The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การประเมินครู กศน.ตำบลผาปัง ครั้งที่ 1.2564 สมบูรณ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 17film_nanicha1996, 2021-09-19 12:19:13

การประเมินครู กศน.ตำบลผาปัง ครั้งที่ 1.2564 สมบูรณ์

การประเมินครู กศน.ตำบลผาปัง ครั้งที่ 1.2564 สมบูรณ์

วิธกี ารปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน็ เลศิ

(BEST PRACTICES)

ฐานการเรยี นรไู้ ผม่ หศั จรรย์

จดั ทาโดย
นางสาวนนิชา ทาวลิ ูน ครู กศน.ตาบล
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอแม่พริก
สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวัด

ลาปาง

คานา

Best Practice เรื่อง “ฐานการเรียนรู้ไผ่มหัศจรรย์” เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ประจาปีการศกึ ษา 2564 พัฒนาผ้เู รยี นให้รู้จักกระบวนการคิด วิเคราะห์เต็มศักยภาพ

และมีความร้คู ู่คณุ ธรรม และสามารถสร้างประโยชน์

ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า Best เร่ือง “ฐานการเรียนรู้ไผ่มหัศจรรย์” จะเป็นประโยชน์ในการนาไป

ประยกุ ต์ใช้ในการจดั การเรยี นรเู้ พ่อื พฒั นาผูเ้ รียน และผู้ทีเ่ กีย่ วข้องตอ่ ไป

นางสาวนนชิ า ทาวลิ ูน
ครู กศน.ตาบล

สารบัญ หนา้

เรอ่ื ง 1
1
คานา 2
สารบัญ 2
3
จดุ เดน่ 4
ที่มาและความสาคัญของผลงาน 6
วัตถุประสงค์ 6
ปจั จัยปอู น 7
วิธีการดาเนินการ 8
วธิ ีปฏิบัติงาน 8
ผลลพั ธ์ 9
ผลผลติ
เง่ือนไข/ตัวชี้วัดตอ่ ความสาเรจ็
ปญั หา อปุ สรรค หรือข้อจากดั ทีเ่ กิดข้ึนในการปฏิบัติงานและแนวทางการแก้ปัญหา
ข้อเสนอแนะวิธีปฏิบัติงานที่จะทาใหด้ ียิ่งขึ้น
ภาคผนวก

ฐานการเรยี นรู้ไผม่ หัศจรรย์

1. จุดเด่น/ความสาเร็จท่ปี รากฏของโครงการ

โ ค ร ง ก าร ฯ น้ีได้ ดา เนิ นก าร ต ร ง กับ บ ริ บ ทพ้ื นที่ ขอ ง ต าบล ผ า ปัง ที่มี ทรัพ ยา กร ใน ชุมช น คือ ต้ นไ ผ่
เป็นจานวนมากและตรงความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายประชาชนในพนื้ ทตี่ าบลผาปงั ท่ตี ้องการเรยี นรู้เทคนิควิธีการเผา
ถ่านจากไม้ไผ่ให้ได้ถ่านไผ่ท่ีมีคุณภาพสามารถนาไปใช้ในการบาบัดน้าเสีย การดับกลิ่น ถ่านปุ๋ยไบโอชาร์ จึงได้จัด
กระบวนการเรียนรู้ การอบถ่านไผ่คุณภาพ ท่ีสามารถนาความรู้และทักษะจากกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการอบถ่านไผ่
คุณภาพ ไปปรับใช้ในการดาเนนิ ชีวติ ประจาวัน รวมถึงกลุ่มเป้าหมาย มีความใฝ่เรียนรู้ มีความสามัคคี มีความเสียสละ
ในการให้ความร่วมมอื ในการเข้าร่วมทุกๆกจิ กรรมเปน็ อย่างดี ทาให้ทุกกจิ กรรมบรรลุตามวัตถุประสงค์ และในส่วนของ
การดาเนินงานในการจดั กิจกรรมต่างๆ ได้รับความร่วมมือจากภาคเี ครือข่ายภายในตาบลทุกภาคส่วนเป็นอย่างดี ตั้งแต่
การวิเคราะห์สภาพปัญหาความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย การวางแผน การจัดกิจกรรม ตลอดจนการประเมินผล
กิจกรรม จงึ ทาใหส้ ามารถพฒั นากลุ่มเปา้ หมายไดบ้ รรลตุ ามตวั ชว้ี ดั ความสาเรจ็ ของโครงการฯ

2. ท่มี าและความสาคัญของผลงาน

“เศรษฐกิจพอเพยี ง” เปน็ แนวพระราชดาริในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เป็นแนวคิดท่ีตั้งอยู่บนรากฐาน

ของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาที่ต้ังบนพ้ืนฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาทคานึงถึงความ
พอประมาณ ความมีเหตผุ ล การสร้างภูมิคมุ้ กันในตัวเอง ตลอดจนใชค้ วามร้แู ละคณุ ธรรม เป็นพืน้ ฐานในการดารงชวี ิต ท่ี

สาคัญจะตอ้ งมี “สติ ปัญญา และความเพียร” ซึง่ จะนาไปสู่ “ความสุข” ในการดาเนินชีวติ อยา่ งแทจ้ รงิ

เนอ่ื งจากสภาพพ้ืนที่ชุมชนตาบลผาปังนั้น ประชาชนส่วนใหญ่มีการปลูกไผ่เป็นจานวนมาก ซึ่ง ไผ่ เป็นไม้ที่
เจรญิ เติบโตง่าย ให้ประโยชน์ไดท้ ุกสว่ นตัง้ แต่ หน่อ ลาต้น ใบ ราก เย่ือไผ่ ขุยไผ่ และสามารถนามาแปรรูปเป็นภาชนะ
ไผถ่ ่านพลังงาน ไผ่ถ่านป๋ยุ ไบโอชา ไผถ่ า่ นอุตสาหกรรม ไผ่ถ่านเวชสาอาง ไผถ่ า่ นยารกั ษาโรค ไผ่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เปน็ ทรัพยากรท่สี ามารถทดแทนได้อย่างย่ังยืน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่พริก ได้
ตระหนกั และเหน็ ถึงความจาเป็นในการสง่ เสริม สนับสนุนใหน้ ักศึกษาและประชาชนในชุมชนได้ฝึกทักษะในด้านการทา
ถา่ นไผ่คณุ ภาพ โดยนอ้ มรับเอาแนวพระราชดาริของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร มาประยุกต์ใช้ในการฝึกทักษะการใช้ชีวิตแบบพอเพียง จึงได้มอบหมายให้ กศน.ตาบลผาปัง ได้
ประสานงานกับภาคีเครือข่ายและกลุ่มเปูาหมาย จัดกระบวนการเรียนรู้การอบถ่านไผ่คุณภาพ เป็นฐานการเรียนรู้ไผ่
มหัศจรรย์ ปลูกฝังแนวคิดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วย เง่ือนไขความรู้ คู่คุณธรรม เกิดความ
พอประมาณ การมีเหตุผล การมีภูมิคุ้มกันท่ีดี ส่งผลต่อมิติทั้ง ๔ ได้แก่ มิติด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม
โดยผเู้ รียนสามารถถอดบทเรยี นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงกบั กจิ กรรมฐานการเรียนรไู้ ผ่มหศั จรรยไ์ ด้ จะเป็นการ
พัฒนาผู้เรียนท่ีย่ังยืนและเป็นการวางรากฐานอนั มนั่ คงอยา่ งแทจ้ รงิ ใหก้ บั ชมุ ชน ทอ้ งถน่ิ และประเทศชาติต่อไป

ลักษณะกิจกรรมฐานการเรียนรู้ไผ่มหัศจรรย์ เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจ
พอเพียงท่ีมุง่ ปลูกฝังเจตคติในการดาเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับนักศึกษา กศน.ตาบลผาปัง
โดย กิจกรรมหลักได้บูรณาการกับรายวิชาของการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษา และการจัดการศึกษาต่อเน่ืองการ
จัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการอบรมเรียนรู้การอบถ่านและการทาดินพร้อมปลูกไบ
โอชาร์ ซ่งึ การปฏบิ ตั ิกิจกรรมน้ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติเป็นประจาและต่อเน่ืองเพ่ือปลูกฝังจนเกิดเป็นนิสัยตาม
คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงคข์ องสถานศกึ ษา อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง

3. วตั ถุประสงค์

1. เพื่อให้ผเู้ รียนทกั ษะวิธีการอบถ่านไบโอชาร์ และการทาดินพร้อมปลกู ไบโอชาร์
2. เพื่อให้ผ้เู รยี นฝึกทกั ษะการปฏิบัตกิ ารอบถา่ นไบโอชาร์และการทาดินพร้อมปลกู ไบโอชาร์
3. เพอื่ ปลูกฝังให้ผเู้ รียนมนี สิ ยั อยู่อยา่ งพอเพียง ปฏบิ ัติตนและนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้
ในชีวิตประจาวันได้

4 ปจั จยั ป้อน
4.1 คณะดาเนนิ งาน
1. คณะครู กศน.อาเภอแมพ่ ริก
2. มูลนิธิพฒั นาชมุ ชนตาบลผาปงั
3. นักศึกษา กศน.ตาบลแม่พริก
4. ผนู้ าชมุ ชน/ปราชญ/์ ภมู ิปัญญา ตาบลผาปัง

4.2 งบประมาณ
งบประมาณจาก ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอแม่พริก ใน

การจัดกิจกรรม โครงการการจัดการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4.3 สื่อ วสั ดุ อุปกรณ์
ส่อื

- แผนบูรณาการฐานการเรียนรู้ไผ่มหัศจรรย์ การนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมา ใชใ้ นการ
จัดการเรียนรู้ (2 เงอ่ื นไข 3 หลักการ สมดลุ 4 มิติ)

- ใบความรเู้ ร่ืองไผม่ หศั จรรย์

- แบบฝกึ หดั (แผนบรู ณาการ)

วัสดุ อุปกรณ์

- ขลุยไมไ้ ผ่

- ถงั อบถ่าน

- ดนิ

- จอบ
- ถุงพร้อมปลกู สขี าว

5. การดาเนนิ การจัดกิจกรรมตามเดมม่ิง PDCA ดังนี้

ดา้ นการวางแผน (P)

ครู กศน.ตาบลผาปงั และศูนยก์ ิจการเพ่ือสงั คมตาบลผาปัง รว่ มปรึกษาหารือเก่ียวกับแนวทางการดาเนินงาน
การจดั กจิ กรรมให้ครอบคลุมกบั ความต้องการของกลมุ่ เป้าหมาย และได้มีการกาหนดแผนการจัดกิจกรรมการอบรมให้
ความรู้ ดาเนนิ การเขยี นโครงการและหลักสูตรเสนออนุมตั จิ ากผ้บู ริหาร และดาเนินการจดั หาวสั ดอุ ปุ กรณ์ทีใ่ ช้ในการอบ
ถ่านไผ่คุณภาพ

ด้านการดาเนนิ งาน (D)

1. คณะผจู้ ดั ทาได้มีการประสานงานกบั กลมุ่ เปาู หมาย โดยแจ้งกาหนดการการจัดกจิ กรรมต่างๆ

2. ครู กศน.ตาบลผาปัง และหัวหน้าศูนยก์ ิจการเพ่อื สังคมตาบลผาปงั ไดร้ ่วมกนั จัดกิจกรรมตามแผนงานที่ได้

กาหนด ในด้านต่าง ๆ ดงั นี้

2.1 โครงการอบรมเรยี นร้กู ารอบถา่ นและการทาดนิ พรอ้ มปลกู ไบโอชาร์ (ประชาชนทัว่ ไป)
- การอบถา่ นไบโอชาร์

- การผสมดินพรอ้ มปลกู ไบโอชาร์

- ถอดองค์ความรู้

- ประเมนิ ความพึงพอใจ

ดา้ นการตรวจสอบและประเมินผล(C)

คณะผ้จู ัดกจิ กรรมไดร้ ่วมตดิ ตามประเมินผล หลังการจัดกจิ กรรม

1. การตดิ ตาม สงั เกต สอบถาม พฤติกรรมกล่มุ เปาู หมาย
2. แบบประเมนิ ผลการจัดการศึกษาตอ่ เนื่อง
3. แบบตดิ ตามผเู้ รียนหลงั จบหลกั สูตรการศึกษาต่อเนื่อง
4. แบบฝกึ หัด (แผนบูรณาการ)

ด้านการปรับปรงุ และพัฒนาผลการปฏิบัติงาน(A)
1. การขยายกลุ่มเปาู หมายให้ครอบคลมุ ทุกหมบู่ า้ นในตาบลผาปงั
2. การนาความรู้เรื่องวธิ ีการอบถ่านไบโอชาร์ และการทาดินพร้อมปลกู ไบโอชาร์ สอดแทรกบูรณา

การในเน้อื หาการเรียนการสอนในทกุ รายวิชาของนกั ศึกษาทง้ั 3 ระดับ

6. วธิ ีปฏบิ ตั ิงาน

ข้ันตอนท่ี ๑ รับนโยบาย
นางจนั ทนี อินนนั ชัย ผ้อู านวยการ กศน.อาเภอแมพ่ ริก นาคณะครู กศน.อาเภอแม่พริก จัดการอบรมพัฒนา

บคุ ลากรดา้ น การนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่สถานศึกษาและเตรียมขอรับการประเมินเป็นศูนย์การเรียนรู้
ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา

ข้ันตอนที่ ๒ ข้นั ดาเนินการ

1. การดาเนินงานแบบมีส่วนร่วม กศน.ตาบลผาปัง ได้ประสานศูนย์กิจการเพ่ือสังคมตาบลผาปัง เพ่ือรับ
สมัครผูท้ ่ีสนใจเข้ารว่ มโครงการ จานวน 15 คน

2. การจดั กิจกรรม และจดั ทาโครงการและหลักสตู รเสนอแก่หนว่ ยงาน

กศน.ตาบลผาปังไดด้ าเนินการเสนอ แก่ผูบ้ รหิ าร เพ่ืออนมุ ัตกิ ารจัด โครงการอบรมเรียนรู้การอบถ่านและการ

ทาดนิ พร้อมปลูกไบโอชาร์ จานวน 6 ชั่วโมง

3. ขั้นการอบรมใหค้ วามรสู้ ู้การปฏิบัติ

3.1 กศน.ตาบลผาปัง ดาเนินการจัดโครงการอบรมเรยี นรกู้ ารอบถา่ นและการทาดินพรอ้ มปลกู ไบ
โอชาร์ จานวน 6 ชั่วโมง ในวันที่ 23 เดอื น มถิ ุนายน พ.ศ. 2564 กล่มุ เปูาหมายประชาชนทั่วไป จานวน
17 คน วิทยากรโดยหวั หน้าศนู ยก์ ิจการเพ่อื สงั คมตาบลผาปงั บรรยายใหค้ วามรู้

เรื่อง 1 การใช้ประโยชน์จากไผ่ในชมุ ชน
เร่ือง 2 อธบิ ายวัสดุ อุปกรณท์ ี่ใช้

เรอ่ื ง 3 การอบถ่านไบโอชาร์ (ขั้นปฏบิ ตั ิ)
เรอ่ื ง 4 การผสมดินพรอ้ มปลกู ไบโอชาร์ (ขนั้ ปฏิบตั ิ)
4. ผ้เู รียนถอดบทเรยี น หลงั จากทผี่ ูเ้ รียนได้ทากจิ กรรมการอบถ่านและการทาดนิ พร้อมปลกู ไบโอชาร์ โดยใช้

แบบถอดบทเรยี นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เง่ือนไข สมดุล 4 มิติ

5. คณะผู้จดั กจิ กรรมไดร้ ว่ มตดิ ตามประเมนิ ผล หลังการจัดกจิ กรรม
1. การตดิ ตาม สงั เกต สอบถาม พฤติกรรมกลมุ่ เปูาหมาย
2. แบบประเมินผลการจดั การศกึ ษาตอ่ เนื่อง
3. แบบติดตามผเู้ รียนหลังจบหลักสตู รการศึกษาตอ่ เนอื่ ง

7. ผลลัพธ์

ผลจากการดาเนินกิจกรรม พบว่ากล่มุ เป้าหมาย มคี วามรู้วิธกี ารอบถ่านไบโอชาร์ และการทาดินพรอ้ มปลกู ไบ
โอชาร์ ปฏบิ ตั ติ นและนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรับใช้ในชีวติ ประจาวนั ได้ นอกจากนก้ี ลมุ่ เปา้ หมายยัง
สามารถเผยแพรค่ วามรูแ้ กค่ นชุมชนได้

8. ผลผลิต
ผลจากการดาเนินกิจกรรม พบว่ากลุ่มเป้าหมายมากกว่าร้อยละ 90 มีความรู้ ทักษะอบถ่านไบโอชาร์ และ

การทาดินพรอ้ มปลูกไบโอชาร์ ผเู้ รียนมีนิสยั อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ปฏิบัตติ นและนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ
มีความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการอบรมเรยี นร้กู ารอบถ่านและการทา
ดินพรอ้ มปลกู ไบโอชาร์

ตัวอยา่ ง แบบประเมินผลการจดั การศึกษาต่อเน่อื ง (
แบบ กศ.ตน.7(1) ) ในรปู เลม่ รายงาน

ตัวอยา่ ง ทะเบียนผู้จบหลกั สตู รการศึกษาตอ่ เนอื่ ง ( แบบ
กศ.ตน.9 ) ในรูปเลม่ รายงาน

สรุปแบบประเมนิ ความพงึ พอใจ

9. เง่อื นไข/ปจั จัยทสี่ ่งผลต่อความสาเรจ็
9.1 ผู้บริหารสถานศึกษา การสนับสนุนเป็นอย่างดีนอกจากน้ีผู้บริหารนาความรู้ความเข้าใจในหลัก ปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี งมาปฏิบตั แิ ละนาไปใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษาและเป็นตวั อย่างท่ีดใี หก้ ับ คณะครูและบุคลากร
ภายในสถานศกึ ษา

9.2 ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาไดน้ าความรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการออกแบบและจัด

กจิ กรรมการเรียนรู้ตามรายวิชาทน่ี กั ศกึ ษาลงทะเบียนทุกระดับชนั้ และพฒั นาการจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพจนสามารถพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และ
แผนการจัดการเรยี นรูต้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้จนเห็นผล ผเู้ รยี นสามารถถอด
บทเรยี นจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้

9.3 การมีส่วนรว่ มในการดาเนินงานของสถานศึกษา ผู้บริหาร ครู ชุมชน และเครือข่ายตาบลผาปัง ในการ

วิเคราะห์สภาพปัญหาความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย ทาให้รู้สภาพปัญหา และความต้องการพัฒนาไปสู่เปูาหมายที่
ต้องการได้

9.4 โครงการฯ น้ีได้ดาเนินการตามแนวทางวงจรคุณภาพของเดมม่ิง ซึ่งเป็นการดาเนินการอย่างเป็นระบบ สามารถ

ตรวจสอบได้ โดนเร่ิมตั้งแต่การสารวจสภาพปัญหาความต้องการของกลุ่มเปูาหมาย โดยมีการวางแผนและการ
ดาเนินงาน ระหว่าง กศน.ตาบลผาปัง ศูนย์กิจการเพื่อสังคมตาบลผาปัง และกลุ่มเปูาหมาย ตลอดจนการติดตาม
ประเมนิ ผลทุกขั้นตอน จึงทาใหส้ ามารถพฒั นากลุ่มเปาู หมายไดบ้ รรลุตามตัวช้วี ดั ความสาเรจ็ ของโครงการ

9.5 กล่มุ เปาู หมายประชาชนตาบลผาปัง มีความเข็มแขง็ มีความสามคั คี มีความเสยี สละ ในการให้ความร่วมมือในการ

เขา้ รว่ มทุกๆกจิ กรรมเปน็ อย่างดี

10.ปัญหา อุปสรรค หรอื ข้อจากัดทีเ่ กดิ ข้นึ ในการปฏิบัติงานและแนวทางแกไ้ ขใหป้ ระสบความสาเรจ็

ปัญหาอปุ สรรค จากการดาเนนิ การอบถ่านและการทาดนิ พร้อมปลูกไบโอชาร์ พบว่า เนื่องจากระยะเวลาของหลักสูตร

6 ช่ัวโมง แต่เวลาในการอบถา่ นไบโอชารใ์ ช้เวลาประมาณ 2-3 ชั่วโมง และในวันถัดไปถึงจะสามารถเปิดเตาได้ ทาให้

ผู้เรียนไม่ได้ดูถ่านท่ีได้ร่วมกันปฏิบัติการอบและในการทาดินพร้อมปลูกไบโอชาร์จาเป็นต้องใช้ถ่านไบโอชาร์ จึงได้
แก้ปญั หาโดยการใชถ้ ่านไบโอชารท์ ี่อบเสรจ็ แลว้ มาใชแ้ ทน

11.ขอ้ เสนอแนะวธิ ปี ฏิบัติงานท่ีจะทาใหด้ ยี ง่ิ ข้นึ

การดาเนนิ การปลกู ฝัง การดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้เกิดผลอย่างจริงจังเป็น
รูปธรรมไดน้ ้ันควรไดร้ บั ความสนใจและร่วมมอื จากทกุ ภาคส่วน ครอบครวั

ภาคผนวก

ภาพกจิ กรรม

วันท่ี 23 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 นางจนั ทนี อนิ นนั ชยั ผอ.กศน.อาเภอแม่พริก

มอบหมายให้ นางสาวนนิชา ทาวลิ นู ครู กศน.ตาบลผาปัง จดั โครงการอบรมเรยี นรู้การอบถ่านและการทาดนิ

พร้อมปลูกไบโอชาร์ จานวน 5 ชม.

โดยมนี ายรงั สฤษฏ์ คณุ ชัยมงั เปน็ วทิ ยากรใหค้ วามรู้
ณ กศน.ตาบลผาปัง หมู่ 3 ตาบลผาปงั อาเภอแม่พรกิ จังหวัดลาปาง

…………………………………………………………………………………………………….



ผู้เรยี นได้เรยี นรู้หลักคดิ และฝกึ ปฏิบตั ิ 2 เงือ่ นไข 3 หลกั การ 4 มิติ ดงั นี้
วิชา/หวั ข้อ......................................................................................

ความรทู้ ่ไี ดเ้ รียนรู้ คุณธรรม
.................................................. ................................................
.................................................. ................................................
.................................................. ................................................
.................................................. ................................................
.................................................. ................................................

............................... .......................................

พอประมาณ มเี หตผุ ล มภี ูมิคุ้มกันในตวั ที่ดี

......................................... ......................................... .........................................
......................................... ......................................... .........................................
......................................... ......................................... .........................................
......................................... ......................................... .........................................
......................................... ......................................... .........................................
......................................... ......................................... .........................................
......................................... ......................................... .........................................
สงั คม ... สงั คม
... ...
วัตถุ/เศรษฐกิจ สิง่ แวดลอ้ ม

.................................. .................................. .................................. ..................................

.................................. .................................. .................................. ..................................

.................................. .................................. .................................. ..................................

.................................. .................................. .................................. ..................................

.................................. .................................. .................................. ..................................

.................................. .................................. .................................. ..................................

.................................. .................................. .................................. ..................................

.................................. .................................. .................................. ..................................

.................. ชื่อ..........................................................................................................ช. ้ัน.........................................................

วิชา.......................................................................................................................

1. ชอ่ื โครงการ : โครงการอบรมเรียนรู้การอบถา่ นและการทาดินพร้อมปลูกไบโอชาร์

2. สอดคลอ้ งกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
มาตรฐานการศกึ ษาตอ่ เนือ่ ง
มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รียนการศึกษาตอ่ เน่อื ง

1.1 ผ้เู รยี นการศึกษาตอ่ เนือ่ งมคี วามรู้ ความสามารถ และ หรอื ทักษะ และ หรือคุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การ
จบหลกั สตู ร

1.2 ผูจ้ บหลกั สูตรการศึกษาตอ่ เนอื่ งสามารถนาความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยกุ ต์ใช้ บนฐานค่านิยมร่วมของสงั คม
1.3 ผู้จบหลักสตู รการศึกษาตอ่ เน่อื งทีน่ าความรู้ไปใชจ้ นเหน็ เป็นประจกั ษ์หรอื ตวั อย่างทด่ี ี
มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการเรยี นรกู้ ารศกึ ษาตอ่ เน่อื ง
2.1 หลกั สตู รการศึกษาต่อเนือ่ งมีคุณภาพ
2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง มคี วามรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตามหลักสูตรการศกึ ษาตอ่ เน่อื ง
2.3 สอ่ื ทีเ่ อื้อต่อการเรยี นรู้
2.4 การวดั และประเมนิ ผลผเู้ รยี นการศึกษาต่อเนอื่ ง
2.5 การจดั กระบวนการเรยี นรู้การศึกษาต่อเน่ืองท่ีมคี ณุ ภาพ
มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศกึ ษา
3.1 การบริหารจดั การของสถานศึกษาท่เี น้นการมสี ่วนร่วม
3.2 ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษา
3.3 การพฒั นาครู และบคุ ลากรของสถานศึกษา
3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนนุ การบรหิ ารจดั การ
3.5 การกากบั นิเทศ ตดิ ตาม ประเมินผลการดาเนินงานของสถานศึกษา
3.6 การปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ขี องคณะกรรมการสถานศึกษาท่เี ป็นไปตามบทบาทท่กี าหนด
3.7 การส่งเสรมิ สนบั สนุนภาคีเครอื ข่ายใหม้ สี ่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา
3.8 การส่งเสรมิ สนับสนนุ การสรา้ งสงั คมแห่งการเรียนรู้
3.9 การวจิ ัยเพือ่ การบรหิ ารจดั การศกึ ษาสถานศึกษา

3.ความสอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

สอดคล้องกบั 2 เงอ่ื นไข

หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ครู / สถานศึกษา ผ้เู รียน / ผรู้ ับบรกิ าร

ความรู้ ครมู คี วามรู้ ความเขา้ ใจ และทกั ษะในการจัดกิจกรรมการอบ มคี วามร้เู ร่อื ง เทคนคิ และวธิ ีการอบถา่ นไบโอชารแ์ ละการทา

ถา่ นไบโอชาร์ และการทาดินพรอ้ มปลูกไบโอชาร์ ดินพรอ้ มปลูกไบโอชาร์

เงื่อนไขคุณธรรม ครมู ีการช่วยเหลือซ่งึ กนั และกัน มีนา้ ใจร่วมกันทากจิ กรรมให้ ผเู้ รยี น / ผ้รู ับบริการมีความรับผดิ ชอบต่องานทไ่ี ด้รบั

สาเร็จ มอบหมาย และใฝ่เรยี นรู้

ครูมคี วามซอ่ื สตั ย์ ตรงตอ่ เวลา มคี วามขยัน อดทน

สอดคล้องกับ 3 หลกั การ

หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ ครู / สถานศึกษา ผเู้ รยี น / ผู้รบั บรกิ าร
พอเพยี ง
จัดกระบวนการเรียนรู้ หลกั สูตร เนอ้ื หา เหมาะสมเพยี งพอ ผู้เรยี น / ผู้รบั บริการ สามารถเขา้ ถึงและมีหลักสตู รทตี่ รงกับ
รูจ้ กั พอประมาณ กบั เวลาที่กาหนดไว้ จุดประสงค์การเรยี นรู้และความตอ้ งการของตนเอง
1.เลือกวิธีการอบถา่ นไบโอชาร์ไดเ้ หมาะสม
การมีเหตผุ ล จดั กจิ กรรมไดต้ ามความต้องการของผ้เู รยี นและครบถว้ นตามที่ 2. ใชเ้ หตุผลในการตัดสนิ ใจเลือกทรัพยากรทม่ี ีในชมุ ชนได้
วางแผนไว้ มเี นื้อหาทต่ี อบสนองกบั บริบทของชมุ ชน อย่างเหมาะสม

หลักปรชั ญาเศรษฐกจิ ครู / สถานศกึ ษา ผ้เู รียน / ผู้รับบรกิ าร
พอเพียง
1.สถานศกึ ษามีหลักสูตรท่ีพฒั นาขน้ึ อย่างเหมาะสม และย่งั ยนื 1.มีความรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและ
มภี ูมคิ ุ้มกัน 2.จดั สรรเวลาสาหรับกรณีท่กี จิ กรรมไม่เปน็ ไปตามแผนท่ี นาไปใช้ในชวี ิตประจาวัน หรือในชมุ ชนได้
กาหนดไว้ 2.วางแผนการขยายพนั ธไ์ุ ผไ่ ด้อยา่ งยั่งยนื
สอดคล้องกบั 4 มติ ิ 3.วางแผนการใชเ้ วลาในแตล่ ะกจิ กรรมให้ชัดเจน 3.เพมิ่ รายได้ในครวั เรือน
4.ข้อมูลมคี วามทันสมัย เน้ือหาใกล้ตวั น่าสนใจและเรียงลาดับ
เน้อื หาจากง่าย – ยาก

วัด ความรู้ ทักษะ ค่านิยม
ดา้ น
มคี วามรใู้ นการอบถา่ นไบโอชาร์และ 1.มีทักษะในการใชว้ ัสดุ อุปกรณ์ ตระหนักถึงประโยชนข์ องการอบถ่านไบโอชาร์
วตั ถุ การทาดินพรอ้ มปลูกไบโอชาร์ อยา่ งปลอดภยั ประหยัดและคุ้มค่า และการทาดินพรอ้ มปลูกไบโอชาร์
2.เลอื กใช้วัสดุ อปุ กรณ์ได้อยา่ ง
สังคม 1.ผเู้ รียนมกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เหมาะสม 1.ยอมรับฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อนื่
รว่ มกัน 2.มีความเสียสละและอดทน
2.ผ้เู รียนได้ชว่ ยเหลอื ซ่ึงกันและกัน มที ักษะในการทางานสามารถนา
ความรทู้ ่ีได้รบั ไปแก้ปญั หาใน
ครัวเรอื นและชุมชนได้

สิ่งแวดลอ้ ม มคี วามรอบรใู้ นการใชแ้ หลง่ เรียนรู้ใน ใช้วสั ดุ อุปกรณจ์ ากธรรมชาตมิ า 1.มีจิตสานกึ ในการอนุรักษ์ส่งิ แวดลอ้ ม
วัฒนธรรม ทอ้ งถ่ิน ประยุกตใ์ ชใ้ นการดารงชวี ติ 2.ใชท้ รพั ยากรสิง่ แวดล้อมอยา่ งคุ้มคา่ ให้เกดิ
ประจาวันได้ ประโยชน์สงู สุด
เกิดการเรยี นรวู้ ฒั นธรรม
การอย่รู ว่ มกัน 1.ดารงตนอยู่ในสงั คมอยา่ งมี มีความภาคภูมิใจในผลงานของตนเองและ
ความสขุ นาไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์
2.มีทักษะในการดาเนนิ ชวี ิต
สามารถนาไปใชไ้ ด้อย่างเหมาะสม

4.หลกั การและเหตผุ ล

ตามท่ีกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี กาหนดวิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็น
ประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เพื่อสนับสนุนนโยบายโครงการอัน

เน่ืองมาจากพระราชดาริ ซึ่งได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะโครงการเก่ียวกับ
เศรษฐกิจพอเพียงให้นักศึกษาและประชาชนไดน้ าหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาเป็นหลักปรชั ญาในการสง่ เสรมิ ชมุ ชน
และประชาชนนามาประยกุ ต์ใชอ้ ยา่ งเหมาะสมเพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม รวมทั้งปรับเปล่ียนพฤติกรรมการ
ดารงชวี ิตใหอ้ ยู่พน้ื ฐานความพอเพยี งและมกี ารเชอื่ มโยงเปน็ เครือข่ายแลกเปลี่ยนเรยี นร้เู พือ่ ให้เกดิ การพัฒนาอย่างย่ังยืน
ซ่ึงถือว่าเป็นเร่ืองสาคัญอย่างย่ิง สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในการจัด
การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชมุ ชน โดยใชห้ ลักสตู รและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการในรูปแบบของการ
ฝกึ อบรม การเรียนทางไกล การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสร้าง
ชุมชนนักปฏบิ ตั ิ และรปู แบบอื่นๆ ทีเ่ หมาะสมกับกลุม่ เปา้ หมายและบรบิ ทของชุมชนแตล่ ะพนื้ ที่ โดยเน้นการดาเนินตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การสร้างจิตสานึกความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี การบาเพ็ญ
ประโยชน์ การอนรุ ักษ์พลังงานทรพั ยากรและสงิ่ แวดล้อม

จากสภาพพื้นท่ีชุมชนตาบลผาปงั ประชาชนส่วนใหญ่มกี ารปลกู ไผ่เป็นจานวนมาก กศน.ตาบลผาปัง จึงได้ทา
การสารวจสอบถามความตอ้ งการของกลุ่มเป้าหมายปลกู ไผใ่ นตาบลผาปัง พบว่า กลุ่มเปา้ หมายมคี วามต้องการเรียนรู้ใน
วธิ กี ารอบถ่านไบโอชาร์อยา่ งถกู วธิ ี เพอื่ ใหไ้ ด้ใช้ประโยชน์ในการนามาผสมดนิ เป็นดินพร้อมปลูกไบโอชาร์ น้ัน

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่พริก มอบให้ กศน.ตาบลแม่ผาปัง ได้
ประสานงานกับกล่มุ เปา้ หมาย เพื่อจัดกจิ กรรม โครงการอบรมเรียนรกู้ ารอบถา่ นและการทาดินพร้อมปลูกไบโอชาร์ โดย
ใช้ทรพั ยากรที่มีในพื้นทีช่ มุ ชน คอื ใบไม้ไผ่ กิง่ ไม้ไผ่

5. วัตถปุ ระสงค์

1. เพือ่ ศกึ ษา เรยี นร้ทู ักษะวธิ กี ารอบถ่านไบโอชาร์ และการทาดนิ พร้อมปลูกไบโอชาร์
2. เพือ่ ฝึกทักษะการปฏิบัติการอบถา่ นไบโอชาร์และการทาดินพร้อมปลกู ไบโอชาร์อย่างถกู วธิ ี
6. เป้าหมายการดาเนินงาน
6.1 เชงิ ปริมาณ กลุ่มเปา้ หมายประชาชนทว่ั ไป จานวน 15 คน
6.2 เชงิ คุณภาพ

1. มีความรู้ ทักษะวธิ กี ารอบถ่านไบโอชาร์และการทาดนิ พร้อมปลูกไบโอชาร์
2. สามารถอบถา่ นไบโอชารแ์ ละการทาดนิ พร้อมปลกู ไบโอชาร์ได้อย่างถกู วิธี

7. วธิ ีดาเนนิ การ

กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ กลุม่ เป้าหม เปา้ ห พน้ื ที่ ระยะเ งบประ

าย มาย ดาเนนิ การ วลา มาณ

1.สารวจสภาพ 1.เพ่ือวางแผน ตาบลผาปัง 15 ตาบลผาปงั เม.ย.

ปญั หาและความ กาหนดหลกั สูตร คน 2564

ต้องการของ การจดั กิจกรรม

กลุ่มเปา้ หมาย การเรยี นรู้

บ้านผาปงั

2.จดั ทา แผน 2.เพ่อื กาหนดแผน กศน.ตาบลผา พ.ค.

ปฎบิ ตั กิ าร/ ดาเนนิ งาน วัน ปัง 2564

โครงการ/ เวลา และสถานที่

เอกสาร/เตรยี ม พร้อมท้งั วัสดุ

วัสดุประสาน อุปกรณ์ เอกสาร

วทิ ยากรใหค้ วามรู้ ประกอบการ

เรียนรู้

กจิ กรรมหลัก วตั ถปุ ระสงค์ กล่มุ เป้าหม เปา้ ห พ้ืนที่ ระยะเ งบประ

าย มาย ดาเนินการ วลา มาณ

3. จัดกิจกรรม 1. เพ่ือศึกษา ประชาชน 15 ณ กศน.ตาบล 23 2,800.

โครงการอบรม เรียนร้ทู ักษะ ตาบลผาปัง คน ผาปัง หมู่ 3 มถิ ุนา -

เรยี นร้กู ารอบถา่ น วธิ ีการอบถ่านไบ ตาบลผาปัง ยน

และการทาดิน โอชารแ์ ละการทา อาเภอแม่พรกิ 2564

พร้อมปลกู ไบ ดนิ พร้อมปลูกไบ จงั หวดั ลาปาง

โอชาร์ โอชาร์

2. เพื่อฝึกทักษะ
การปฏบิ ัติการอบ
ถา่ นและการทา
ดนิ พร้อมปลกู ไบ
โอชารอ์ ย่างถกู วธิ ี

ติดตามผลการ 1. มคี วามรู้ กศน.ตาบลผา มิ.ย. –

ดาเนินการ/ ทกั ษะวธิ ีการอบ ปัง ส.ค
ถ่านไบโอชาร์
ประเมนิ ผลการ 2564
ดาเนินงาน 2. สามารถอบ
กศน.ตาบลผา ส.ค.
สรุปผลการ ถา่ นไบโอชาร์ได้ 2564
ดาเนินงาน อย่างถกู วิธี ปัง

เพือ่ ปรับปรุง

พฒั นาต่อไปให้ดี

ขน้ึ

8. วงเงินงบประมาณทงั้ โครงการ

แผนงาน : พ้ืนฐานการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตท่ี : 4 ผู้รับบริการการศึกษานอก

ระบบ กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ (งบดาเนินงาน) เพ่ือเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง รหัสงบประมาณ 2000236004000000 รหัสกิจกรรมหลัก 200025200P2730 ภายในวงเงิน

2,800.- (สองพันแปดร้อยบาทถว้ น)

รายการใชจ้ ่ายเงนิ งบประมาณ

8.1 ค่าอาหารกลางวัน (15 คน x 50 บาท) 750.- บาท

8.2 ค่าอาหารวา่ งและเครื่องด่ืม (15 คน x 25 บาท x 2 มือ้ ) 750.- บาท

8.3 ค่าวิทยากร (1 คน x 5 ชม. X 200 บาท) 1,000.- บาท

8.4 คา่ วัสดุ 300.- บาท

รวมทง้ั ส้นิ 2,800.- (สองพันแปดร้อยบาทถว้ น)

หมายเหตุขอถวั จา่ ยทุกรายการตามท่ีจา่ ยจรงิ

9. แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4

กิจกรรมหลัก ต.ค.63-ธ.ค.63 ม.ค.–มี.ค.64 เม.ย.–มิ.ย.64 ก.ค.–ก.ย.64

โครงการอบรมเรยี นรู้ - - 2,800.-
การอบถา่ นและการทา
ดินพรอ้ มปลูกไบโอชาร์

10. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ
-นางสาวนนิชา ทาวิลนู ครู กศน.ตาบลผาปงั
11. เครอื ขา่ ย

- ศนู ยก์ จิ การเพ่อื สังคมตาบลผาปัง หมู่ 3 ตาบลผาปัง อาเภอแมพ่ ริก จงั หวัดลาปาง

12. โครงการทเ่ี กยี่ วข้อง

- โครงการศกึ ษาเพ่ือเรยี นร้หู ลักของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

13. ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มเป้าหมายมคี วามรู้ ทกั ษะวธิ ีการอบถา่ นและการทาดินพร้อมปลูกไบโอชาร์ และสามารถอบถ่านไบโอชาร์ได้อย่าง
ถกู วิธี

14. ดชั นีชวี้ ดั ผลสาเร็จของโครงการ
13.1 ตัวชว้ี ัดผลผลติ (Output)

- รอ้ ยละ 80 ของกลมุ่ เป้าหมาย มคี วามรู้ ทักษะตามวตั ถุประสงคข์ องหลักสูตร

13.2 ตวั ชว้ี ัดผลลพั ธ(์ Outcome)
- รอ้ ยละ 80 ของผเู้ รียนผู้รบั บรกิ ารมคี วามพึงพอใจตอ่ การจัดกจิ กรรมในระดบั ดีขึ้นไป

15. การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ

- นิเทศ

- จากการสงั เกต /แบบสอบถาม/การสมั ภาษณ์

- จากรายงานผลการจัดกิจกรรม

- แบบสอบถามความพงึ พอใจผู้ร่วมกิจกรรม

หลักสตู ร การอบถ่านและทาดนิ พร้อมปลูกไบโอชาร์ จานวน 6 ช่ัวโมง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอแมพ่ ริก

ความเป็นมา
จากสภาพพ้นื ท่ีชมุ ชนตาบลผาปัง ประชาชนสว่ นใหญ่มีการปลูกไผ่เป็นจานวนมาก ซ่งึ ต้นไผ่เมื่อเจริญเติบโตได้

เต็มที่แลว้ ทุกสว่ นของไผ่สามารถนามาแปรรูปได้หลากหลาย มีประโยชนใ์ ชส้ อยในชีวติ ประจาวนั กศน.ตาบลผาปัง จึงได้
ทาการสารวจสอบถามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายผู้ปลูกไผ่ในตาบลผาปัง พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีความต้องการ
เรยี นรู้การอบถ่านไบโอชาร์ เพ่ือให้ได้ถา่ นชไบโอชาร์ ทม่ี คี ุณภาพตามท่ีต้องการจะนาไปทาดนิ พร้อมปลูกไบโอชาร์

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอแม่พริก ได้เล็งเห็นถึงความต้องการ
ท่ีเกดิ ข้นึ ได้มอบให้ กศน.ตาบลแม่ผาปงั ไดป้ ระสานงานกับกลุ่มเปา้ หมาย เพอ่ื จดั กิจกรรม โครงการอบรมเรียนรู้การอบ
ถา่ นทาดินพรอ้ มปลกู ไบโอชาร์ โดยใช้ทรัพยากรที่มีในพื้นท่ีชุมชน คือ ต้นไผ่ ก่ิงไผ่ ใบไผ่ มาใช้ในการอบถ่านไบโอชาร์
และทาดนิ พรอ้ มปลูกไบโอชาร์ที่มีคณุ ภาพมาก และยงั สามารถจาหน่ายเพ่ิมรายได้

หลักการของหลักสูตร

1. เป็นหลักสูตรที่เน้นการบูรณาการให้สอดคล้องกับศักยภาพด้านต่าง ๆ ห้าด้าน ได้แก่ ศักยภาพของ

ทรัพยากรธรรมชาติ ศักยภาพของพื้นทต่ี ามลักษณะภมู อิ ากาศ ศักยภาพภูมิประเทศและทาเลท่ีตั้ง ศักยภาพของศิลปะ
วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตและศกั ยภาพของทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพ้นื ท่ี

2. เน้นการฝกึ ปฏบิ ัติจรงิ เพ่อื ให้ผเู้ รียนเกิดความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถนาไปใช้ในครวั เรอื นได้
3. เปน็ หลกั สูตรที่ยดื หยุ่น ทั้งเนอื้ หา ระยะเวลาเรยี น และการจดั กระบวนการเรียนรู้

จุดมงุ่ หมาย
1. เพือ่ ให้กล่มุ ประชาชน มีความรู้ ความเขา้ ใจและทกั ษะการอบถ่านไบโอชาร์
2. เพ่ือใหก้ ล่มุ ประชาชน มคี วามรู้ ความเข้าใจในการเลือกใช้ทรัพยากรท่มี ใี นพ้นื ทช่ี ุมชนให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ
3. เพือ่ นสง่ เสรมิ นโยบายการนาเอาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ประจาวัน

เปา้ หมาย

เปา้ หมาย
ประชาชนทั่วไป

ระยะเวลา
6 ชั่วโมง

ท่ี เรอื่ ง จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ โครงสร้างหล
1 ความสาคัญของ
1 เพื่อใหผ้ ู้เรียนเห็นความสาคัญของถา่ น เนื้อหา
ถ่านไบโอชาและ และดินพร้อมปลกู ไบโอชาร์
ดนิ พร้อมปลกู ไบ 2 เพื่อให้ผู้เรียนเหน็ ของประโยชน์ของ 1 ความสาคัญของถ
โอชาร์ ถ่านไบโอชา และดนิ พรอ้ มปลูกไบ
2 ประโยชน์ของถ
2 ทกั ษะการอบ 3. เพ่ือให้ผูเ้ รยี นเลือกใชท้ รพั ยากรในชุมชน และดินพร้อมปลกู ไบ
ถา่ นไบโอชาและ
การทาดนิ พรอ้ ม ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ 3. การเลอื กใชท้
ปลกู ไบโอชาร์
1. เพ่ือให้ผเู้ รียนมคี วามรู้ ชุมชน
3 ความคุม้ ค่าของ เรื่องการเลือกใช้วสั ดุ อปุ กรณ์ ในการอบ
การขยายพนั ธไุ์ ผ่ ถา่ นไบโอชาและการทาดินพรอ้ มปลูกไบ 1. จดั เตรียมวสั ดุ อ
ดว้ ยการตอนกง่ิ โอชาร์ การอบถ่านไบโอชาแ
2.เพื่อให้ผู้เรียนมคี วามรู้ ทกั ษะในเร่ืองการ พร้อมปลกู ไบโอชาร์
ถา่ นไบโอชาและการดนิ พรอ้ มปลกู ไบโอชาร์ 2. ข้นั ตอนวิธีกา
โอชาและดินพร้อมปล
1. เพื่อใหผ้ เู้ รียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เรอื่ ง โอชาร์

การคดิ ราคาตน้ ทนุ และช่องทางจาหน่าย 1. การคดิ ราคาต

ชอ่ งทางจาหนา่ ย

รวม

ลักสูตร การจดั กระบวนการเรียนรู้ จานวนชว่ั โมง
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
ถ่านไบโอชา วทิ ยากรบรรยายใหค้ วามรเู้ รอื่ ง ความสาคญั 1 ชั่วโมง
บโอชาร์ ของถา่ นไบโอชา และดนิ พรอ้ มปลูกไบโอชาร์
ถ่านไบโอชา - ความสาคัญของถ่านไบโอชาและดินพรอ้ ม 30 นาที 3
บโอชาร์ ปลกู ไบโอชาร์
ทรพั ยากรใน - ประโยชนข์ องถา่ นไบโอชาและดินพรอ้ ม ชั่วโมง
ปลกู ไบโอชาร์
อปุ กรณ์ ใน 30
และดิน 1. วทิ ยากรอธิบายวสั ดุ อุปกรณ์ทใี่ ชใ้ นการ
อบถ่านไบโอชาและดนิ พรอ้ มปลกู ไบโอชาร์ นาที
ารอบถ่านไบ พรอ้ มใหผ้ ู้เรยี นจดั เตรียมส่งิ ของดังกล่าว
ลกู ไบ 1 ชัว
2. วทิ ยากรและผูเ้ รยี น รว่ มกันลงมือปฏบิ ัติ
ตน้ ทนุ และ ตามขัน้ ตอนการอบถ่านไบโอชาและดนิ พร้อม โมง
ปลูกไบโอชาร์
23
3. วทิ ยากรและผเู้ รยี น รว่ มกนั สรปุ ความรู้
ชัว่ โมง ช่ัวโมง
1. ครบู รรยายใหค้ วามรู้ เร่อื ง การคิดราคา
30 30
ต้นทุน และชอ่ งทางการต่อเข้าสู่อาชีพ
นาที นาที
2. ครแู ละผ้เู รยี นรว่ มกันสรปุ ผลการจดั

กจิ กรรม

สอ่ื การเรยี นรู้

1. วิทยากรผ้เู ชี่ยวชาญ

2. วสั ดอุ ปุ กรณ์ และวัตถุดบิ ในการอบถ่านไบโอชาและการทาดนิ พร้อมปลูกไบโอชาร์

การวดั ผลประเมินผล

1. ประเมินผลจากช้ินงานท่ีผูเ้ รียนไดผ้ ลติ ขน้ึ อย่างมีคณุ ภาพตามมาตรฐานที่ผ้สู อนกาหนด
2. การมสี ่วนรว่ ม
3. แบบประเมนิ ความพึงพอใจ

เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร

1. มเี วลาเรยี น ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80
2. มีผลการประเมินตลอดหลักสตู ร ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
3. มีผลงานท่ีมคี ณุ ภาพ



แบบประเมินพนกั งานราชการ – ครู กศน.ต าบล ๕๓


Click to View FlipBook Version