ สงั คมแหง่
ปญั ญา และการสร้างสภาพแวดล้อมที่ เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ ท่ีประชาชนสามารถเรียนรู้ได้อยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดชวี ิต มคี ณุ ธรรม
จริยธรรมและสามารถดารงชีวิตไดอ้ ย่างเปน็ สขุ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
๔) ระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ เพ่ือการพัฒนาผู้เรียนอย่างทัว่ ถงึ และมี คณุ ภาพ และการลงทนุ ทางการศึกษาท่ี
คมุ้ คา่ และบรรลเุ ป้าหมาย (Efficiency) หน่วยงาน สถานศกึ ษาและ สถาบันการศึกษาทุกแห่งสามารถบริหารและจดั การศกึ ษา
อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยคุณภาพและมาตรฐาน ระดับสากล จัดใหม้ ีระบบการจดั สรรและใชท้ รพั ยากรทางการศกึ ษาทกี่ ่อ
ประโยชนส์ งู สดุ ในการพัฒนาผู้เรียน แต่ละคนให้บรรลุศักยภาพและขดี ความสามารถของตน และส่งเสรมิ สนับสนุนใหท้ กุ ภาคส่วน
ของสังคมที่มี ศกั ยภาพและความพรอ้ มเข้ามามสี ว่ นร่วมในการระดมทุนและรว่ มรบั ภาระคา่ ใชจ้ ่ายเพ่ือการศึกษา โดยเฉพาะ สถาน
ประกอบการ สถาบนั และองค์กรต่างๆ ในสังคม และผเู้ รยี นผ่านมาตรการทางการเงินและการคลงั ที่ เหมาะสม
๕) ระบบการศกึ ษาที่สนองตอบและก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกที่เป็นพลวตั และบริบทที่ เปลย่ี นแปลง (Relevancy) ระบบ
การศึกษาท่มี ีคณุ ภาพและมาตรฐาน สนองตอบและก้าวทนั การเปลย่ี นแปลง ของโลกศตวรรษท่ี ๒๑ สามารถพัฒนาทักษะ
คณุ ลักษณะและสมรรถนะในการทางานของกาลัง๖) รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของ
สถานศกึ ษาออนไลน์ (ITA Online) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ คนในประเทศ ใหส้ อดคล้องกบั ความต้องการของตลาดงาน
สังคม และประเทศ ภายใตย้ ุทธศาสตรช์ าติระยะ ๒๐ ปี และ ยทุ ธศาสตร์ประเทศไทย ๔.๐ ท่จี ะนาประเทศไทยก้าวขา้ มกบั ดกั
ประเทศทม่ี รี ายได้ปานกลางสกู่ ารเปน็ ประเทศ ท่ีพัฒนาแล้ว ด้วยการศึกษาท่ีสร้างความม่นั คงในชวี ิตของประชาชนสังคมและ
ประเทศชาติ และการสร้างเสรมิ การเตบิ โตทเ่ี ปน็ มิตรกับส่ิงแวดล้อมแผนการศกึ ษาแหง่ ชาติได้กาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนา
การศกึ ษาภายใต้
ยุทธศาสตรห์ ลักที่สอดคลอ้ งกับยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี ดงั น้ี

ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ การจดั การศกึ ษาเพ่ือความมนั่ คงของสังคมและประเทศชาติ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ การผลิตและพฒั นากาลังคน การวจิ ยั และนวัตกรรรม เพือ่ สร้างขีดความสามารถ ในการ แขง่ ขันของ
ประเทศ
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๓ การพฒั นาศกั ยภาพคนทกุ ช่วงวยั และการสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้ ยุทธศาสตร์ ที่ ๔ การสร้างโอกาส
ความเสมอภาค และความเท่าเทยี มทางการศึกษา
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๕ การจัดการศึกษาเพอ่ื สร้างเสริมคณุ ภาพชีวติ ที่เปน็ มิตรกับสิง่ แวดล้อม
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๖ การพัฒนาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา

จดุ เนน้ เชิงนโยบายรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ

จดุ เนน้ เชงิ นโยบายโดย ยดึ กรอบยทุ ธศาสตร์ชาติ ๖ ดา้ น เป็นหลักในการดาเนินการ ดังนี้
(๑) จดุ เนน้ ด้านความม่ันคง แนวทางหลัก



๑.๑ พัฒนาหลักสตู ร กระบวนการเรยี นการสอน การวัดและประเมนิ ผล
๑.๒ การบรหิ ารจัดการ
๑.๓ การยกระดบั คณุ ภาพและสง่ เสรมิ โอกาสในการเขา้ ถงึ การศกึ ษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวดั ชายแดนภาคใตแ้ ละพนื้ ที่
พิเศษ
๑.๔ การพัฒนาการจัดการศึกษาเพอื่ การจัดระบบการดแู ลและป้องกนั ภยั คุกคามในรูปแบบใหม่
(๒) จดุ เน้นดา้ นการผลิตพัฒนากาลงั คนและสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน แนวทางหลกั
๒.๑ การผลติ และพฒั นากาลงั คนให้ความเชยี่ วชาญและเป็นเลศิ เฉพาะด้าน มีสมรรถนะในสาขาท่ตี รง ตามความต้องการของตลาด
งานและการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศ
๒.๒ การส่งเสรมิ การวจิ ยั และพฒั นา เพ่ือสรา้ งองคค์ วามรู้และนวัตกรรมท่สี รา้ งผลผลิตและมูลคา่ เพิ่มทางเศรษฐกิจ
(๓) จดุ เนน้ ดา้ นการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน แนวทางหลัก
๓.๑ พฒั นาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล
๓.๒ การผลติ และพัฒนาครู คณาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา
๓.๓ การส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหค้ นทกุ ช่วงวยั มีทักษะ ความรคู้ วามสามารถ และการพัฒนาคณุ ภาพชีวิต อยา่ งเหมาะสมเตม็ ตาม
ศกั ยภาพ
๓.๔ การส่งเสรมิ และพัฒนาแหลง่ เรยี นรู้ สื่อตาราเรียน และส่อื การเรยี นรตู้ ่างๆ ใหม้ คี ุณภาพ
มาตรฐาน และประชาชนสามารถเข้าถงึ แหลง่ เรียนรไู้ ดโ้ ดยไมจ่ ากดั เวลาและสถานที่
(๔) จุดเน้นดา้ นการสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทียมกนั ทางสงั คม แนวทางหลัก
๔.๑ ขยายโอกาสการเข้าถงึ บรกิ ารทางการศึกษาและการเรยี นรู้อยา่ งตอ่ เนื่องตลอดชวี ิต
๔.๒ การเพิ่มโอกาสและความเสมอภาคในการเข้าถงึ การศึกษาท่มี ีคุณภาพ ๗ รายงานผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสใน
การดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์ (ITA Online) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๔.๓ ส่งเสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจทิ ลั เพือ่ การศกึ ษาและสาหรับคนทุกช่วงวยั
๔.๔ การพฒั นาฐานขอ้ มูลด้านการศกึ ษาท่มี มี าตรฐาน เชอื่ มโยงและเขา้ ถงึ ได้
(๕) จุดเนน้ ด้านการเสริมสรา้ งคุณภาพชวี ติ ประชาชนท่เี ป็นมติ รกับสงิ่ แวดลอ้ ม แนวทางหลัก
๕.๑ สง่ เสริมและพัฒนาหลกั สูตร กระบวนการเรยี นรู้ แหล่งเรียนรู้ และสอ่ื การเรียนรู้ต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง กบั การสร้างเสรมิ คุณภาพ
ชีวิตทเ่ี ป็นมติ รกับสงิ่ แวดล้อม
๕.๒ สง่ เสริม สนับสนุนการสร้างจิตสานกึ รกั ษ์สิ่งแวดลอ้ ม มีคุณธรรมจรยิ ธรรม และนาแนวคดิ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงสูก่ ารปฏิบตั ใิ นการดาเนินชวี ิต
๕.๓ พฒั นาองคค์ วามรู้ งานวจิ ัย และนวัตกรรม ดา้ นการสร้างเสรมิ คุณภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมิตรกบั ส่ิงแวดล้อม
(๖) จดุ เนน้ ดา้ นการพฒั นาระบบและการบริหารจัดการ แนวทางหลัก
๖.๑ ปรับปรุงโครงสรา้ งและการบริหารจดั การการศึกษา
๖.๒ เพม่ิ ประสิทธิภาพการบรหิ ารจัดการสถานศกึ ษา
๖.๓ สง่ เสริมการมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วนในการจัดการศึกษา
๖.๔ ปรบั ปรงุ กฎหมายเกี่ยวกับระบบการเงนิ เพ่อื การศกึ ษาทสี่ ง่ ผลต่อคุณภาพและประสิทธภิ าพการจดั การศึกษา
๖.๕ พัฒนาระบบบรหิ ารงานบุคคลของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา



นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธิการ

นโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารทเ่ี ก่ียวข้องกบั สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน ได้แก่
วิสัยทศั น์ การศึกษาข้ันพ้นื ฐานของประเทศไทย มีคุณภาพและมาตรฐานระดบั สากล บนพนื้ ฐานของความเปน็ ไทย
พนั ธกจิ
๑. ส่งเสรมิ และสนับสนนุ ให้ประชากรวยั เรยี นทกุ คนได้รับการศกึ ษาอย่างทั่วถงึ และมคี ณุ ภาพ
๒. ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม มคี ุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสตู รและค่านยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ
๓. พฒั นาระบบบริหารจัดการท่เี น้นการมีสว่ นร่วม เพื่อเสริมสร้างความรับผดิ ชอบต่อคุณภาพ การศกึ ษาและบูรณาการการจัด
การศึกษา
เป้าประสงค์
๑. ผู้เรียนระดบั ก่อนประถมศึกษาและระดับการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐานทุกคน มพี ฒั นาการเหมาะสมตามวยั และมีคณุ ภาพและทักษะ
การเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑
๒. ประชากรวัยเรยี นทกุ คน ได้รบั โอกาสในการศึกษาขน้ั พื้นฐานอยา่ งท่วั ถึง มีคณุ ภาพและเสมอภาค
๓. ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา มสี มรรถนะตรงตามสายงาน และมวี ฒั นธรรมการทางานทีม่ ่งุ เนน้ ผลสัมฤทธิ์
๔. สานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศึกษา สานกั บริหารงานการศกึ ษาพิเศษ และสถานศึกษา มปี ระสิทธิภาพ และเปน็ กลไกขบั เคลอ่ื น
การศึกษาขน้ั พ้ืนฐานตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สคู่ ณุ ภาพระดับ มาตรฐานสากล
๕. สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน เน้นการทางานแบบบรู ณาการ มเี ครอื ขา่ ยการ บรหิ ารจดั การ บริหารแบบมีส่วน
ร่วมจากทกุ ภาคสว่ นในการจัดการศกึ ษา กระจายอานาจและความรบั ผดิ ชอบ สูส่ านักงานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาและสถานศึกษา
รายงานผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์ (ITA Online) ประจาปงี บประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๔
๖. พืน้ ทีพ่ เิ ศษ ไดร้ ับการพัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาและพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาทีเ่ หมาะสมตาม บริบทของพืน้ ท่ี
๗. หนว่ ยงานทกุ ระดบั พฒั นาสื่อ เทคโนโลยี และระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพอื่ การบรหิ ารจดั การศกึ ษา อย่างมีประสิทธิภาพ
๘. หนว่ ยงานทกุ ระดับ มงี านวจิ ัยท่ีสามารถนาผลไปใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษา
ยุทธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ที่ ๑ จดั การศึกษาเพ่ือความมัน่ คง
ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๒ พัฒนาคณุ ภาพผูเ้ รยี นและส่งเสรมิ การจดั การศึกษาเพื่อสรา้ งขีดความสามารถในการ แข่งขนั
ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ สง่ เสริมสนับสนนุ การพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ ขยายโอกาสการเขา้ ถึงบรกิ ารทางการศึกษาและการเรียนรอู้ ย่างมีคุณภาพ
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๕ จัดการศึกษาเพ่อื เสริมสร้างคณุ ภาพชีวติ ทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม
ยทุ ธศาสตร์ที่ ๖ พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสรมิ การมสี ่วนร่วมในการจดั การศึกษา
วัตถปุ ระสงค์
วัตถุประสงค์ของการปฏิรปู การศกึ ษาภายใตแ้ ผนปฏริ ูปประเทศด้านการศกึ ษา ในประเดน็ สาคัญคอื
๑. ยกระดับคุณภาพการศึกษา
๒. ลดความเหลอ่ื มลา้ ทางการศึกษา



๓. มงุ่ ความเปน็ เลิศและสรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ
๔. ปรบั ปรงุ ระบบการศกึ ษาให้มีประสทิ ธิภาพ
หลกั การ
๑. ประชาชนทกุ กลมุ่ ทกุ วัย ไดร้ ับการศึกษาในระบบต่าง ๆ และการเรยี นรู้ตลอดชีวติ
๒. เด็ก เยาวชน ผเู้ รียน มที ัศนคติท่ถี ูกตอ้ ง มีพน้ื ฐานชีวิตท่ีเขม้ แข็ง (สขุ ภาพ และอปุ นสิ ัย)
๓. จดั การศกึ ษาให้สอดคล้องกับทิศทางการพฒั นาประเทศและการเปลยี่ นแปลงของสังคมโลก
จดุ เน้นการจัดการศึกษา
๑. ระดับก่อนอนบุ าล เน้นประสานหน่วยงานอ่นื ในการเตรยี มความพร้อมผเู้ รียนในด้านสุขภาพและ โภชนาการ
๒. ระดับอนุบาล เนน้ ความร่วมมือ รัฐ ทอ้ งถ่นิ เอกชน พอ่ แม่และผปู้ กครอง ในการจัดศึกษาระดบั อนุบาล โดยมีจุดเนน้
- พัฒนาผู้เรยี นให้มคี วามพรอ้ มทางดา้ นรา่ งกาย จิตใจ สตปิ ัญญา อารมณ์ และสังคม
- จัดประสบการณ์การเรยี นรู้ เนน้ การเรยี นปนเล่น เรียนรู้อยา่ งมีความสขุ และสรา้ งกจิ กรรมเสริม
๓. ระดบั ประถมศกึ ษา/มัธยมศกึ ษา ครแู ละผูเ้ รยี นสรา้ งกระบวนการเรยี นร้รู ว่ มกัน และจัดการเรียนรู้ แบบองค์รวม จัด
แหลง่ เรยี นร้เู พ่อื พัฒนาผู้เรียนใหม้ คี ณุ ภาพ โดยมจี ดุ เนน้
- เรียนภาษาไทย เนน้ เพื่อการสื่อสาร และใชเ้ ป็นเครือ่ งมือเพ่ือเรียนวชิ าอ่ืน
- เรยี นภาษาอังกฤษ เนน้ เพ่ือการส่อื สาร ๙ รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของ
สถานศกึ ษาออนไลน์ (ITA Online) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
- เรียนรดู้ ว้ ยวธิ กี าร Active Learning เน้นพฒั นาทักษะกระบวนการคดิ การเรียนรู้จากสถานการณ์ จริง สถานการณ์
จาลอง กจิ กรรมการเรยี นรจู้ ากปัญหาและการลงมือปฏบิ ัติ สามารถเรยี นรไู้ ด้ทุกท่ีทกุ เวลา และเรียนรู้อย่างมีความสขุ
- เรยี นรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครื่องมอื การเรียนรู้
- ส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์เพ่อื สรา้ งนวัตกรรม
- จดั การเรียนรู้ท่หี ลากหลาย ท่ีเชื่อมโยงสู่อาชพี และการมงี านทา
- พฒั นาครตู ามความต้องการของครแู ละสถานศึกษา (คูปองครู)
- จดั ใหม้ ีโครงการ ๑ ตาบล ๑ โรงเรียนคณุ ภาพ
๔. ระดบั อาชีวศกึ ษา จัดการศกึ ษาเพ่อื การมงี านทาให้สอดคลอ้ งกบั นโยบายรัฐบาล และความตอ้ งการ ของสงั คม ทง้ั
ภาคอุตสาหกรรม พาณชิ ยกรรม บริการ และเป็นผู้ประกอบการเอง โดยมจี ดุ เน้น
- จัดการศกึ ษาระบบทวิภาคี พัฒนาผเู้ รยี นให้มที กั ษะและความเช่ียวชาญในอาชีพเฉพาะดา้ นเรียนรู้
จากสถานการณ์จริงและสถานการณจ์ าลอง และเรียนร้จู ากกิจกรรม
- เรียนภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร และใช้เพ่ือการประกอบอาชีพ
- เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เปน็ เครื่องมือการเรียนรู้
- จดั ต้ังศนู ย์ประสานงานการผลติ และพฒั นากาลังคนอาชวี ศึกษาในภูมภิ าค
๕. ระดบั อดุ มศกึ ษา เน้นการวิจัยและค้นหาแนวทางการพัฒนา การสร้างนวตั กรรมเพอ่ื ใหเ้ กิดองค์ ความรใู้ หม่ และมกี าร
เชอ่ื มโยงองค์ความรทู้ ีห่ ลากหลายท้งั ภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อพัฒนาขีด ความสามารถในการแข่งขนั ของ
ประเทศ โดยมีจุดเน้น



- เรยี นภาษาอังกฤษเพอื่ การส่ือสาร และมีทกั ษะภาษาในระดับสูง ใช้เป็นเครอ่ื งมอื ในการเรียนรู้เพื่อสร้างองคค์ วามรู้ และ
เปน็ เคร่ืองมือในการเช่ือมโยงความรูท้ ั้งในและต่างประเทศ
- เรียนรู้ Digital และใช้ Digital เป็นเครอ่ื งมอื การเรียนรู้
- ผู้เรยี นมีศกั ยภาพและมีองค์ความรู้ท่ีหลากหลายทัง้ ในและตา่ งประเทศ สามารถสร้างนวัตกรรมเพื่อ เพม่ิ ขดี
ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ และทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลงของสังคมโลก
การขับเคลื่อนนโยบายและจุดเน้นไปสกู่ ารปฏิบตั ิ
๑. ใช้กระบวนการพัฒนาคุณธรรม บรู ณาการในทกุ กระบวนการเรยี นรู้
๒. สอดแทรกเร่ืองความโปรง่ ใส ยตุ ิธรรม และป้องกันการทจุ ริต ใหม้ ีในทุกมิติ ทง้ั การเรียนการสอน การนิเทศ และการ
บรหิ าร
๓. ให้องค์กรหลักนาไปกาหนดนโยบายขององคก์ รส่กู ารพฒั นาท่ยี ่งั ยืน และขบั เคลือ่ นสูก่ ารปฏิบตั ขิ อง องคก์ ร
๔. เนน้ การสร้างโอกาสทางการศกึ ษาให้กับทกุ กลุ่มบคุ คล ทกุ ระดบั ทุกประเภท สู่การลดความเหล่ือมลา้ ในการรบั
การศกึ ษาทม่ี ีคุณภาพในทกุ หนว่ ยงาน
๕. ให้ศกึ ษาธิการจังหวัด นาเสนอคณะกรรมการศึกษาธกิ ารจงั หวดั จดั ทาแผนและขับเคล่ือนสู่ การ ปฏิบัติในการจดั
การศกึ ษาในแตล่ ะจงั หวัดให้เปน็ รูปธรรม
๖. ใชเ้ ทคโนโลยเี ชอ่ื มโยงข้อมูล (Big Data) สาหรับเป็นเคร่อื งมอื ในการเรยี นรู้ และเครือ่ งมือในการ บริหาร
๗. ใหห้ น่วยงานทางการศึกษา จดั ใหม้ ีการพัฒนาหลกั สูตรใหม้ คี วามเชื่อมโยง ทัง้ ระดบั การศึกษาขั้น พืน้ ฐาน อาชีวศกึ ษา
และอดุ มศกึ ษา ๑๐ รายงานผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์ (ITA
Online) ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๘. ใหส้ านักบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ เปน็ หนว่ ยงานประสานงาน ดูแลเด็กที่มีความตอ้ งการจาเปน็ พเิ ศษในทกุ ระดับ
เพ่อื ให้เด็กพเิ ศษไดร้ ับการพัฒนา สามารถเรยี นรู้ และพึ่งพาตนเองได้
๙. ให้สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั เปน็ หน่วยงานหลกั และ ประสานงานกบั
หน่วยงานทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ดแู ลเด็กทต่ี กหลน่ จากระบบการศึกษา และการศึกษาของผู้สูงอายุ
๑๐. ให้ผู้ตรวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร และ และศึกษาธิการภาค มบี ทบาทและหน้าที่ตรวจราชการ ติดตาม
ประเมินผลทง้ั ในระดบั นโยบายและระดับปฏิบตั ิ

ทิศทางการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา (พ.ศ.๒๕๖๒-๒๕๖๕) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๕
สานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษากาแพงเพชร เขต ๒
วิสยั ทศั น์
“จัดการศึกษาใต้ร่มพระบารมี เพ่อื เดก็ ไทย เก่ง ดี มีสุข บนวถิ ีพอเพยี ง”
พนั ธกจิ

๑. จัดการศึกษาเพอ่ื สรา้ งความม่นั คงของสถาบันหลกั ของชาตแิ ละการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ

๑๐

๒. พฒั นาศกั ยภาพผูเ้ รยี นเพื่อเพ่มิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขันโดยพฒั นาคุณภาพผู้เรยี นให้มีความรู้ ทกั ษะวิชาการ
ทักษะชีวติ ทักษะวิชาชพี คุณลักษณะในศตวรรษที่ ๒๑
๓. พฒั นานักเรยี นทางด้านรา่ งกาย สติปัญญา อารมณ์ สงั คมให้เติบโตอย่างเหมาะสมกับชว่ งวัย โดยใหโ้ รงเรยี นมีสุขภาวะ
ที่ดี นกั เรยี นมคี วามสุขกบั การไปโรงเรยี น ปลกู ฝังใหน้ ักเรียนเปน็ คนดี ปฏบิ ัติตน ตามหลกั ธรรมของศาสนา มีคุณลกั ษณะ
ที่พงึ ประสงค์ มีวิถชี ีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๔. ส่งเสรมิ การพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้เป็นมอื อาชพี
๕. สร้างโอกาส ความเสมอภาคลดความเหลอ่ื มลา้ ให้ผูเ้ รียนทุกคน ซึ่งหมายรวมถงึ กลุม่ ผู้เรยี นที่มีความจาเปน็ พเิ ศษ กลมุ่
ชาตพิ ันธ์ุ ไดร้ บั บริการทางการศกึ ษาอย่างท่ัวถงึ และเท่าเทียม
๖. ส่งเสรมิ การจดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาคุณภาพชีวิตทเี่ ปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และ
เปา้ หมายโลกเพ่อื การพฒั นาที่ยัง่ ยนื (SDGs) พฒั นาระบบบรหิ ารจดั การแบบบูรณาการ และส่งเสริมใหท้ ุกภาคสว่ นมสี ่วน
รว่ มในการจดั การศึกษา
เปา้ หมาย
๑. นักเรยี นเปน็ บุคคลแห่งการเรียนรู้ คิดริเร่ิมและสร้างสรรค์นวัตกรรม มีความรู้ มีทักษะและคณุ ลักษณะของผูเ้ รยี นใน
ศตวรรษท่ี ๒๑มสี ุขภาวะทีเ่ หมาะสมตามวยั มคี วามสามารถในการพึง่ พาตนเองและปรับตวั ต่อเปน็ พลเมืองและพลโลกทดี่ ี
๒. นักเรียนท่มี คี วามต้องการจาเป็นพิเศษ กลุม่ ชาติพนั ธุ์ กลุ่มผ้ดู อ้ ยโอกาส และกล่มุ ที่อยู่ในพ้นื ท่ีหา่ งไกลทุรกนั ดารได้รบั
การศึกษาอย่างท่ัวถงึ เทา่ เทยี ม และมคี ณุ ภาพ พรอ้ มกา้ วส่สู ากล ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
๓. ครู และบุคลากรทางการศึกษา เป็นผู้เรียนรู้ มีจติ วิญญาณความเปน็ ครู มคี วามแมน่ ยาทางวชิ าการ และมที ักษะการ
จดั การเรยี นร้ทู ่หี ลากหลายตอบสนองผเู้ รียนเปน็ รายบคุ คล เปน็ ผู้สร้างสรรคน์ วตั กรรม และทักษะในการใช้เทคโนโลยี
รายงานผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์ (ITA Online) ประจาปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๔. ผู้บริหารสถานศกึ ษา มคี วามเป็นเลิศสว่ นบุคคล คิดเชิงกลยุทธแ์ ละนวตั กรรม มภี าวะผ้นู าทางวิชาการ มีสานึกความ
รบั ผดิ ชอบ (Accountability) และการบรหิ ารแบบรว่ มมือ
๕. สถานศึกษา มีความเป็นอิสระในการบริหารงานและจดั การเรยี นรู้ รว่ มมอื กบั ชุมชน ภาคเอกชน และผู้เก่ยี วข้องในการ
จัดการศึกษาระดับพื้นท่จี ัดสภาพแวดลอ้ มในโรงเรยี น เพ่อื การเรียนร้ใู นทุกมิติ เปน็ โรงเรยี นนวตั กรรม
๖. สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษา มีการบรหิ ารงานเชงิ บูรณาการ เปน็ สานักงานแหง่ นวัตกรรมยุคใหม่ ใชข้ ้อมลู สารสนเทศ
และการวจิ ยั และพฒั นาในการขบั เคลื่อนคุณภาพ กากับ ตดิ ตาม ประเมนิ และรายงานผลอย่างเปน็ ระบบ
๗. สานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษา ปรบั เปลีย่ นวฒั นธรรมการทางาน โดยมอบอานาจการบรหิ ารงานและการจัดการศึกษา
ใหส้ ถานศึกษา บริหารเชิงบูรณาการมรี ะบบขอ้ มูลสารสนเทศที่มปี ระสิทธิภาพ กากับ ติดตาม ประเมินผล และการ
รายงานผลอย่างเปน็ ระบบ ใช้วจิ ัย และนวตั กรรมในการขับเคลือ่ นคณุ ภาพ
ค่านิยม
“ครแู ละบุคลากรมีความรู้ มุง่ สกู่ ระบวนการ ทางานแบบมอื อาชพี ”
K : Knowledge : ความรู้
P : Process : กระบวนการ
P : Professional : มืออาชพี

๑๑

๒ : Teacher and Educational Personnel : ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ประเดน็ นโยบาย

๑. จดั การศึกษาเพ่อื ความมัน่ คง
๒. พฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รยี น
๓. พฒั นาผู้บรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
๔. สรา้ งโอกาสในการเข้าถึงบริการการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความเหล่อื มล้าทางการศึกษา
๕. เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจัดการ
ประเดน็ นโยบายท่ี ๑จดั การศึกษาเพอื่ ความมน่ั คง
ประเด็นกลยทุ ธ์
๑.๑ ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้ผู้เรียนในเขตพ้ืนท่ีเฉพาะ กลุม่ ชาตพิ นั ธุ์ กลุ่มทด่ี อ้ ยโอกาส และกล่มุ ทอ่ี ย่ใู นพืน้ ท่ีห่างไกล
ทุรกนั ดาร ได้รับการบรกิ ารด้านการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานทีม่ คี ุณภาพและเหมาะสม ตรงตามความต้องการ ๑๒ รายงานผล
การประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์ (ITA Online) ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๔
ประเดน็ นโยบายท่ี ๒พฒั นาคณุ ภาพผู้เรียน
ประเดน็ กลยุทธ์
๒.๑ ปรบั ปรุง และพฒั นาหลักสูตรทุกระดบั การศึกษา ใหเ้ ออ้ื ต่อการพฒั นาสมรรถนะผเู้ รียน เป็นรายบุคคล มที กั ษะที่
จาเปน็ ในศตวรรษที่ ๒๑ นาไปสกู่ ารจัดการศึกษาเพ่อื การมีงานทา (Career Education)
๒.๒ พัฒนาผูเ้ รียนทกุ คนให้มคี วามรกั ในสถาบนั หลกั ของชาติ และยดึ มัน่ การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ มที ศั นคตทิ ่ดี ีต่อบา้ นเมอื ง มหี ลกั คิดทีถ่ ูกต้องเปน็ พลเมอื งดีของชาติ และพลเมอื งโลกทด่ี ี
มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และบนพื้นฐานความเปน็ ไทย
๒.๓ พฒั นาคณุ ภาพของผ้เู รยี นให้มีทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑ มคี วามเป็นเลศิ ดา้ นวชิ าการ นาไปสู่การสรา้ งขีด
ความสามารถในการแขง่ ขัน
๒.๔ พัฒนาผ้เู รยี นใหม้ ที กั ษะอาชพี และทักษะชวี ิต มสี ุขภาวะท่ีดีสามารถดารงชีวิตอยใู่ นสังคม ได้อยา่ งมคี วามสขุ
๒.๕ การจัดการศกึ ษาเพื่อการบรรลุเปา้ หมายโลกเพื่อการพัฒนาอยา่ งย่ังยืน (SDGs) เพอื่ สรา้ งเสริมคุณภาพชวี ิตท่ีเป็น
มิตรกับส่ิงแวดล้อม ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๒.๖ พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียนทีม่ ีความตอ้ งการจาเปน็ พิเศษ
๒.๗ ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหส้ านกั งานเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาและสถานศึกษานา Digital Technology มาใช้ในการจัดการ
เรียนร้ใู หแ้ กผ่ ู้เรียนเปน็ รายบุคคลตามสมรรถนะ ความต้องการ และความถนดั สร้างสงั คมฐานความรู้ (Knowledge-
Based Society) เพ่ือการเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนือ่ งตลอดชวี ติ
ประเดน็ นโยบายท่ี ๓พัฒนาผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา
ประเด็นกลยุทธ์
๓.๑ สร้างเครอื ข่ายความร่วมมือกบั สถาบันทางการศึกษาทีผ่ ลติ ครูในการผลติ และพัฒนาครูใหต้ รงกบั สาขาวิชา และ
สอดคล้องกบั การพัฒนาในศตวรรษท่ี ๒๑

๑๒

๓.๒ พฒั นาผู้บริหาร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษาทุกประเภท ใหม้ สี มรรถนะตามมาตรฐานวิชาชพี มศี ักยภาพ มี
คณุ ธรรม จริยธรรม
๓.๓ นา Digital Technology มาใชใ้ นการพฒั นาผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภททง้ั ระบบ
ประเด็นนโยบายที่ ๔สรา้ งโอกาสในการเข้าถงึ บริการการศกึ ษาทมี่ ีคุณภาพ มมี าตรฐาน และลดความเหลอ่ื มล้าทางการศึกษา
ประเดน็ กลยทุ ธ์
๔.๑ ร่วมมอื กับองค์กรปกครองระดบั ทอ้ งถน่ิ ภาคเอกชน หนว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้อง ในการจดั การศกึ ษาให้สอดคล้องกับ
บริบทของพน้ื ที่
๔.๒ ยกระดบั สถานศึกษาในสงั กดั ทุกระดับ และทุกประเภท ให้มมี าตรฐาน ตามบรบิ ท ของพน้ื ที่ เพ่อื ใหพ้ ฒั นาผู้เรียน มี
คุณภาพ มีมาตรฐานเสมอกนั
๔.๓ สร้างความเขม้ แขง็ ในการบรหิ ารจัดการศกึ ษาสาหรบั ผเู้ รียนทม่ี คี วามตอ้ งการจาเป็นพิเศษ
๔.๔ จดั สรรงบประมาณสนับสนนุ ผูเ้ รียน และสถานศกึ ษาอย่างเหมาะสม เพยี งพอ
๔.๕ ส่งเสริม สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษา นา Digital Technology มาใชเ้ ปน็ เครอื่ งมือในการพัฒนาคณุ ภาพของผ้เู รยี น
ประเดน็ นโยบายท่ี ๕ เพิ่มประสิทธภิ าพการบรหิ ารจดั การ
ประเดน็ กลยุทธ์ รายงานผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์ (ITA Online)
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๕.๑ เพ่ิมประสิทธภิ าพในการบริหารจดั การศกึ ษาของ สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาและสถานศึกษา
๕.๒ สร้างเครอื ข่ายความรว่ มมอื และส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนของสังคมเขา้ มามีสว่ นรว่ ม บริหารจดั การศึกษา
๕.๓ ส่งเสริม สนับสนนุ การบริหารงานของสถานศึกษาใหม้ อี ิสระ นาไปสู่การกระจายอานาจ ๔ ดา้ น ให้สถานศึกษาเป็น
ศูนยก์ ลางในการจดั การศึกษาตามบริบทของพืน้ ที่
๕.๔ สง่ เสรมิ สนับสนุน ใหส้ ถานศึกษานา Digital Technology มาใช้ในการเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารอย่างเป็นระบบ
นาไปสกู่ ารนาเทคโนโลยี Big Data เพ่อื เชอื่ มโยงข้อมูลด้านต่าง ๆ ต้ังแต่ข้อมลู ผเู้ รยี น ข้อมลู ครู ข้อมลู สถานศกึ ษา ขอ้ มลู
งบประมาณ และข้อมลู อน่ื ๆ ที่จาเป็นมาวิเคราะห์ เพื่อให้สถานศกึ ษาสามารถจัดการเรียนรู้เพอ่ื พฒั นาผูเ้ รยี นเป็น
รายบุคคลตามสมรรถนะ และความถนดั และสามารถวิเคราะหเ์ ปน็ ข้อมูลในการวางแผนการพฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยข์ อง
ประเทศตอ่ ไป

๑๓

สรปุ ผลการประเมินตามตวั ชีว้ ดั ของ IIT และ EIT
ข้อมลู พืน้ ฐานเกย่ี วกบั การประเมิน

สานกั งาน ป.ป.ช. ได้ใหค้ วามสาคัญในการพฒั นาวิธกี ารประเมนิ ให้เกดิ การยกระดบั ค่าคะแนนดัชนกี ารรบั รูก้ ารทุจริต
(Corruption Perceptions Index: CPI) ของประเทศไทยไดอ้ ย่างเป็นรูปธรรม โดยไดศ้ ึกษาข้อมลู จากผลการวิจยั เร่อื ง แนว
ทางการปรับปรุงและแนวการพฒั นาเครือ่ งมอื การประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครฐั เพอื่
นาไปสกู่ ารยกระดับคะแนนดัชนกี ารรบั ร้กู ารทจุ ริต (CPI) ของประเทศไทยใหส้ งู ขน้ึ ซ่งึ การวิจัยดังกลา่ วไดส้ ังเคราะหป์ ระเด็นการ
สารวจของแตล่ ะแหล่งขอ้ มลู ท่อี งค์กรความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International) นามาใช้ในการประเมินดชั นีการ
รับรู้ การทุจริต ประกอบกับการศกึ ษาข้อมูลทางวิชาการเพิม่ เตมิ การเช่ือมโยงใหเ้ กดิ ความต่อเนอ่ื งกบั เกณฑ์ การประเมนิ เดิม และ
การเช่อื มโยงกับเคร่ืองมืออนื่ ๆทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ทาใหก้ ารประเมนิ มีเนื้อหาครอบคลมุ หลายด้าน ซ่งึ เกี่ยวข้องกับคณุ ธรรม ความโปรง่ ใส
และการทจุ ริต ท้งั ทมี่ ลี ักษณะการทจุ รติ ทางตรงและการทุจรติ ทางอ้อม รวมไปถึงบรบิ ทแวดล้อมท่ีเกีย่ วข้องกับการทจุ รติ ซ่งึ จะเป็น
ประโยชน์ต่อหนว่ ยงานในการนาไปสูก่ ารปรบั ปรงุ แกไ้ ข ลดโอกาสหรอื ความเส่ียงท่จี ะเกิดการทุจรติ ในหน่วยงานภาครัฐ และส่งผล
ตอ่ การยกระดบั คะแนน CPI ของประเทศไทยในระยะยาวได้ โดยจาแนกตวั ช้วี ดั ออกเป็น ๑๐ ตวั ชว้ี ัด ไดแ้ ก่

๑) การปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ี
๒) การใชง้ บประมาณ
๓) การใช้อานาจ
๔) การใช้ทรพั ย์สินของราชการ
๕) การแกไ้ ขปญั หาการทจุ รติ
๖) คุณภาพการดาเนินงาน
๗) ประสิทธภิ าพการสอื่ สาร
๘) การปรับปรุงระบบการทางาน
๙) การเปดิ เผยขอ้ มลู
๑๐) การป้องกนั การทุจริต

ตัวช้ีวัดท่ี ผู้ประเมิน ประเดน็ การประเมนิ /ข้อมลู จานวนขอ้ คาถาม คะแนนทีไ่ ด้
๑.การปฏิบัติ ๑. บคุ ลากรในสถานศกึ ษาของทา่ น ๖ ขอ้
IIT ปฏบิ ัติงาน/ใหบ้ ริการแก่ ผมู้ าตดิ ตอ่ ตาม ๙๘.๕๓
หน้าท่ี ประเด็นดังต่อไปน้ี มากนอ้ ยเพียงใด

เปน็ ไปตามข้ันตอนทกี่ าหนด
เปน็ ไปตามระยะเวลาทีก่ าหนด
๒. บคุ ลากรในสถานศกึ ษาของท่าน
ปฏบิ ตั งิ าน/ใหบ้ รกิ ารแก่ ผู้มาตดิ ตอ่ ทัว่ ๆไปกับ
ผู้มาตดิ ตอ่ ท่รี ูจ้ กั เป็นการส่วนตวั อย่างเท่า
เทียมกนั มากน้อยเพยี งใด

๑๔

๓. บคุ ลากรในสถานศกึ ษาของท่านมี
พฤติกรรมในการปฏิบตั ิงาน ตามประเดน็
ดงั ต่อไปนี้ อย่างไร

ม่งุ ผลสาเร็จของงาน
ให้ความสาคญั กับงานมากกวา่ ธรุ ะสว่ นตัว
พร้อมรบั ผิดชอบ หากความผิดพลาดเกดิ
จากตนเอง
๔. บุคลากรในสถานศกึ ษาของทา่ น มกี าร
เรียกรับสง่ิ ดงั ตอ่ ไปน้ี จากผูม้ าติดตอ่ เพื่อแลก
กบั การปฏิบตั ิงาน การอนุมตั ิ อนุญาต หรือ
ใหบ้ ริการ หรอื ไม่
เงิน
ทรพั ยส์ ิน
ประโยชน์อื่นๆ ท่ีคานวณเปน็ เงินได้ เชน่
การลดราคา การรับความบันเทิง เป็นต้น
๕. นอกเหนือจากการรับจากญาติหรอื จาก
บุคคล ทใ่ี หก้ ันในโอกาสตา่ ง ๆ โดยปกติตาม
ขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือวัฒนธรรม
หรอื ให้กนั ตามมารยาทท่ีปฏบิ ตั กิ นั ในสงั คม
แล้ว บคุ ลากรในสถานศกึ ษาของท่าน มีการ
รับส่ิงดงั ตอ่ ไปนี้ หรือไม่
เงนิ
ทรัพย์สิน
ประโยชน์อน่ื ๆ ทีค่ านวณเป็นเงินได้ เชน่
การลดราคา การรับความบันเทิง เปน็ ต้น
๖ บุคลากรในสถานศกึ ษาของทา่ น มีการใหส้ งิ่
ดงั ตอ่ ไปน้ี แกบ่ ุคคลภายนอกหรือภาคเอกชน
เพ่ือสรา้ งความสมั พนั ธท์ ่ดี ีและคาดหวงั ให้มี
การตอบแทนในอนาคต หรอื ไม่
เงนิ
ทรพั ยส์ ิน
ประโยชนอ์ น่ื ๆ ทีค่ านวณเปน็ เงนิ ได้ เชน่
การลดราคา การรบั ความบันเทิง เปน็ ตน้

๑๕

๒.การใช้ IIT ๗. ท่านรู้เก่ียวกับแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ ๙๐.๗๖
งบประมาณ
ประจาปี ของสถานศกึ ษาของทา่ น มากน้อย ๑๐๐.๐๐
๓. การใช้ เพยี งใด
อานาจ ๘. สถานศึกษาของทา่ น ใชจ้ า่ ยงบประมาณ
โดยคานึงถึงประเด็นดงั ต่อไปน้ี มากน้อย
เพียงใด

คุ้มคา่
ไมบ่ ิดเบือนวตั ถุประสงค์ของงบประมาณ
ท่ีตั้งไว้
๙. สถานศกึ ษาของท่าน ใชจ้ า่ ยงบประมาณ
เพอ่ื ประโยชน์ส่วนตัว กลุ่ม หรือพวกพอ้ ง มาก
นอ้ ยเพยี งใด
๑๐. บุคลากรในสถานศกึ ษาของทา่ น มกี าร
เบิกจา่ ยเงินทเ่ี ป็นเท็จ เชน่ คา่ วัสดุอุปกรณ์
ครุภณั ฑ์ คา่ ใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ
คา่ ตอบแทนการปฏิบตั งิ านนอกเวลาราชการ
ฯลฯ มากนอ้ ยเพียงใด
๑๑. สถานศึกษาของทา่ น มกี ารจดั ซ้ือจัดจ้าง/
การจดั หาพัสดุ และการตรวจรับพสั ดใุ น
ลักษณะดังตอ่ ไปนี้ มากนอ้ ยเพยี งใด
โปร่งใส ตรวจสอบได้
เอ้อื ประโยชน์ใหผ้ ูป้ ระกอบการรายใดราย
หนึง่
๑๒. สถานศกึ ษาของทา่ น เปิดโอกาสให้ทา่ น
มสี ว่ นรว่ มในการตรวจสอบการใช้จ่าย
งบประมาณ ตามประเด็นดังตอ่ ไปนี้ มากน้อย
เพยี งใด
สอบถาม
ทักท้วง
รอ้ งเรยี น

IIT ๑๓. ท่านไดร้ ับมอบหมายงานจาก

ผ้บู งั คับบญั ชาอยา่ งเป็นธรรม มากนอ้ ยเพยี งใด
๑๔. ท่านได้รับการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน

๔. การใช้ ตามระดบั คุณภาพของผลงานอยา่ งถกู ต้อง ๑๖
ทรัพย์สนิ มากน้อยเพยี งใด
ของราชการ ๑๕. ผูบ้ งั คบั บัญชาของท่าน มกี ารคดั เลือกผู้ ๙๖.๓๓
เขา้ รบั การฝกึ อบรม การศกึ ษาดูงาน หรือการ
ใหท้ นุ การศึกษา อยา่ งเป็นธรรม มากนอ้ ย
เพียงใด
๑๖. ท่านเคยถกู ผบู้ งั คบั บญั ชาส่ังการใหท้ า
ธุระสว่ นตัวของผบู้ ังคบั บัญชา มากน้อย
เพยี งใด ๑๗. ทา่ นเคยถกู ผ้บู งั คบั บัญชาสั่งการ
ใหท้ าในส่งิ ท่ีไมถ่ ูกตอ้ ง หรอื มีความเสีย่ งตอ่
การทจุ รติ มากน้อยเพยี งใด
๑๘. การบรหิ ารงานบคุ คลของสถานศกึ ษา
ของท่านมีลกั ษณะดงั ต่อไปน้ี มากน้อยเพียงใด

ถกู แทรกแซงจากผมู้ ีอานาจ
มีการซื้อขายตาแหน่ง
เอื้อประโยชนใ์ ห้กลุ่มหรือพวกพ้อง

IIT ๑๙. บุคลากรในสถานศกึ ษาของทา่ น มีการ

เอาทรพั ย์สนิ ของราชการ ไปเปน็ ของส่วนตัว
หรือนาไปใหก้ ลุ่มหรือพวกพอ้ ง มากนอ้ ย
เพยี งใด ๒๐. ข้ันตอนการขออนุญาตเพ่อื ยืม
ทรัพย์สินของราชการ ไปใช้ปฏิบตั ิงานใน
สถานศกึ ษาของทา่ น มีความสะดวกมากน้อย
เพียงใด
๒๑. ถา้ ต้องมกี ารขอยมื ทรพั ยส์ ินของราชการ
ไปใชป้ ฏบิ ัติงาน บคุ ลากรในสถานศกึ ษาของ
ทา่ น มกี ารขออนญุ าตอยา่ งถูกต้อง มากนอ้ ย
เพยี งใด
๒๒. บุคคลภายนอกหรือภาคเอกชน มกี ารนา
ทรพั ย์สนิ ของราชการไปใช้ โดยไม่ได้ขอ
อนญุ าตอยา่ งถกู ต้อง จากสถานศกึ ษาของท่าน
มากน้อยเพียงใด
๒๓. ท่านรแู้ นวปฏบิ ัตขิ องสถานศึกษาของ
ทา่ น เกีย่ วกับการใช้ทรัพย์สนิ ของราชการที่
ถูกต้อง มากน้อยเพียงใด

๕. การแกไ้ ข ๒๔. สถานศกึ ษาของท่าน มกี ารกากับดูแล ๑๗
ปญั หาการ และตรวจสอบการใชท้ รพั ยส์ ินของราชการ
ทจุ ริต เพ่ือปอ้ งกนั ไม่ใหม้ ีการนาไปใช้ประโยชน์ ๙๘.๑๗
ส่วนตวั กลุม่ หรือพวกพอ้ ง มากนอ้ ยเพยี งใด

IIT ๒๕. ผ้บู ริหารสูงสุดของสถานศกึ ษาของท่าน

ให้ความสาคัญกับการตอ่ ตา้ นการทุจรติ มาก
น้อยเพยี งใด
๒๖. สถานศกึ ษาของทา่ น มกี ารดาเนนิ การ
ดงั ต่อไปน้ี หรอื ไม่

ทบทวนนโยบายหรอื มาตรการปอ้ งกนั การ
ทจุ รติ ในสถานศึกษาใหม้ ปี ระสิทธิภาพ

จัดทาแผนงานด้านการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตของสถานศึกษา
๒๗. ปญั หาการทุจรติ ในสถานศึกษาของท่าน
ไดร้ ับการแกไ้ ข มากนอ้ ยเพยี งใด
๒๘. สถานศึกษาของท่าน มีการดาเนินการ
ดงั ต่อไปน้ี ตอ่ การทจุ ริตในสถานศกึ ษา มาก
น้อยเพียงใด

เฝา้ ระวังการทจุ ริต
ตรวจสอบการทจุ ริต
ลงโทษทางวนิ ัย เมือ่ มกี ารทจุ ริต
๒๙. สถานศกึ ษาของทา่ น มกี ารนาผลการ
ตรวจสอบ ของฝ่ายตรวจสอบ ทั้งภายในและ
ภายนอกสถานศึกษา ไปปรับปรงุ การทางาน
เพ่อื ป้องกันการทจุ รติ ในสถานศกึ ษา มากนอ้ ย
เพยี งใด
๓๐. หากท่านพบเหน็ แนวโนม้ การทจุ รติ ทีจ่ ะ
เกดิ ขน้ึ ในสถานศึกษาของท่าน ท่านมคี วามคิด
เห็นตอ่ ประเด็นดังตอ่ ไปนี้ อยา่ งไร
สามารถร้องเรียนและส่งหลักฐานไดอ้ ยา่ ง
สะดวก
สามารถติดตามผลการรอ้ งเรียนได้
มัน่ ใจวา่ จะมีการดาเนนิ การอยา่ ง
ตรงไปตรงมา

มัน่ ใจวา่ จะปลอดภัยและไม่มผี ลกระทบต่อ ๑๘

ตนเอง ๙๙.๐๕

๖. คุณภาพ EIT ๑. บคุ ลากรในสถานศึกษาท่ีทา่ นตดิ ตอ่ ๙๕.๓๕

การ ปฏิบตั ิงาน/ให้บรกิ ารแก่ทา่ น ตามประเดน็

ดาเนนิ งาน ดงั ต่อไปน้ี มากน้อยเพยี งใด

เป็นไปตามข้นั ตอนทีก่ าหนด

เปน็ ไปตามระยะเวลาที่กาหนด

๒. บคุ ลากรในสถานศึกษาท่ีทา่ นตดิ ตอ่

ปฏบิ ัติงาน/ใหบ้ ริการแกท่ ่าน กับผูม้ าตดิ ต่อ

คนอน่ื ๆ อย่างเทา่ เทยี มกนั มากนอ้ ยเพยี งใด

๓. บคุ ลากรในสถานศึกษาทที่ ่านตดิ ตอ่ ให้

ข้อมลู เกี่ยวกบั การดาเนินการ/ใหบ้ ริการแก่

ท่านอย่างตรงไปตรงมา ไม่ปิดบงั หรือบิดเบือน

ข้อมูล มากนอ้ ยเพียงใด

๔. ในระยะเวลา ๑ ปีทผ่ี า่ นมา ทา่ นเคยถกู

บคุ ลากรในสถานศกึ ษาท่ที า่ นติดต่อ รอ้ งขอให้

จ่ายหรือให้สง่ิ ดังตอ่ ไปน้ี เพ่ือแลกกับการ

ปฏบิ ัติงาน การอนุมัติ อนญุ าต หรอื ใหบ้ ริการ

หรอื ไม่

เงิน

ทรัพย์สนิ

ประโยชนอ์ นื่ ๆ ท่ีอาจคานวณเปน็ เงินได้

เช่น การลดราคา การให้ความบนั เทงิ เป็นต้น

๕. สถานศึกษาที่ท่านตดิ ตอ่ มกี ารดาเนนิ งาน

โดยคานึงถงึ ประโยชนข์ องประชาชนและ

สว่ นรวมเป็นหลัก มากนอ้ ยเพียงใด

๗. EIT ๖. การเผยแพรข่ ้อมูลของสถานศึกษาทท่ี ่าน

ประสิทธิภาพ ตดิ ตอ่ มลี ักษณะดังต่อไปนี้ มากนอ้ ยเพียงใด

การสอ่ื สาร เข้าถึงงา่ ย ไมซ่ ับซ้อน

มีช่องทางหลากหลาย

๗. สถานศึกษาท่ีท่านตดิ ตอ่ มกี ารเผยแพร่

ผลงานหรือขอ้ มูลท่สี าธารณชนควรรับทราบ

อย่างชัดเจน มากน้อยเพียงใด

๘. สถานศกึ ษาทที่ ่านตดิ ตอ่ มีช่องทางรับฟงั ๑๙

คาติชมหรอื ความคิดเหน็ เกี่ยวกับการ ๘๙.๓๔

ดาเนนิ งาน/การใหบ้ ริการ หรอื ไม่ ๕๖.๓๘
๘๘.๘๙
๙. สถานศกึ ษาทท่ี า่ นติดต่อ มกี ารชีแ้ จงและ

ตอบคาถาม เมอื่ มีข้อกงั วลสงสัยเกย่ี วกบั การ

ดาเนินงานได้อยา่ งชัดเจน มากนอ้ ยเพียงใด

๑๐. สถานศึกษาท่ีทา่ นตดิ ตอ่ มีชอ่ งทางใหผ้ ู้

มาติดต่อร้องเรยี นการทจุ รติ ของบุคลากรใน

สถานศกึ ษา หรอื ไม่

๘. การ EIT ๑๑. บคุ ลากรในสถานศกึ ษาทีท่ ่านตดิ ต่อ มี

ปรบั ปรงุ การปรบั ปรุงคุณภาพการปฏิบตั ิงาน/การ

ระบบการทา ใหบ้ รกิ ารใหด้ ีขึ้น มากนอ้ ยเพยี งใด

งาน ๑๒. สถานศกึ ษาทท่ี า่ นตดิ ต่อ มกี ารปรับปรงุ

วิธีการและขัน้ ตอนการดาเนนิ งาน/การ

ใหบ้ รกิ ารใหด้ ขี น้ึ มากนอ้ ยเพียงใด

๑๓. สถานศึกษาทีท่ า่ นติดต่อ มกี ารนา

เทคโนโลยมี าใช้ในการดาเนนิ งาน/การ

ให้บริการ ให้เกิดความสะดวกรวดเร็วมากข้นึ

หรือไม่

๑๔. สถานศกึ ษาท่ที า่ นติดตอ่ เปดิ โอกาสให้

ผูร้ ับบริการ ผมู้ าตดิ ตอ่ หรือผมู้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสีย

เข้าไปมีสว่ นร่วมในการปรบั ปรุงพฒั นาการ

ดาเนินงาน/การใหบ้ ริการของสถานศกึ ษาใหด้ ี

ขึ้น มากนอ้ ยเพียงใด

๑๕. สถานศึกษาทที่ า่ นตดิ ต่อ มีการปรบั ปรงุ

การดาเนินงาน/การใหบ้ รกิ าร ให้มีความ

โปร่งใสมากขึ้น มากนอ้ ยเพียงใด

๙. การ OIT ๑. โครงสรา้ ง - แสดงแผนผังแสดงโครงสรา้ ง

เปดิ เผย การแบง่ ส่วนราชการของสถานศกึ ษา

ข้อมลู ประกอบด้วยตาแหน่งท่สี าคญั และการแบง่

๙.๑ ขอ้ มลู ส่วนงานภายใน เช่น งาน ๔ ฝา่ ย หรอื ภาระ

พน้ื ฐาน งาน และองค์คณะบคุ คล เป็นตน้

๒. ขอ้ มูลผบู้ รหิ าร - แสดงรายนามของ

ผู้บริหารของสถานศึกษา ประกอบด้วยช่ือ-

๒๐

นามสกุล ตาแหนง่ รปู ถา่ ย ชอ่ งทางการตดิ ตอ่
ผู้บรหิ ารสูงสดุ หรอื หวั หน้าสถานศกึ ษา และผู้
ดารงตาแหนง่ ทางการบรหิ ารของสถานศกึ ษา
๓. อานาจหน้าท่ี – แสดงข้อมลู หนา้ ที่และ
อานาจของสถานศึกษาตามทีก่ ฎหมายกาหนด
๔. แผนยุทธศาสตร์ หรือแผนพัฒนา
สถานศึกษา - แสดงแผนการดาเนนิ ภารกจิ
ของสถานศกึ ษาทีม่ ีระยะมากกว่า ๑ ปี ซงึ่ มี
ข้อมลู รายละเอยี ดของแผนฯ เช่น ยุทธศาสตร์
หรือแนวทาง เปา้ หมาย ตัวชว้ี ัด เปน็ ต้น และ
เป็นแผนท่ีมีระยะเวลาบังคับใชค้ รอบคลมุ ปี
พ.ศ. ๒๕๖๔
๕. ข้อมูลการตดิ ตอ่ - แสดงข้อมลู การติดตอ่
ดังน้ี ๑) ท่ีอยู่ ๒) หมายเลขโทรศัพท์ ๓)
หมายเลขโทรสาร (ถา้ มี) ๔) ทอี่ ย่ไู ปรษณยี ์
อเิ ล็กทรอนิกส์ (e–mail) ๕) แผนท่ีตัง้ ของ
หน่วยงาน
๖. กฎหมายทีเ่ กี่ยวขอ้ ง แสดงกฎหมายที่
เกย่ี วข้องกบั การดาเนินงานหรอื การ
ปฏบิ ัตงิ านของสถานศกึ ษา เชน่ - พรบ.
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทแี่ ก้ไข
เพม่ิ เติม - พรบ.ระเบยี บบริหารราชการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และท่ี
แก้ไขเพิ่มเตมิ - พรบ.ระเบยี บขา้ ราชการครู
และบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และ
ท่แี กไ้ ขเพิม่ เตมิ - พรบ.การศกึ ษาภาคบังคับ
พ.ศ. ๒๕๔๕ - พรบ.ขอ้ มูลขา่ วสารของ
ราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ และท่แี ก้ไขเพ่ิมเติม -
พรบ.สภาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ.
๒๕๔๖ - ระเบียบกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ว่า
ดว้ ยการบรหิ ารจัดการและขอบเขตการปฏิบตั ิ
หนา้ ทข่ี องสถานศกึ ษาขัน้ พื้นฐานทีเ่ ป็นนติ ิ
บุคคลในสงั กดั เขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษา พ.ศ.
๒๕๔๖ (ออกตาม มาตรา๓๕ พรบ.ระเบยี บ

๙.๒ การ OIT บริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร) - ๒๑
บริหารงาน กฎกระทรวงกาหนดจานวนกรรมการ
คุณสมบตั ิ หลักเกณฑ์วิธกี ารสรรหากรรมการ ๗๕.๐๐
สถานศึกษาขนั้ พืน้ ฐานพ.ศ.๒๕๔๖ เปน็ ต้น
๗. ขา่ วประชาสัมพันธ์ แสดงขอ้ มูลขา่ วสาร
ต่าง ๆ ที่เกย่ี วขอ้ งกับการดาเนินงานตาม
อานาจ หนา้ ทห่ี รือภารกิจของสถานศึกษา
โดยจะตอ้ งเป็นขอ้ มูลภายในปงี บประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๔
๘. Q & A แสดงชอ่ งทางทีบ่ คุ คลภายนอก
สามารถสอบถามข้อมูลตา่ งๆได้ และ
สถานศึกษาสามารถส่ือสารใหค้ าตอบกับ
ผสู้ อบถามได้ โดยมีลักษณะเป็นการสือ่ สารได้
สองทาง เชน่ Web board, กลอ่ งข้อความ
ถาม-ตอบ เปน็ ต้น และสามารถเช่อื มโยงไปยงั
ชอ่ งทางข้างตน้ ได้จากเวบ็ ไซต์หลกั ของ
สถานศกึ ษา
๙. Social Network แสดงเครือข่ายสังคม
ออนไลน์ของสถานศกึ ษา เช่น Facebook
หรือ Line หรอื Twitter หรือ Instagram
เปน็ ต้น และสามารถเชือ่ มโยงไปยงั ชอ่ งทาง
ขา้ งตน้ ไดจ้ ากเว็บไซต์หลกั ของสถานศึกษา
๑๐. แผนดาเนนิ งานประจาปี แสดงแผนการ
ดาเนินภารกิจของสถานศึกษาที่มีระยะ ๑ ปี มี
ขอ้ มลู รายละเอยี ดของแผนฯ เชน่ โครงการ
หรอื กิจกรรม งบประมาณท่ใี ช้ระยะเวลาใน
การดาเนินการ เป็นต้น และเปน็ แผนทม่ี ี
ระยะเวลาบงั คับใช้ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔
๑๑. รายงานการกากับ ติดตามการดาเนินงาน
ประจาปี รอบ๖ เดือน แสดงความกา้ วหน้าใน
การดาเนินงานตามแผนดาเนนิ งานประจาปี มี
เนอื้ หาหรือรายละเอียดความกา้ วหน้า เชน่
ความกา้ วหน้าการดาเนินการแต่ละโครงการ/
กิจกรรม รายละเอยี ดงบประมาณทใี่ ช้

๒๒

ดาเนินงาน เป็นตน้ และเป็นขอ้ มูล ใน
ระยะเวลา ๖ เดอื นแรก ของปี พ.ศ. ๒๕๖๔
๑๒. รายงานผลการดาเนนิ งานประจาปี
แสดงผลการดาเนนิ งานตามแผนดาเนินงาน
ประจาปี มีขอ้ มูลรายละเอียดสรุปผลการ
ดาเนินงาน เช่น ผลการดาเนินการ โครงการ
หรอื กจิ กรรม ผลการใช้จ่ายงบประมาณ
ปญั หา อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ ผลสมั ฤทธ์ิตาม
เปา้ หมาย เปน็ ตน้ และ เป็นรายงานผลการ
ดาเนนิ งานของปี พ.ศ. ๒๕๖๓
๑๓. คมู่ ือหรือมาตรฐานการปฏิบตั งิ าน แสดง
คู่มือหรือแนวทางการปฏบิ ัติงาน ๔ ฝ่าย ของ
สถานศกึ ษาที่บุคลากรในสถานศกึ ษาใช้ยดึ ถือ
ปฏบิ ตั ิใหเ้ ปน็ มาตรฐานเดยี วกัน มีข้อมูล
รายละเอยี ดของการปฏบิ ัติงาน เชน่ เปน็ ค่มู ือ
ปฏิบตั ิภารกิจใด สาหรับบุคลากรในสถาน
ศึกษา กาหนดวธิ ีการข้นั ตอนการปฏิบตั ิ
อย่างไร เป็นต้น
๑๔. คู่มอื หรอื มาตรฐานการใหบ้ ริการ แสดง
คมู่ ือหรอื แนวทางการปฏบิ ัติท่ผี ้รู ับบริการหรือ
ผู้มาตดิ ต่อกบั สถานศึกษาใช้เปน็ ข้อมลู ในการ
ขอรบั บรกิ ารหรอื ตดิ ตอ่ กับสถานศกึ ษา มี
ข้อมูลรายละเอียดของการปฏบิ ัติ เช่น คู่มอื
หรือแนวทางการปฏิบัติสาหรับการให้บริการ
ประเภทงานใหบ้ ริการ ขัน้ ตอนการให้บริการ
แผนผัง/แผนภมู ิการใหบ้ ริการ ระยะเวลาท่ีใช้
ในการใหบ้ รกิ าร และผรู้ บั ผดิ ชอบในการ
ให้บรกิ าร เป็นตน้
๑๕. ขอ้ มลู เชงิ สถิตกิ ารใหบ้ ริการ แสดงข้อมูล
สถติ ิการใหบ้ รกิ ารตามภารกิจของสถานศกึ ษา
และเปน็ ขอ้ มูลการใหบ้ ริการที่เกดิ ข้ึนในปี
พ.ศ. ๒๕๖๔
๑๖. รายงานผลการสารวจความพึงพอใจการ
ใหบ้ รกิ าร แสดงผลสารวจความพงึ พอใจการ

๙.๓ การ OIT ใหบ้ รกิ ารตามอานาจหน้าที่หรอื ภารกจิ ของ ๒๓
บรหิ ารเงิน สถานศกึ ษา และเปน็ รายงานผลของปี พ.ศ.
งบประมาณ ๒๕๖๓ ๓๙.๒๙
๑๗. E–Service แสดงช่องทางท่ี
บคุ คลภายนอกสามารถขอรับบรกิ ารตาม
อานาจหนา้ ท่ภี ารกจิ ของสถานศึกษาผา่ น
ช่องทางออนไลน์ เพ่อื ชว่ ยอานวยความสะดวก
แก่ผ้ขู อรับบรกิ าร และสามารถเข้าถึงหรือ
เชือ่ มโยงไปยงั ชอ่ งทางขา้ งต้นไดจ้ ากเว็บไซต์
หลักของสถานศกึ ษา
๑๘. แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณประจาปี
แสดงแผนการใช้จ่ายงบประมาณของ
สถานศึกษาท่มี รี ะยะ ๑ ปี มีขอ้ มลู
รายละเอียดของแผนฯ เชน่ งบประมาณตาม
แหล่งทไี่ ด้รบั การจดั สรรงบประมาณตาม
ประเภทรายการใช้จ่าย เปน็ ต้น และเปน็ แผน
ท่มี ีระยะเวลาบงั คับใชใ้ นปีงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๖๔
๑๙. รายงานการกากับตดิ ตามการใชจ้ า่ ย
งบประมาณรอบ๖ เดือน แสดงความก้าวหน้า
ในการดาเนินงานตามแผนการใชจ้ ่าย
งบประมาณประจาปี มีขอ้ มูลรายละเอียด
ความกา้ วหน้า เชน่ ความก้าวหน้าการใชจ้ ่าย
งบประมาณ เปน็ ตน้ และเปน็ ขอ้ มลู ใน
ระยะเวลา ๖ เดือนแรก ของปงี บประมาณ
พ.ศ.๒๕๖๔
๒๐. รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณ
ประจาปี แสดงผลการดาเนนิ งานตามแผนการ
ใชจ้ า่ ยงบประมาณประจาปี มขี อ้ มลู
รายละเอียดสรุปผลการใช้จา่ ยงบประมาณ
เชน่ ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ปญั หา
อุปสรรค ขอ้ เสนอแนะ ผลสมั ฤทธต์ิ าม
เปา้ หมาย เปน็ ต้น และเป็นรายงานผลของ
ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓

๒๔

๒๑. แผนการจดั ซอื้ จดั จา้ งหรอื แผนการจัดหา
พัสดุ แสดงแผนการจัดซอ้ื จัดจา้ งหรอื แผนการ
จัดหาพัสดุตามทสี่ ถานศกึ ษา จะตอ้ งดาเนิน
การตามพระราชบญั ญตั ิการจัดซ้ือจดั จา้ งและ
การบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ.๒๕๖๐ และเป็น
ขอ้ มูลการจดั ซอื้ จดั จ้างในปงี บประมาณ พ.ศ.
๒๕๖๔
๒๒. ประกาศต่าง ๆ เกยี่ วกับการจัดซ้ือจดั จา้ ง
หรอื การจัดหาพัสดุ แสดงประกาศตามท่ี
สถานศกึ ษาจะตอ้ งดาเนนิ การตาม
พระราชบัญญัตกิ ารจัดซือ้ จดั จา้ งและการ
บริหารพัสดภุ าครฐั พ.ศ.๒๕๖๐ เช่น ประกาศ
เชญิ ชวน ประกาศผลการจดั ซอ้ื จัดจ้าง เปน็ ตน้
และเป็นข้อมูลการจดั ซอ้ื จัดจา้ งใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๒๓. สรุปผลการจดั ซอ้ื จดั จา้ งหรอื การจัดหา
พสั ดรุ ายเดอื น แสดงสรุปผลการจัดซ้ือจดั จ้าง
ของสถานศึกษา (แบบ สขร.๑) มีขอ้ มูล
รายละเอียดผลการจดั ซ้อื จดั จ้าง เชน่ งานที่
ซอ้ื หรือจา้ ง วงเงินที่ซ้ือหรอื จ้าง ราคากลาง
วิธีการซอื้ หรอื จา้ ง รายชื่อผู้เสนอราคา และ
ราคาท่เี สนอ ผูไ้ ดร้ ับการคดั เลอื กและราคาที่
ตกลง เหตุผลที่คดั เลอื กโดยสรุป เลขทแ่ี ละ
วนั ทขี่ องสัญญาหรอื ขอ้ ตกลงในการซ้ือหรอื
จ้าง เป็นต้น จาแนกขอ้ มลู เป็นรายเดือน (กรณี
ไม่มีการจดั ซอ้ื จดั จา้ งในรอบเดือน ใดใหร้ ะบุว่า
ไม่มีการจดั ซ้อื จัดจา้ ง) และเป็นขอ้ มูลการ
จดั ซือ้ จดั จา้ งในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
๒๔. รายงานผลการจัดซ้อื จัดจา้ งหรือการ
จัดหาพัสดุประจาปี แสดงผลการจัดซอื้ จดั จ้าง
ของสถานศกึ ษา (แบบ สขร.๑) มีขอ้ มูล
รายละเอยี ด เช่น งบประมาณทใี่ ช้ในการ
จัดซ้ือจัดจา้ ง ปัญหา อปุ สรรค ข้อเสนอแนะ

๙.๔ การ OIT เป็นต้น และเปน็ รายงานผลของปีงบประมาณ ๒๕
บรหิ ารและ พ.ศ. ๒๕๖๓
พฒั นา ๒๕. นโยบายการบริหารทรพั ยากรบุคคล ๑๘.๗๕
ทรัพยากร แสดงนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล ทม่ี ี
บุคคล จดุ มุง่ หมายหรอื วตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ กอ่ ใหเ้ กิด
การบรหิ ารทรพั ยากรบุคคลท่มี ีความโปรง่ ใส
และมคี ุณธรรม เป็นนโยบายของผ้บู ริหาร
สูงสดุ หรือผบู้ รหิ ารท่ีไดร้ บั มอบหมาย หรือ
นโยบายทก่ี าหนดในนามของสถานศกึ ษา และ
เป็นนโยบายท่ียังใชบ้ งั คับในสถานศึกษาในปี
พ.ศ.๒๕๖๔
๒๖. การดาเนินการตามนโยบายการบรหิ าร
ทรัพยากรบคุ คล แสดงการดาเนนิ การตาม
นโยบายการบริหารทรพั ยากรบคุ คล เช่น การ
วางแผนกาลงั คน การสรรหาคนดคี นเก่งเพอื่
ปฏิบัตงิ านตามภารกจิ ของสถานศกึ ษา การ
พัฒนาบคุ ลากร การสรา้ งทางก้าวหนา้ ในสาย
อาชพี การพฒั นาคุณภาพชวี ิต การบรรจแุ ละ
แต่งตั้งบคุ ลากร การประเมินผล การ
ปฏิบตั ิงาน การสง่ เสรมิ จริยธรรมและรักษา
วนิ ัยของบคุ ลากรใน สถานศกึ ษา เปน็ ตน้ เปน็
การดาเนนิ การที่มีความสอดรบั กับนโยบาย
การบริหารทรพั ยากรบุคคล ตามขอ้ O๒๕
หรือเป็นไปตามกจิ กรรมทอ่ี ยภู่ ายใตน้ โยบาย
การบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล ตามขอ้ ๒๕ และ
เปน็ การดาเนนิ การในปี พ.ศ. ๒๕๖๔
๒๗. หลักเกณฑ์การบรหิ ารและพัฒนา
ทรพั ยากรบคุ คล แสดงหลักเกณฑ์การบริหาร
และพฒั นาทรัพยากรบคุ คล ดงั น้ี
o หลักเกณฑก์ ารสรรหาและคดั เลือกบุคลากร
o หลกั เกณฑก์ ารบรรจุและแตง่ ตง้ั บคุ ลากร
o หลกั เกณฑก์ ารพัฒนาบคุ ลากร
o หลักเกณฑก์ ารประเมินผลการปฏิบัติงาน
บคุ ลากร

๙.๕ การ OIT o หลกั เกณฑก์ ารให้คุณให้โทษและการสรา้ ง ๒๖
ส่งเสริมความ ขวัญกาลังใจและเป็นหลักเกณฑท์ ย่ี งั ใชบ้ ังคับ
โปรง่ ใส ในสถานศกึ ษา ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ๖๐.๐๐
๒๘. รายงานผลการบรหิ ารและพัฒนา
ทรพั ยากรบคุ คลประจาปี แสดงผลการบริหาร
และพัฒนาทรัพยากรบุคคลมีข้อมลู
รายละเอยี ดของการดาเนนิ การ เช่น ผลการ
ดาเนนิ การตามนโยบายการบริหารทรัพยากร
บคุ คล ผลการวิเคราะหก์ ารบรหิ ารและพัฒนา
ทรัพยากรบุคคล เป็นต้น และเป็นรายงานผล
การดาเนินงาน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓
๒๙. แนวปฏบิ ัตกิ ารจดั การเร่อื งรอ้ งเรยี นการ
ทุจรติ และประพฤติ มชิ อบ แสดงค่มู ือหรือ
แนวทางการดาเนนิ การตอ่ เรื่องร้องเรยี นที่
เกย่ี วข้องกบั การทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบของ
บคุ ลากรในสถานศกึ ษา มขี อ้ มลู รายละเอียด
ของการปฏบิ ตั ิงาน เชน่ รายละเอียดวิธีการท่ี
บุคคลภายนอกจะทาการร้องเรียน
รายละเอียดข้นั ตอนหรือวิธีการในการจดั การ
ต่อเรือ่ งรอ้ งเรียนส่วนงานทีร่ ับผดิ ชอบ
ระยะเวลาดาเนนิ การเป็นต้น
๓๐. ช่องทางแจง้ เร่ืองร้องเรยี นการทุจริตและ
ประพฤตมิ ชิ อบ แสดงช่องทางที่
บคุ คลภายนอกสามารถแจง้ เรือ่ งรอ้ งเรียน
เกีย่ วกบั การทุจรติ และประพฤติมชิ อบของ
บุคลากรในสถานศกึ ษาผา่ นทางชอ่ งทาง
ออนไลน์ และสามารถเข้าถึงหรอื เชือ่ มโยงไป
ยังช่องทางขา้ งต้นไดจ้ ากเวบ็ ไซตห์ ลกั ของ
สถานศกึ ษา
๓๑. ขอ้ มูลเชิงสถิติเรอ่ื งรอ้ งเรยี นการทจุ ริต
และประพฤตมิ ชิ อบประจาปี แสดงข้อมลู สถิติ
เร่ืองรอ้ งเรยี นการทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบ
ของบุคลากรในสถานศกึ ษา มีขอ้ มลู
ความก้าวหนา้ การจัดการเร่ืองร้องเรียน เช่น

- การเปิด จานวนเรอ่ื ง เรื่องทีด่ าเนนิ การแล้วเสรจ็ เร่อื ง ๒๗
โอกาสให้เกิด ท่อี ยรู่ ะหวา่ งดาเนินการ เป็นตน้ (กรณีไมม่ ี
การมสี ่วน เรอ่ื งร้องเรยี นให้ระบไุ มม่ ีเรอ่ื งรอ้ งเรียน) และ ๑๕.๖๓
รว่ ม เปน็ ขอ้ มูลในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ ๓๑.๒๕
๓๒. ชอ่ งทางการรบั ฟังความคดิ เหน็ แสดง
๑๐. การ OIT ชอ่ งทางท่ีบคุ คลภายนอกสามารถแสดงความ
ปอ้ งกันการ คิดเห็นต่อการดาเนนิ งานตามอานาจหน้าท่ี
ทจุ รติ หรอื ภารกจิ ของสถานศกึ ษาผา่ นทางชอ่ งทาง
๑๐.๑ การ ออนไลน์ สามารถเข้าถงึ หรือเชอื่ มโยงไปยงั
ดาเนนิ การ ชอ่ งทางข้างตน้ ไดจ้ ากเวบ็ ไซต์หลกั ของ
เพอ่ื ป้องกัน สถานศกึ ษา
การทุจริต ๓๓. การเปิดโอกาสใหเ้ กดิ การมสี ่วนร่วม
แสดงการดาเนินการหรอื กิจกรรมทแ่ี สดงถึง
การเปดิ โอกาสให้ผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสียได้มสี ว่ น
ร่วมในการดาเนินงานตามภารกจิ ของ
สถานศกึ ษา เชน่ ร่วมวางแผน รว่ มดาเนินการ
ร่วมแลกเปล่ียนความคดิ เหน็ และรว่ มตดิ ตาม
ประเมนิ ผล เปน็ ตน้ และเป็นการดาเนนิ การใน
ปี พ.ศ. ๒๕๖๔
๓๔. เจตจานงสุจรติ ของผบู้ ริหาร แสดงเน้ือหา
เจตนารมณ์หรอื คามนั่ วา่ จะปฏบิ ตั หิ นา้ ทแ่ี ละ
บริหาร สถานศึกษาอย่างซื่อสตั ยส์ ุจริต
โปรง่ ใส และเป็นไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล โดย
จัดทาอย่างนอ้ ย ๒ ภาษา ได้แก่ ภาษาไทย
และภาษาอังกฤษ ดาเนินการโดยผู้บรหิ าร
สูงสุดคนปจั จบุ นั ของสถานศกึ ษา
๓๕. การมีสว่ นร่วมของผู้บริหาร แสดงการ
ดาเนินการหรือกิจกรรมท่แี สดงถึงการมีสว่ น
ร่วมของผบู้ ริหารสงู สดุ คนปัจจบุ นั เปน็ การ
ดาเนินการหรือกิจกรรมทีแ่ สดงให้เห็นถงึ การ
ใหค้ วามสาคัญกบั การปรบั ปรุง พฒั นา และ
สง่ เสรมิ สถานศึกษาด้านคณุ ธรรมและความ
โปร่งใส และเปน็ การดาเนนิ การในปี พ.ศ.
๒๕๖๔

๒๘

๓๖. การประเมินความเสีย่ งการทุจรติ
ประจาปี แสดงผลการประเมนิ ความเสย่ี งของ
การดาเนนิ งานหรอื การปฏบิ ัตหิ นา้ ทีท่ ่ีอาจ
กอ่ ใหเ้ กิดการทุจริตหรอื กอ่ ใหเ้ กิดการขดั กัน
ระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนกับผลประโยชน์
สว่ นรวมของสถานศกึ ษา มีขอ้ มลู รายละเอียด
ของผลการประเมนิ เช่น เหตุการณ์ความเส่ียง
และระดบั ของความเสยี่ ง มาตรการและการ
ดาเนินการในการบริหารจัดการความเสยี่ ง
เป็นตน้ และเปน็ การดาเนนิ การในปี พ.ศ.
๒๕๖๓
๓๗. การดาเนนิ การเพือ่ จดั การความเส่ยี ง
การทจุ รติ แสดงการดาเนนิ การหรือกิจกรรมท่ี
แสดงถึงการจัดการความเส่ียงในกรณีทอ่ี าจ
ก่อใหเ้ กิดการทุจริตหรอื ก่อใหเ้ กิดการขดั กนั
ระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกบั ผลประโยชน์
ส่วนรวมของสถานศกึ ษา เป็นกจิ กรรมหรือ
การดาเนนิ การท่ีสอดคลอ้ งกับมาตรการหรอื
การดาเนนิ การเพอื่ บรหิ ารจดั การความเสย่ี ง
ตามข้อ ๓๖ และเป็นการดาเนนิ การในปี พ.ศ.
๒๕๖๔
๓๘. การเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมองค์กร แสดง
การดาเนนิ การหรอื กจิ กรรมท่แี สดงถึงการ
เสริมสรา้ งวัฒนธรรมองค์กรให้บคุ ลากรใน
สถานศึกษามีทัศนคติ คา่ นยิ มในการ
ปฏิบตั ิงานอยา่ งซอื่ สตั ยส์ ุจรติ อย่างชัดเจน
และเปน็ การดาเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๖๔
๓๙. แผนปฏบิ ตั ิการป้องกนั การทจุ ริตประจาปี
แสดงแผนปฏบิ ัติการที่มีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือ
ป้องกันการทุจริตหรือพัฒนาด้านคณุ ธรรม
และความโปรง่ ใสของสถานศกึ ษา มีขอ้ มูล
รายละเอียดของแผนฯ เช่น โครงการ
กิจกรรม งบประมาณ ชว่ งเวลาดาเนินการ

๑๐.๒ OIT เป็นต้น และเปน็ แผนทีม่ ีระยะเวลาบงั คบั ใช้ ๒๙
มาตรการ ครอบคลุมปี พ.ศ. ๒๕๖๓
ภายในเพื่อ ๔๐. รายงานการกากับติดตามการดาเนนิ การ ๐.๐๐
ป้องกนั การ ป้องกันการทุจริต ประจาปี รอบ ๖ เดือน
ทุจริต แสดงความก้าวหนา้ ในการดาเนินงานตาม
แผนปฏบิ ตั ิการป้องกันการทจุ รติ มีขอ้ มลู
รายละเอียดความกา้ วหน้า เช่น
ความก้าวหน้าการดาเนนิ การแตล่ ะโครงการ/
กจิ กรรม รายละเอียดงบประมาณทีใ่ ช้
ดาเนินงาน เปน็ ตน้ และเปน็ ข้อมลู ใน
ระยะเวลา ๖ เดือนแรก ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔
๔๑. รายงานผลการดาเนินการป้องกันการ
ทจุ รติ ประจาปี แสดงผลการดาเนนิ งานตาม
แผนปฏิบัติการปอ้ งกนั การทุจรติ มีขอ้ มลู
รายละเอียดสรปุ ผลการดาเนินการ เช่น ผล
การดาเนนิ การ โครงการหรอื กจิ กรรม ผลการ
ใชจ้ ่ายงบประมาณ ปัญหา อุปสรรค
ข้อเสนอแนะ ผลสัมฤทธต์ิ ามเปา้ หมาย เปน็
ตน้ ใช้รายงานผลการดาเนินงาน ในปี พ.ศ.
๒๕๖๓
๔๒. มาตรการส่งเสรมิ คุณธรรมและความ
โปรง่ ใสภายในหนว่ ยงาน แสดงการวิเคราะห์
ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสใน
การดาเนนิ งานของสถานศึกษา ในปี
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ มีขอ้ มูลรายละเอยี ด
การวิเคราะห์ เชน่ ประเดน็ ท่เี ป็นข้อบกพร่อง
หรอื จดุ ออ่ นทีจ่ ะต้องแกไ้ ขโดยเรง่ ด่วน
ประเด็นท่ีจะต้องพฒั นาให้ดขี ้ึน แนวทางการ
นาผลการวเิ คราะห์ไปสู่การปฏบิ ัติของ
สถานศึกษา เปน็ ต้น มีมาตรการเพ่อื ขับเคล่อื น
การสง่ เสรมิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสภายใน
สถานศึกษาใหด้ ีขน้ึ ซง่ึ สอดคล้องตามผลการ
วิเคราะหฯ์ โดยมีรายละเอียดต่าง ๆ เช่น การ
กาหนดผู้รับผดิ ชอบหรอื ผทู้ เ่ี ก่ียวข้องการ

๓๐

กาหนดข้ันตอนหรือวิธกี ารปฏิบตั ิ การกาหนด
แนวทางการกากบั ตดิ ตาม ให้นาไปสู่การ
ปฏิบัติ และการรายงานผล เป็นตน้
๔๓. การดาเนนิ การตามมาตรการส่งเสรมิ
คณุ ธรรมและความโปร่งใสภายในหนว่ ยงาน
แสดงผลการดาเนนิ การตามมาตรการเพ่ือ
สง่ เสรมิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสภายใน
สถานศกึ ษา มขี อ้ มลู รายละเอียดการนา
มาตรการเพ่ือสง่ เสริมคุณธรรมและความ
โปร่งใสภายในสถานศึกษาในข้อ ๔๒ ไปส่กู าร
ปฏบิ ัติอย่างเปน็ รูปธรรม และเป็นการ
ดาเนนิ การในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๓๑

สรปุ ผลการประเมนิ ตามตัวช้ีวดั ของ OIT ของโรงเรียนบ้านโป่งนา้ รอ้ น

ขอ้ ที่ หัวข้อ คะแนน QR CORD หมายเหตุ
๑๐๐
๑ โครงสรา้ ง - แสดงแผนผงั แสดงโครงสรา้ งการ

แบ่งส่วนราชการของสถานศึกษา ประกอบดว้ ย
ตาแหน่งทสี่ าคญั และการแบง่ ส่วนงานภายใน
เชน่ งาน ๔ ฝา่ ย หรอื ภาระงาน และองค์คณะ
บุคคล เปน็ ต้น

๒ ข้อมูลผ้บู ริหาร - แสดงรายนามของผบู้ ริหารของ ๕๐

สถานศกึ ษา ประกอบด้วยชอ่ื -นามสกลุ ตาแหนง่

รปู ถา่ ย ชอ่ งทางการติดตอ่ ผ้บู รหิ ารสงู สดุ หรือ

หวั หนา้ สถานศกึ ษา และผดู้ ารงตาแหนง่ ทางการ

บริหารของสถานศกึ ษา

๓ อานาจหน้าท่ี – แสดงขอ้ มลู หนา้ ทแ่ี ละอานาจ ๑๐๐

ของสถานศึกษาตามที่กฎหมายกาหนด

๔ แผนยทุ ธศาสตร์ หรอื แผนพฒั นาสถานศกึ ษา - ๑๐๐

แสดงแผนการดาเนนิ ภารกจิ ของสถานศึกษาทม่ี ี

ระยะมากกวา่ ๑ ปี ซง่ึ มขี อ้ มลู รายละเอยี ดของ
แผนฯ เชน่ ยุทธศาสตร์ หรือแนวทาง เป้าหมาย
ตวั ชี้วัด เปน็ ตน้ และเป็นแผนท่มี ีระยะเวลาบังคบั
ใชค้ รอบคลมุ ปี พ.ศ. ๒๕๖๔

๕ ขอ้ มลู การตดิ ตอ่ - แสดงขอ้ มลู การตดิ ตอ่ ดงั นี้ ๑) ๑๐๐

ท่อี ยู่ ๒) หมายเลขโทรศพั ท์ ๓) หมายเลขโทรสาร
(ถา้ มี) ๔) ท่ีอยู่ไปรษณยี ์อิเล็กทรอนิกส์ (e–mail)
๕) แผนทต่ี ง้ั ของหนว่ ยงาน

๓๒

๖ กฎหมายทเี่ ก่ียวข้อง แสดงกฎหมายทเี่ กีย่ วข้อง ๕๐

กับการดาเนนิ งานหรือการปฏิบัติงานของ
สถานศกึ ษา เช่น - พรบ.การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ.
๒๕๔๒ และที่แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ - พรบ.ระเบียบ
บรหิ ารราชการกระทรวงศกึ ษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
และท่ีแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ - พรบ.ระเบียบขา้ ราชการครู
และบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และท่ี
แก้ไขเพม่ิ เตมิ - พรบ.การศึกษาภาคบังคับ พ.ศ.
๒๕๔๕ - พรบ.ขอ้ มูลขา่ วสารของราชการ พ.ศ.
๒๕๔๐ และท่แี ก้ไขเพิ่มเติม - พรบ.สภาครแู ละ
บุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๖ - ระเบยี บ
กระทรวงศกึ ษาธิการ วา่ ดว้ ยการบรหิ ารจดั การ
และขอบเขตการปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ขี องสถานศกึ ษาข้ัน
พ้ืนฐานทเี่ ป็นนติ บิ คุ คลในสังกดั เขตพ้ืนท่ี
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖ (ออกตาม มาตรา๓๕
พรบ.ระเบยี บบรหิ ารราชการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ) - กฎกระทรวงกาหนด
จานวนกรรมการคุณสมบัติ หลักเกณฑว์ ิธีการสรร
หากรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานพ.ศ.๒๕๔๖
เป็นต้น

๗ ขา่ วประชาสมั พันธ์ แสดงข้อมลู ขา่ วสารต่าง ๆ ที่ ๑๐๐

เก่ียวข้องกับการดาเนินงานตามอานาจ หนา้ ท่ี
หรือภารกิจของสถานศึกษา โดยจะตอ้ งเปน็
ขอ้ มูลภายในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๘ Q & A แสดงช่องทางทบ่ี ุคคลภายนอกสามารถ ๑๐๐

สอบถามขอ้ มูลต่างๆได้ และสถานศกึ ษาสามารถ
สื่อสารให้คาตอบกบั ผ้สู อบถามได้ โดยมีลกั ษณะ
เป็นการสื่อสารไดส้ องทาง เชน่ Web board,
กล่องขอ้ ความถาม-ตอบ เป็นตน้ และสามารถ
เชื่อมโยงไปยงั ชอ่ งทางข้างตน้ ได้จากเวบ็ ไซตห์ ลกั
ของสถานศึกษา

๓๓

๙ Social Network แสดงเครือข่ายสงั คมออนไลน์ ๑๐๐

ของสถานศกึ ษา เชน่ Facebook หรอื Line

หรือ Twitter หรือ Instagram เปน็ ตน้ และ

สามารถเชอื่ มโยงไปยังช่องทางขา้ งตน้ ไดจ้ าก

เวบ็ ไซต์หลักของสถานศกึ ษา

๑๐ แผนดาเนินงานประจาปี แสดงแผนการดาเนนิ ๑๐๐

ภารกิจของสถานศกึ ษาทมี่ รี ะยะ ๑ ปี มขี ้อมลู ๕๐
รายละเอยี ดของแผนฯ เช่น โครงการหรอื ๑๐๐
กิจกรรม งบประมาณทใ่ี ช้ระยะเวลาในการ
ดาเนินการ เปน็ ตน้ และเปน็ แผนทม่ี รี ะยะเวลา
บังคับใช้ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๑ รายงานการกากับ ตดิ ตามการดาเนินงาน

ประจาปี รอบ๖ เดือน แสดงความกา้ วหนา้ ใน
การดาเนินงานตามแผนดาเนนิ งานประจาปี มี
เน้อื หาหรอื รายละเอยี ดความกา้ วหน้า เช่น

ความก้าวหนา้ การดาเนนิ การแตล่ ะโครงการ/
กิจกรรม รายละเอียดงบประมาณทใี่ ช้
ดาเนินงาน เป็นต้น และเปน็ ขอ้ มลู ในระยะเวลา
๖ เดือนแรก ของปี พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๒ รายงานผลการดาเนินงานประจาปี แสดงผลการ

ดาเนนิ งานตามแผนดาเนินงานประจาปี มีข้อมลู
รายละเอยี ดสรุปผลการดาเนินงาน เชน่ ผลการ
ดาเนนิ การ โครงการหรอื กิจกรรม ผลการใช้จ่าย
งบประมาณ ปัญหา อปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะ
ผลสัมฤทธต์ิ ามเปา้ หมาย เปน็ ตน้ และ เป็น
รายงานผลการดาเนินงานของปี พ.ศ. ๒๕๖๓

๑๓ ค่มู ือหรือมาตรฐานการปฏบิ ัตงิ าน แสดงคู่มอื หรือ

แนวทางการปฏิบัติงาน ๔ ฝา่ ย ของสถานศกึ ษาที่
บุคลากรในสถานศกึ ษาใชย้ ึดถอื ปฏบิ ตั ใิ หเ้ ปน็
มาตรฐานเดยี วกัน มีข้อมลู รายละเอียดของการ
ปฏบิ ัตงิ าน เชน่ เป็นคมู่ อื ปฏิบตั ิภารกิจใด สาหรับ
บุคลากรในสถาน ศึกษา กาหนดวิธีการข้ันตอน
การปฏบิ ัตอิ ยา่ งไร เปน็ ตน้

๓๔

๑๔ คมู่ อื หรอื มาตรฐานการใหบ้ ริการ แสดงคมู่ ือหรอื ๑๐๐
๕๐
แนวทางการปฏิบัตทิ ผ่ี ูร้ บั บริการหรือผูม้ าติดต่อ
กบั สถานศกึ ษาใชเ้ ปน็ ขอ้ มูลในการขอรับบรกิ าร
หรือติดตอ่ กบั สถานศึกษา มีข้อมลู รายละเอยี ด
ของการปฏบิ ัติ เช่น คมู่ อื หรอื แนวทางการปฏิบัติ
สาหรบั การใหบ้ รกิ าร ประเภทงานให้บรกิ าร
ขัน้ ตอนการให้บริการแผนผัง/แผนภมู ิการ
ให้บริการ ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการใหบ้ ริการ และ
ผรู้ บั ผดิ ชอบในการให้บรกิ าร เป็นต้น

๑๕ ข้อมลู เชิงสถติ ิการให้บรกิ าร แสดงขอ้ มลู สถติ ิการ

ให้บรกิ ารตามภารกิจของสถานศกึ ษา และเปน็
ขอ้ มลู การใหบ้ ริการทีเ่ กิดข้ึนในปี พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๖ รายงานผลการสารวจความพึงพอใจการ ๑๐๐
๑๐๐
ใหบ้ ริการ แสดงผลสารวจความพึงพอใจการ ๑๐๐
ให้บรกิ ารตามอานาจหน้าทีห่ รือภารกจิ ของ
สถานศกึ ษา และเปน็ รายงานผลของปี พ.ศ.
๒๕๖๓

๑๗ E–Service แสดงช่องทางที่บคุ คลภายนอก

สามารถขอรับบรกิ ารตามอานาจหน้าทภี่ ารกจิ
ของสถานศกึ ษาผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ เพ่ือช่วย
อานวยความสะดวกแกผ่ ขู้ อรับบริการ และ
สามารถเขา้ ถงึ หรือเชื่อมโยงไปยังช่องทางข้างต้น
ไดจ้ ากเว็บไซตห์ ลกั ของสถานศึกษา

๑๘ แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจาปี แสดง

แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณของสถานศกึ ษาท่มี ี
ระยะ ๑ ปี มีขอ้ มลู รายละเอียดของแผนฯ เชน่
งบประมาณตามแหล่งทไี่ ด้รบั การจดั สรร
งบประมาณตามประเภทรายการใช้จา่ ย เปน็ ตน้
และเปน็ แผนทีม่ ีระยะเวลาบงั คบั ใชใ้ น
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๓๕

๑๙ รายงานการกากบั ตดิ ตามการใชจ้ ่ายงบประมาณ ๕๐

รอบ๖ เดอื น แสดงความก้าวหน้าในการดาเนนิ ๐
งานตามแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณประจาปี มี
ข้อมูลรายละเอียดความกา้ วหนา้ เช่น
ความกา้ วหน้าการใชจ้ า่ ย งบประมาณ เปน็ ต้น
และเป็นขอ้ มลู ในระยะเวลา ๖ เดอื นแรก ของ
ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔

๒๐ รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจาปี

แสดงผลการดาเนินงานตามแผนการใชจ้ า่ ย
งบประมาณประจาปี มขี ้อมลู รายละเอียดสรุปผล
การใชจ้ า่ ยงบประมาณ เชน่ ผลการใชจ้ า่ ย
งบประมาณ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ
ผลสมั ฤทธิ์ตามเป้าหมาย เป็นต้น และเป็น
รายงานผลของปงี บประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓

๒๑ แผนการจดั ซ้อื จดั จา้ งหรือแผนการจดั หาพสั ดุ

แสดงแผนการจดั ซ้อื จดั จ้างหรอื แผนการจดั หา
พัสดุตามทส่ี ถานศึกษา จะตอ้ งดาเนนิ การตาม
พระราชบัญญตั กิ ารจดั ซื้อจดั จา้ งและการบรหิ าร

พสั ดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ และเปน็ ข้อมลู การ
จัดซอ้ื จดั จา้ งในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔

๒๒ ประกาศตา่ ง ๆ เก่ยี วกบั การจัดซื้อจดั จา้ งหรือ ๑๐๐
๒๕
การจัดหาพสั ดุ แสดงประกาศตามทีส่ ถานศกึ ษา
จะตอ้ งดาเนินการตามพระราชบญั ญตั กิ ารจัดซ้อื

จดั จ้างและการบริหารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐
เชน่ ประกาศ เชิญชวน ประกาศผลการจดั ซอ้ื จัด
จ้าง เปน็ ตน้ และเป็นข้อมลู การจัดซื้อจดั จ้างใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๒๓ สรปุ ผลการจัดซื้อจัดจา้ งหรือการจัดหาพัสดรุ าย

เดือน แสดงสรปุ ผลการจัดซอื้ จัดจ้างของ
สถานศึกษา (แบบ สขร.๑) มขี อ้ มูลรายละเอียด
ผลการจดั ซ้ือจัดจ้าง เช่น งานทซ่ี อ้ื หรือจา้ ง
วงเงินทซ่ี ้ือหรือจ้าง ราคากลาง วิธีการซ้ือหรือ
จ้าง รายช่อื ผเู้ สนอราคา และราคาทเี่ สนอ ผไู้ ดร้ บั

๓๖

การคัดเลือกและราคาทต่ี กลง เหตผุ ลทค่ี ัดเลอื ก ๐
โดยสรปุ เลขทีแ่ ละวนั ทขี่ องสัญญาหรอื ขอ้ ตกลง ๐
ในการซอื้ หรอื จา้ ง เป็นตน้ จาแนกขอ้ มลู เป็นราย ๐
เดือน (กรณไี มม่ ีการจดั ซือ้ จัดจา้ งในรอบเดือน ใด
ให้ระบุว่าไมม่ ีการจัดซือ้ จัดจ้าง) และเป็นข้อมูล
การจดั ซ้ือจัดจา้ งในปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๒๔ รายงานผลการจัดซอ้ื จัดจา้ งหรอื การจัดหาพัสดุ

ประจาปี แสดงผลการจดั ซ้ือจัดจา้ งของ
สถานศกึ ษา (แบบ สขร.๑) มีข้อมลู รายละเอยี ด
เชน่ งบประมาณทใ่ี ช้ในการจดั ซ้อื จดั จ้าง ปัญหา
อุปสรรค ข้อเสนอแนะ เป็นต้น และเปน็ รายงาน
ผลของปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

๒๕ นโยบายการบริหารทรพั ยากรบคุ คล แสดง

นโยบายการบรหิ ารทรัพยากรบุคคล ทมี่ ี
จุดมุ่งหมายหรอื วัตถุประสงค์ เพือ่ ก่อใหเ้ กิดการ
บรหิ ารทรัพยากรบคุ คลท่ีมคี วามโปร่งใสและมี
คุณธรรม เป็นนโยบายของผูบ้ ริหารสูงสดุ หรือ
ผูบ้ รหิ ารท่ไี ดร้ บั มอบหมาย หรือนโยบายที่
กาหนดในนามของสถานศึกษา และเป็นนโยบาย
ที่ยงั ใช้บงั คบั ในสถานศกึ ษาในปี พ.ศ.๒๕๖๔

๒๖ การดาเนนิ การตามนโยบายการบรหิ ารทรัพยากร

บคุ คล แสดงการดาเนินการตามนโยบายการ
บรหิ ารทรัพยากรบุคคล เช่น การวางแผนกาลงั
คน การสรรหาคนดคี นเกง่ เพ่อื ปฏิบัตงิ านตาม
ภารกจิ ของสถานศกึ ษา การพัฒนาบุคลากร การ
สรา้ งทางก้าวหนา้ ในสายอาชพี การพัฒนา
คุณภาพชีวติ การบรรจแุ ละแต่งตงั้ บุคลากร การ
ประเมนิ ผล การปฏบิ ตั งิ าน การสง่ เสริมจรยิ ธรรม
และรักษาวนิ ัยของบุคลากรใน สถานศกึ ษา เปน็
ต้น เปน็ การดาเนินการท่มี ีความสอดรบั กบั
นโยบายการบริหารทรพั ยากรบคุ คล ตามข้อ O
๒๕ หรอื เปน็ ไปตามกิจกรรมท่ีอยภู่ ายใต้นโยบาย
การบริหารทรพั ยากรบุคคล ตามข้อ ๒๕ และ
เป็นการดาเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๖๔

๓๗

๒๗ หลกั เกณฑ์การบรหิ ารและพฒั นาทรัพยากร ๗๕

บุคคล แสดงหลกั เกณฑก์ ารบริหารและพัฒนา ๐
ทรัพยากรบุคคล ดังนี้ ๑๐๐
o หลักเกณฑก์ ารสรรหาและคดั เลือกบุคลากร o
หลักเกณฑ์การบรรจแุ ละแต่งต้ังบุคลากร
o หลักเกณฑก์ ารพัฒนาบคุ ลากร
o หลกั เกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน
บคุ ลากร
o หลกั เกณฑ์การใหค้ ณุ ใหโ้ ทษและการสร้างขวญั
กาลงั ใจและเปน็ หลกั เกณฑท์ ย่ี ังใชบ้ งั คบั ใน
สถานศึกษา ในปี พ.ศ. ๒๕๖๔

๒๘ รายงานผลการบริหารและพฒั นาทรัพยากร

บคุ คลประจาปี แสดงผลการบริหารและพัฒนา
ทรัพยากรบคุ คลมขี อ้ มูลรายละเอยี ดของการ
ดาเนนิ การ เช่น ผลการดาเนินการตามนโยบาย

การบริหารทรพั ยากรบคุ คล ผลการวิเคราะหก์ าร
บรหิ ารและพัฒนาทรพั ยากรบคุ คล เปน็ ตน้ และ
เป็นรายงานผลการดาเนนิ งาน ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓

๒๙ แนวปฏิบตั กิ ารจัดการเรอื่ งร้องเรยี นการทจุ ริต

และประพฤติ มชิ อบ แสดงคมู่ ือหรือแนวทางการ
ดาเนินการต่อเร่ืองรอ้ งเรยี นทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั การ
ทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบของบุคลากรใน
สถานศึกษา มีขอ้ มูลรายละเอยี ดของการ
ปฏิบัติงาน เชน่ รายละเอยี ดวิธกี ารท่ี
บุคคลภายนอกจะทาการรอ้ งเรยี น รายละเอียด
ขั้นตอนหรือวิธกี ารในการจัดการต่อเรือ่ ง
ร้องเรยี นสว่ นงานท่รี บั ผิดชอบ ระยะเวลา
ดาเนินการเปน็ ตน้

๓๘

๓๐ . ช่องทางแจง้ เร่ืองรอ้ งเรยี นการทุจรติ และ ๐
๑๐๐
ประพฤติมชิ อบ แสดงช่องทางท่บี ุคคลภายนอก ๐
สามารถแจง้ เรอ่ื งรอ้ งเรยี นเกีย่ วกับการทุจรติ และ
ประพฤตมิ ชิ อบของบุคลากรในสถานศึกษาผา่ น
ทางชอ่ งทางออนไลน์ และสามารถเขา้ ถึงหรอื
เช่ือมโยงไปยังชอ่ งทางขา้ งตน้ ได้จากเว็บไซตห์ ลัก
ของสถานศึกษา

๓๑ ขอ้ มลู เชงิ สถิตเิ รอื่ งร้องเรียนการทุจรติ และ

ประพฤตมิ ชิ อบประจาปี แสดงขอ้ มูลสถติ เิ รอ่ื ง
ร้องเรียนการทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบของ
บุคลากรในสถานศกึ ษา มขี อ้ มูลความก้าวหน้า
การจดั การเรื่องร้องเรียน เชน่ จานวนเร่อื ง เรือ่ ง
ท่ดี าเนนิ การแลว้ เสรจ็ เร่ืองท่ีอยู่ระหวา่ ง
ดาเนนิ การ เป็นต้น (กรณีไม่มีเรื่องรอ้ งเรยี นให้
ระบไุ มม่ ีเร่ืองรอ้ งเรียน) และเป็นข้อมูลในปี พ.ศ.

๒๕๖๓

๓๒ ช่องทางการรบั ฟังความคดิ เห็น แสดงช่องทางที่

บุคคลภายนอกสามารถแสดงความคดิ เห็นตอ่ การ

ดาเนนิ งานตามอานาจหนา้ ที่หรอื ภารกจิ ของ
สถานศึกษาผ่านทางช่องทางออนไลน์ สามารถ
เขา้ ถงึ หรอื เชอื่ มโยงไปยงั ชอ่ งทางขา้ งตน้ ไดจ้ าก
เวบ็ ไซต์หลกั ของสถานศกึ ษา

๓๓ การเปดิ โอกาสใหเ้ กดิ การมสี ่วนร่วม แสดงการ ๑๐๐

ดาเนินการหรอื กจิ กรรมทแ่ี สดงถึงการเปิดโอกาส
ให้ผู้มสี ่วนได้สว่ นเสยี ได้มีส่วนรว่ มในการ
ดาเนนิ งานตามภารกจิ ของสถานศึกษา เชน่ ร่วม
วางแผน ร่วมดาเนนิ การร่วมแลกเปลีย่ นความ

คดิ เห็น และรว่ มติดตามประเมนิ ผล เปน็ ตน้ และ
เปน็ การดาเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๖๔

๓๙

๓๔ . เจตจานงสุจรติ ของผู้บริหาร แสดงเนือ้ หา ๑๐๐
๑๐๐
เจตนารมณห์ รือคามนั่ วา่ จะปฏิบตั หิ นา้ ที่และ ๐
บรหิ าร สถานศกึ ษาอยา่ งซ่ือสัตยส์ ุจรติ โปร่งใส
และเปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล โดยจดั ทาอย่าง ๐
นอ้ ย ๒ ภาษา ไดแ้ ก่ ภาษาไทย และ
ภาษาอังกฤษ ดาเนนิ การโดยผูบ้ รหิ ารสูงสุดคน
ปัจจุบนั ของสถานศกึ ษา

๓๕ การมีสว่ นร่วมของผู้บริหาร แสดงการดาเนนิ การ

หรอื กิจกรรมที่แสดงถงึ การมีส่วนร่วมของ
ผบู้ ริหารสงู สุดคนปัจจุบัน เปน็ การดาเนนิ การ
หรอื กิจกรรมทแ่ี สดงให้เห็นถึงการให้ความสาคัญ
กับการปรับปรุง พัฒนา และส่งเสริมสถานศกึ ษา
ดา้ นคุณธรรมและความโปร่งใส และเป็นการ
ดาเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๖๔

๓๖ การประเมินความเสย่ี งการทุจริตประจาปี

แสดงผลการประเมนิ ความเส่ยี งของการ
ดาเนนิ งานหรือการปฏบิ ตั หิ น้าที่ท่อี าจกอ่ ให้เกิด
การทุจริตหรอื ก่อให้เกดิ การขัดกันระหวา่ ง
ผลประโยชนส์ ่วนตนกบั ผลประโยชน์สว่ นรวมของ
สถานศึกษา มีข้อมลู รายละเอียดของผลการ
ประเมิน เชน่ เหตุการณค์ วามเสี่ยง และระดับ
ของความเสีย่ ง มาตรการและการดาเนินการใน
การบริหารจัดการความเสีย่ ง เปน็ ตน้ และเป็น
การดาเนนิ การในปี พ.ศ. ๒๕๖๓

๓๗ การดาเนินการเพือ่ จัดการความเสี่ยงการทจุ ริต

แสดงการดาเนนิ การหรือกิจกรรมทแี่ สดงถึงการ
จัดการความเสีย่ งในกรณีท่ีอาจก่อให้เกิดการ
ทจุ ริตหรือก่อใหเ้ กิดการขดั กนั ระหว่าง

ผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชนส์ ว่ นรวมของ
สถานศกึ ษา เปน็ กิจกรรมหรอื การดาเนินการท่ี
สอดคล้องกบั มาตรการหรอื การดาเนินการเพือ่
บริหารจัดการความเสีย่ งตามขอ้ ๓๖ และเป็น
การดาเนินการในปี พ.ศ. ๒๕๖๔

๔๐

๓๘ การเสรมิ สรา้ งวฒั นธรรมองคก์ ร แสดงการ ๐

ดาเนินการหรือกิจกรรมที่แสดงถงึ การเสริมสรา้ ง ๐
วัฒนธรรมองค์กรให้บุคลากรในสถานศกึ ษามี
ทัศนคติ คา่ นิยมในการปฏบิ ตั ิงานอย่างซื่อสตั ย์ ๕๐
สจุ ริต อยา่ งชัดเจน และเปน็ การดาเนินการในปี
พ.ศ. ๒๕๖๔

๓๙ แผนปฏบิ ัตกิ ารป้องกนั การทุจรติ ประจาปี แสดง

แผนปฏบิ ตั ิการทีม่ วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พ่อื ป้องกนั การ
ทุจรติ หรอื พัฒนาดา้ นคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส
ของสถานศึกษา มขี ้อมลู รายละเอียดของแผนฯ
เชน่ โครงการ กิจกรรม งบประมาณ ชว่ งเวลา
ดาเนินการ เปน็ ตน้ และเปน็ แผนที่มรี ะยะเวลา
บังคบั ใช้ครอบคลุมปี พ.ศ. ๒๕๖๓

๔๐ รายงานการกากบั ตดิ ตามการดาเนนิ การปอ้ งกนั

การทจุ รติ ประจาปี รอบ ๖ เดือน แสดง
ความก้าวหนา้ ในการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบตั ิ
การป้องกันการทุจริต มขี อ้ มลู รายละเอยี ด
ความก้าวหน้า เชน่ ความกา้ วหนา้ การดาเนนิ การ
แต่ละโครงการ/กจิ กรรม รายละเอียด
งบประมาณทใ่ี ชด้ าเนนิ งาน เปน็ ตน้ และเปน็
ข้อมูลในระยะเวลา ๖ เดอื นแรก ในปี พ.ศ.
๒๕๖๔

๔๑ รายงานผลการดาเนินการปอ้ งกันการทุจริต

ประจาปี แสดงผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติ
การป้องกันการทจุ ริต มีขอ้ มลู รายละเอียด
สรุปผลการดาเนนิ การ เช่น ผลการดาเนินการ
โครงการหรือกจิ กรรม ผลการใชจ้ า่ ยงบประมาณ
ปญั หา อปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะ ผลสัมฤทธ์ติ าม
เป้าหมาย เป็นตน้ ใช้รายงานผลการดาเนนิ งาน
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓

๔๒ มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปรง่ ใส ๐ ๔๑

ภายในหนว่ ยงาน แสดงการวเิ คราะห์ผลการ ๔๔.๗๗

ประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการ

ดาเนนิ งานของสถานศึกษา ในปี งบประมาณ

พ.ศ. ๒๕๖๓ มขี อ้ มลู รายละเอียดการวิเคราะห์

เชน่ ประเดน็ ทเ่ี ป็นข้อบกพร่อง หรือจดุ อ่อนท่ี

จะตอ้ งแกไ้ ขโดยเรง่ ดว่ น ประเดน็ ท่ีจะตอ้ งพฒั นา

ให้ดขี ้นึ แนวทางการนาผลการวเิ คราะหไ์ ปสกู่ าร

ปฏิบัตขิ องสถานศึกษา เปน็ ตน้ มมี าตรการเพื่อ

ขับเคล่อื นการส่งเสริมคณุ ธรรมและความโปรง่ ใส

ภายในสถานศึกษาใหด้ ขี นึ้ ซ่งึ สอดคล้องตามผล

การวเิ คราะหฯ์ โดยมรี ายละเอยี ดตา่ ง ๆ เช่น การ

กาหนดผู้รบั ผิดชอบหรือผทู้ ่เี ก่ียวขอ้ งการกาหนด

ขัน้ ตอนหรอื วธิ ีการปฏบิ ัติ การกาหนดแนว

ทางการกากบั ตดิ ตาม ใหน้ าไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ และ

การรายงานผล เปน็ ต้น

๔๓ การดาเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรม ๐

และความโปรง่ ใสภายในหน่วยงาน แสดงผลการ

ดาเนินการตามมาตรการเพอื่ สง่ เสรมิ คณุ ธรรม

และความโปรง่ ใสภายในสถานศกึ ษา มขี ้อมลู

รายละเอยี ดการนามาตรการเพือ่ ส่งเสริม

คุณธรรมและความโปร่งใสภายในสถานศึกษาใน

ขอ้ ๔๒ ไปสกู่ ารปฏิบัติอย่างเป็นรปู ธรรม และ

เป็นการดาเนนิ การในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

รวมผลคะแนน OIT

๔๒

ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์

ผลการประเมนิ ในภาพรวมของโรงเรียนบ้านโปง่ น้ารอ้ นประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓

การประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน์ ในภาพรวมของโรงเรยี นได้

คะแนนรอ้ ยละเฉล่ีย ๘๑.๗๘ ซึง่ ถือวา่ มีคุณธรรมและความโปรง่ ใส ในการดาเนินงานอย่ใู นระดับ B

ตวั ชี้วดั ที่ ๑ การปฏบิ ัติหนา้ ที่ ในภาพรวมได้คะแนนรอ้ ยละเฉลีย่ ๙๕.๕๖

ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๒ การใชง้ บประมาณ ในภาพรวมได้คะแนนร้อยละเฉลย่ี ๙๘.๙๐

ตวั ชว้ี ดั ที่ ๓ การใชอ้ านาจ ในภาพรวมไดค้ ะแนนร้อยละเฉลย่ี ๑๐๐

ตวั ชว้ี ัดท่ี ๔ การใช้ทรัพย์สินของราชการ ในภาพรวมไดค้ ะแนนร้อยละเฉลย่ี ๙๙.๐๗

ตัวชว้ี ัดท่ี ๕ การแกไ้ ขปัญหาการทุจรติ ในภาพรวมไดค้ ะแนนร้อยละเฉลีย่ ๑๐๐

ตัวชี้วดั ท่ี ๖ คุณภาพการดาเนนิ งาน ในภาพรวมไดค้ ะแนนร้อยละเฉล่ีย ๑๐๐

ตัวช้วี ดั ที่ ๗ ประสิทธภิ าพการสือ่ สาร ในภาพรวมได้คะแนนร้อยละเฉลี่ย ๙๙.๗๘

ตัวช้วี ัดที่ ๘ การปรับปรงุ ระบบการทางาน ในภาพรวมไดค้ ะแนนรอ้ ยละเฉลี่ย ๙๙.๒๐

ตัวชี้วดั ที่ ๙ การเปดิ เผยข้อมลู ในภาพรวมได้คะแนนรอ้ ยละเฉลย่ี ๗๓.๘๓

ตัวชี้วัดท่ี ๑๐ การป้องกนั การทุจรติ ในภาพรวมไดค้ ะแนนรอ้ ยละเฉลีย่ ๓๗.๕๐

ลำดบั ตวั ชวี้ ัด คะแนนทไ่ี ด ้ เครอ่ื งมอื คะแนน คำ่ น้ำหนัก คะแนน
เครอ่ื งมอื หลงั ถว่ ง
น้ำหนัก

1 กำรปฏบิ ัตหิ นำ้ ที่ 95.56
2 กำรใชง้ บประมำณ
3 กำรใชอ้ ำนำจ 98.90
4 กำรใชท้ รัพยส์ นิ ของทำงรำชกำร
5 กำรแกไ้ ขปัญหำกำรทจุ รติ 100.00 IIT 98.71 30 29.61
6 คณุ ภำพกำรดำเนนิ งำน
7 ประสทิ ธภิ ำพกำรสอ่ื สำร 99.07
8 กำรปรับปรุงกำรทำงำน
9 กำรเปิดเผยขอ้ มลู 100.00
10 กำรป้ องกนั กำรทจุ รติ
100.00

99.78 EIT 99.66 30 29.90

99.20

73.83 OIT 55.67 40 22.27
37.50

คะแนนคณุ ธรรมและควำมโปร่งใสในกำรดำเนนิ งำนของหน่วยงำน 81.78

ระดบั ผลกำรประเมนิ (Rating Score) B

ผลการประเมินในภาพรวมของโรงเรยี นบา้ นโป่งน้ารอ้ นประจาปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

๔๓

การประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์ ในภาพรวมของโรงเรียนได้

คะแนนร้อยละเฉลีย่ ๗๑.๘๐ ซ่ึงถือว่ามีคุณธรรมและความโปรง่ ใส ในการดาเนินงานอยูใ่ นระดับ C

ตัวช้วี ัดที่ ๑ การปฏบิ ัตหิ น้าท่ี ในภาพรวมได้คะแนนรอ้ ยละเฉลี่ย ๙๘.๕๓

ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๒ การใชง้ บประมาณ ในภาพรวมไดค้ ะแนนร้อยละเฉล่ีย ๙๐.๗๖

ตัวชว้ี ัดท่ี ๓ การใชอ้ านาจ ในภาพรวมไดค้ ะแนนร้อยละเฉลี่ย ๑๐๐

ตัวช้วี ัดที่ ๔ การใชท้ รัพยส์ นิ ของราชการ ในภาพรวมไดค้ ะแนนร้อยละเฉลีย่ ๙๖.๓๓

ตัวชี้วดั ที่ ๕ การแกไ้ ขปญั หาการทุจรติ ในภาพรวมไดค้ ะแนนรอ้ ยละเฉลี่ย ๙๘.๑๘

ตัวชว้ี ดั ที่ ๖ คณุ ภาพการดาเนนิ งาน ในภาพรวมได้คะแนนรอ้ ยละเฉลี่ย ๙๙.๐๕

ตัวช้วี ดั ท่ี ๗ ประสิทธภิ าพการสอ่ื สาร ในภาพรวมไดค้ ะแนนรอ้ ยละเฉล่ยี ๙๕.๓๕

ตวั ช้วี ดั ที่ ๘ การปรับปรุงระบบการทางาน ในภาพรวมไดค้ ะแนนรอ้ ยละเฉลี่ย ๘๙.๓๔

ตัวชว้ี ัดท่ี ๙ การเปดิ เผยขอ้ มูล ในภาพรวมไดค้ ะแนนร้อยละเฉลี่ย ๕๖.๓๘

๙.๑ ขอ้ มูลพน้ื ฐาน ๘๘.๘๙

๙.๒ การบรหิ ารงาน ๗๕.๐๐

๙.๓ การบรหิ ารเงนิ งบประมาณ ๓๙.๒๙

๙.๔ การบรหิ ารและพัฒนาทรพั ยากรบคุ คล ๑๘.๗๕

๙.๕การสง่ เสรมิ ความโปรง่ ใส ๖๐.๐๐

ตวั ชว้ี ดั ท่ี ๑๐ การปอ้ งกนั การทุจรติ ในภาพรวมไดค้ ะแนนรอ้ ยละเฉลีย่ ๓๗.๕๐

๑๐.๑ การดาเนนิ การเพอ่ื ป้องกันการทจุ รติ ๓๑.๒๕

๑๐.๒ มาตรการภายในเพ่ือป้องกนั การทจุ ริต ๐.๐๐

ลำดบั ตวั ชวี้ ัด คะแนนทไี่ ด ้ เครอื่ งมอื คะแนน คำ่ น้ำหนัก คะแนน
เครอ่ื งมอื หลงั ถ่วง
น้ำหนัก
1 กำรปฏบิ ตั หิ นำ้ ท่ี 98.53 29.03

2 กำรใชง้ บประมำณ 90.76 28.37

3 กำรใชอ้ ำนำจ 100.00 IIT 96.76 30 14.40

4 กำรใชท้ รัพยส์ นิ ของทำงรำชกำร 96.33 71.80

5 กำรแกไ้ ขปัญหำกำรทจุ รติ 98.17

6 คณุ ภำพกำรดำเนนิ งำน 99.05

7 ประสทิ ธภิ ำพกำรสอื่ สำร 95.35 EIT 94.58 30

8 กำรปรับปรุงกำรทำงำน 89.34

9 กำรเปิดเผยขอ้ มลู 56.38

9.1 ขอ้ มลู พนื้ ฐำน 88.89

9.2 กำรบรหิ ำรงำน 75.00

9.3 กำรบรหิ ำรเงนิ งบประมำณ 39.29

9.4 กำรบรหิ ำรและพัฒนำทรัพยำกรบคุ คล 18.75 OIT 36.00 40

9.5 กำรสง่ เสรมิ ควำมโปรง่ ใส 60.00

10 กำรป้องกันกำรทจุ รติ 15.63

10.1 กำรดำเนนิ กำรเพอื่ ป้องกันกำรทจุ รติ 31.25

10.2 มตำตารรกาำงรภแำสยดในงเพผอ่ื ลปก้องากรันปกรำระทเคมจุ ะรนิแติ นคนุณคณุ ธธรรรรมมแแลละ0ะค.0วคำ0วมาโมปรโง่ ปใสรใ่งนใกสำใรนดำกเนานิรงดำานเขนอนิงหงนา่วนยงำน

ระดบั ผลกำรประเมนิ (Rating Score) C

๔๔

ของสถานศกึ ษาออนไลน์ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓

โรงเรียนบา้ นโปง่ นา้ รอ้ น สพป.กาแพงเพชรเขต ๒

แหล่งขอ้ มูล ค่าน้าหนกั คะแนน คะแนนท่ไี ด้ คิดเป็นรอ้ ยละ
IIT
EIT ๓๐ ๙๘.๗๑ ๒๙.๖๑
OIT
๓๐ ๙๙.๖๖ ๒๙.๙๐

๔๐ ๕๕.๖๗ ๒๒.๒๗

ตารางแสดง ผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งาน

ของสถานศกึ ษาออนไลน์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

โรงเรยี นบ้านโปง่ นา้ ร้อน สพป.กาแพงเพชรเขต ๒

แหล่งข้อมลู คา่ นา้ หนักคะแนน คะแนนที่ได้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ

IIT ๓๐ ๙๖.๗๖ ๒๙.๐๓

EIT ๓๐ ๙๔.๕๘ ๒๘.๓๗

OIT ๔๐ ๓๖.๐๐ ๑๔.๔๐

แผนภูมิแสดง ผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของสถานศกึ ษา
ออนไลน์ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ และ ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ในภาพรวมของโรงเรียนบ้านโปง่ น้าร้อน
(วเิ คราะห์ตามค่าน้าหนักคะแนนของแต่ละแหลง่ ข้อมลู )

๔๕

แผนภมู เิ ปรยี บเทยี บผลการประเมินคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสประจาปงี บประมาณ
2563 และ 2564

35

30 29.61 29.03 29.9
28.37

25
22.27

20

15 14.4

10

5

0 IIT EIT OIT
29.61 29.9 22.27
2563 29.03 28.37 14.4
2564
2563 2564

ปัญหาและอุปสรรคการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งาน
ของสถานศกึ ษาออนไลน์

ดา้ นบคุ ลากร
๑) ความเขา้ ใจในกระบวนการประเมิน ITA Online ยงั เขา้ ใจไม่ถูกตอ้ ง

๔๖

๒) มีการเปลี่ยนแปลงบคุ ลากรผู้รบั ผดิ ชอบหลักในการประเมนิ คณุ ธรรมและ ความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของ
สถานศึกษาทาใหไ้ ม่มคี วามพรอ้ มในการรบั การประเมิน ITA Online
๓) บุคลากรผู้รบั ผดิ ชอบโครงการขาดความรคู้ วามสามารถในด้านการดาเนนิ การระบบการจัดสง่ ข้อมลู ให้
สถานศกึ ษาทาใหเ้ กดิ ความลา่ ช้าในการดาเนินงาน
ดา้ นเทคนิค
๑) ความยุง่ ยากในขั้นตอนการตอบแบบ IIT และแบบ EIT ในบางพื้นที่
๒) ผปู้ ฏิบัติบางสว่ นไม่เขา้ ใจวิธีการเปิดเผยขอ้ มูลบนเวป็ ไซด์
ข้อเสนอแนะการประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์
ดา้ นบคุ ลากร
๑) แจ้งกระบวนการวธิ ีการดาเนนิ งาน และสร้างความตระหนกั ใหแ้ ก่บุคากรในสถานศกึ ษาในการขับเคลือ่ น
กระบวนงาน การตดิ ตามงาน
๒) มีการเปลย่ี นแปลงผู้รบั ผดิ ชอบควรให้ผทู้ ร่ี ับผดิ ชอบคนเดิมไดอ้ ธบิ ายกระบวนการขั้นตอนในการประเมิน ITA
Online ใหผ้ ูร้ ับผิดชอบใหม่ หรือประสานทป่ี รกึ ษาเก่ียวกับกระบวนการและขน้ั ตอนการประเมิน
๓) มีการอบรมสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั ิ รวมท้งั ตอ้ งอบรมพฒั นาสมรรถนะให้แก่ผู้รบั ผิดชอบโครงการ ทั้งด้านการประเมนิ
และการจัดทารายงาน
ด้านเทคนคิ
๑) มีการทบทวนวธิ ีการใชง้ านระบบ ITA Online
๒) อบรมพฒั นาใหป้ ฏบิ ตั ิหนา้ ที่ เพิม่ เตมิ เพื่อช่วยเหลือแนะนาแก่คณะครูและบคุ ลากรของโรงเรยี น และทาใหก้ าร
ทางานเปน็ ไปทิศทางเดียวกัน

บทสรปุ ผ้บู รหิ าร
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของโรงเรียนบ้านโปง่ นา้ รอ้ น

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

การประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของโรงเรียนบ้านโป่งนา้ รอ้ น (Integrity and Transparency
Assessment Online: ITA Online) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ มีวตั ถุประสงคเ์ พือ่ ประเมนิ ผลดา้ นคุณธรรมและความ

๔๗

โปร่งใสในการดาเนนิ งานของสถานศึกษา เพื่อให้ได้ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุงหรือพฒั นาคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการ
ดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาและนาข้อเสนอแนะไปจดั ทามาตรการในการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจริต ท้งั ในระดับนโยบายและ
ในระดับปฏิบัติ พร้อมท้งั นาผลการประเมนิ ไปปรบั ปรุงและพฒั นากระบวนการปฏบิ ัตงิ าน โดยกลุ่มตัวอย่างท่ใี ชใ้ นการประเมิน
ไดแ้ ก่ บุคลากร ในสถานศกึ ษา ท่ที างานให้กบั สถานศกึ ษามาเป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๑ ปี และกลุม่ ผูร้ ับบริการหรือผู้มสี ่วนได้
ส่วนเสียของสถานศึกษาจานวนไม่นอ้ ยกวา่ ๒๐ คน โดยมกี รอบการประเมนิ ๑๐ ตัวช้วี ดั ไดแ้ ก่ ๑) การปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ ๒) การใช้
งบประมาณ ๓) การใช้อานาจ ๔) การใชท้ รัพยส์ ินของราชการ ๕) การแก้ไขปัญหาการทจุ รติ ๖) คุณภาพการดาเนินงาน ๗)
ประสทิ ธภิ าพการสื่อสาร ๘) การปรับปรุงระบบการทางาน ๙) การเปดิ เผยข้อมลู และ ๑๐) การป้องกนั การทุจรติ
ผลการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของสถานศกึ ษาออนไลน์ สรุปผลไดด้ ังนี้
๑. ผลการประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา

๑.๑ ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของโรงเรยี นบา้ นโปง่ นา้ ร้อน โดยภาพรวมระดบั
สถานศกึ ษา ได้คะแนนรอ้ ยละเฉลี่ย ๗๑.๘๐ ซ่งึ ถือวา่ มีคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดาเนนิ งานอยใู่ นระดับ C

๑.๒ การประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนนิ งานของโรงเรยี นบ้านโป่งน้าร้อนเปน็ รายตวั ชว้ี ดั ซึ่งได้จากการ
สารวจความคิดเห็นของบุคลากรในสถานศึกษา ผูร้ บั บรกิ ารหรือผ้มู สี ่วนไดส้ ่วนเสยี ของสถานศึกษา และจากเอกสารหลกั ฐานการ
เปดิ เผยขอ้ มูลของสถานศึกษา ดงั น้ี

ตัวชว้ี ดั ท่ี ๑ การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ี ในภาพรวมได้คะแนนร้อยละเฉลีย่ ๙๘.๕๓
ตวั ชี้วดั ท่ี ๒ การใช้งบประมาณ ในภาพรวมไดค้ ะแนนรอ้ ยละเฉล่ยี ๙๐.๗๖
ตัวชว้ี ัดที่ ๓ การใช้อานาจ ในภาพรวมได้คะแนนร้อยละเฉลี่ย ๑๐๐.๐๐
ตัวชีว้ ดั ที่ ๔ การใช้ทรพั ยส์ นิ ของราชการ ในภาพรวมไดค้ ะแนนร้อยละเฉลี่ย ๙๖.๓๓
ตัวช้ีวัดท่ี ๕ การแกไ้ ขปญั หาการทุจริต ในภาพรวมไดค้ ะแนนรอ้ ยละเฉลยี่ ๙๘.๗๑
ตวั ชว้ี ัดท่ี ๖ คณุ ภาพการดาเนินงาน ในภาพรวมได้คะแนนร้อยละเฉลย่ี ๙๙.๐๕
ตัวชี้วัดท่ี ๗ ประสิทธิภาพการสอ่ื สาร ในภาพรวมไดค้ ะแนนรอ้ ยละเฉลย่ี ๙๕.๓๕
ตัวช้วี ดั ที่ ๘ การปรับปรงุ ระบบการทางาน ในภาพรวมไดค้ ะแนนรอ้ ยละเฉล่ีย ๘๙.๓๔
ตวั ชว้ี ดั ที่ ๙ การเปดิ เผยขอ้ มูล ในภาพรวมไดค้ ะแนนร้อยละเฉล่ีย ๕๖.๓๘
ตวั ชว้ี ดั ที่ ๑๐ การป้องกนั การทจุ รติ ในภาพรวมไดค้ ะแนนร้อยละเฉลยี่ ๑๕.๖๓
๒. ปัญหาและอปุ สรรคการประเมินคุณธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของโรงเรยี น
๒.๑ ด้านบคุ ลากร

๑) ความเข้าใจในกระบวนการประเมนิ ITA Online ของสถานศึกษาบางแห่ง ยงั เขา้ ใจไมถ่ กู ต้อง
๒) โรงเรียนมีการเปลีย่ นแปลงบคุ ลากรผ้รู บั ผิดชอบหลกั ในการประเมนิ คณุ ธรรมและ ความโปรง่ ใสในการ
ดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาทาให้ไม่มคี วามพรอ้ มในการรบั การประเมิน ITA Online
๒.๒ ด้านเทคนิค
๑) ความยงุ่ ยากในขน้ั ตอนการตอบแบบ IIT และแบบ EIT
๒) ไม่เข้าใจวิธีการเปิดเผยขอ้ มูลบนเว็ปไซด์
๓. ข้อเสนอแนะการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรง่ ใสในการดาเนินงานของโรงเรียน
๓.๑ ด้านบคุ ลากร


Click to View FlipBook Version