คำนำ การติดตามและประเมินผลโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 เป็นการติดตามและประเมินผลโครงการที่องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ได้ดำเนินการเพื่อต้องการทราบถึง ผลสัมฤทธิ์ของโครงการและความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อผลการดำเนินงาน และความต้องการในการพัฒนา จังหวัดบุรีรัมย์ เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไขผลการดำเนินงานในครั้งต่อไป ท้ายนี้ใคร่ขอขอบพระคุณคณะผู้บริหาร ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ที่ให้การสนับสนุนและ มองเห็นความสำคัญของการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของหน่วยงาน และขอขอบคุณผู้ที่เข้าร่วมอบรม โครงการฯ ที่ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการดำเนินงานขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ในการติดตามและ ประเมินผลโครงการดังกล่าว ให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี จึงได้นำเสนอรายงานผลการติดตามฯ ต่อคณะผู้บริหารฯ เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาโครงการและการปรับปรุงแก้ไขผลการดำเนินงานในครั้งต่อไป ฝ่ายตรวจติดตามและประเมินผล กองยุทธศาสตร์และงบประมาณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์
สารบัญ หน้า บทสรุปผู้บริหาร ก – จ บทที่ 1 บทนำ 1 – 4 1.1 หลักการและเหตุผล 1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการ 1.3 เป้าหมาย 1.4 วิธีดำเนินการ 1.5 ระยะเวลาดำเนินการ 1.6 สถานที่ดำเนินการ 1.7 ผู้รับผิดชอบโครงการ 1.8 งบประมาณ 1.9 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการนี้ 1.10 การวิเคราะห์ข้อมูลของโครงการ 1.11 การนำเสนอผลการติดตาม บทที่ 2 ผลการติดตามและประเมินผล 5 - 21 บทที่ 3 สรุปผลการติดตามและประเมินผล 22 - 25 บรรณานุกรม K.PAIROJ, สูตร Taro Yamane สำหรับคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร, แหล่งที่มา : https://sites.google.com/site/bb24559r/khnad-khxng-klum-tawxyang-thi-hemaa-sm ภาคผนวก • ภาคผนวก • แบบสอบถาม • ตารางสูตร Taro Yamane สำหรับคำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร
ก บทสรุปผู้บริหาร โครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ณ บ้านหนองม่วง ตำบลบ้านยาง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ สรุปผลการติดตามและประเมินผลโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 เพื่อให้ทราบถึงผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ และทราบถึงระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อโครงการ ตลอดจน ข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ จึงได้มีการออกตรวจติดตามและประเมินผลโครงการ เพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจ รวมทั้งรับทราบถึงปัญหาของโครงการเพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาการ ดำเนินโครงการ ในครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการติดตามและประเมินผลโครงการดังกล่าว กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เยาวชน ประชาชนทั่วไป ภายในอำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ รวมกลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้น ประมาณ 130,000 คน ดังนั้น ผู้ประเมินจึงใช้ระดับความคลาดเคลื่อนจากตารางสูตร Taro Yamane ในการกำหนด จำนวนแบบสอบถามโดยใช้ความคลาดเคลื่อนที่ ± 0.10% จึงได้จำนวนแบบสอบถามอย่างน้อย 100 แบบ ผู้ประเมิน สามารถเก็บรวบรวมแบบสอบถามร่วมกับการแสกน QR Code ได้จำนวน 230 แบบ โดยการสุ่มจากกลุ่มเป้าหมาย แบบไม่เฉพาะเจาะจง โดยสรุปผลการติดตามและประเมินผลโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ในภาพรวม ดังนี้ สรุปข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง โดยเพศชาย จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 52.2 รองลงมาเป็น เพศหญิง จำนวน 110 คน คิดเป็นร้อยละ 47.8 ชาย 52.2 หญิง 47.8 เพศ ชาย หญิง
ข ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มอายุ ออกเป็น 6 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ กลุ่มอายุระหว่าง 50 - 59 ปีจำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 29.1 รองลงมา คือ กลุ่มอายุมากกว่า 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 25.7, กลุ่มอายุระหว่าง 40 - 49 ปี จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 20.4, กลุ่มอายุ ระหว่าง 30 – 39 ปีจำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 13.9, กลุ่มอายุระหว่าง 20 – 29 ปีจำนวน 22 คน คิดเป็น ร้อยละ 9.6 และกลุ่มอายุต่ำกว่า 20 ปีจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ตามลำดับ ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มระดับการศึกษา ออกเป็น 4 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ คือ การศึกษาระดับมัธยมศึกษา จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 33.0 รองลงมา คือ การศึกษาระดับ ประถมศึกษา จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 28.3, การศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 23.9 และการศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 14.8 ตามลำดับ 1.3 9.6 13.9 20.4 29.1 25.7 0 5 10 15 20 25 30 35 ต่่ากว่า 20 ปี 20 – 29 ปี 30 – 39 ปี 40 – 49 ปี 50 – 59 ปี 60 ปี ขึ้นไป อายุ 28.3 33.0 23.9 14.8 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 ประถม มัธยม ป.ตรี สูงกว่า ป.ตรี ระดับการศึกษา
ค ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มอาชีพ/สถานภาพ ออกเป็น 11 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ คือ กลุ่มประชาชนทั่วไป จำนวน 81 คน คิดเป็นร้อยละ 35.2 รองลงมา คือ กลุ่มเจ้าหน้าที่ อปท. จำนวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 21.3, กลุ่มอื่น ๆ จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 14.8, กลุ่มหัวหน้าส่วนราชการอำเภอ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 7.4, กลุ่มผู้ใหญ่บ้าน จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 7.0, กลุ่มสมาชิก อปท. จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 6.5, กลุ่มหัวหน้าส่วนราชการ อบจ.บุรีรัมย์ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 3.5, กลุ่มสมาชิกสภา อบจ.บุรีรัมย์ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 2.2, กลุ่มกำนัน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.3, กลุ่มนายก อปท. จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.9 และกลุ่มผู้บริหาร อบจ.บุรีรัมย์จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.0 ตามลำดับ สรุปผลการติดตามและประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการในภาพรวมทุกด้าน มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.41) คิดเป็นร้อยละ 88.21 รายละเอียดแต่ละด้านมีดังนี้ • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 1 ด้านวัตถุประสงค์ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านวัตถุประสงค์ผลการ ประเมินความพึงพอใจในภาพรวมได้อยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.61 • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 2 ด้านกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านกิจกรรม ผลการประเมิน ความพึงพอใจในภาพรวมได้อยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.51) คิดเป็นร้อยละ 90.12 • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 3 ด้านการบรรยายภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์ ผู้ตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจด้านการบรรยายภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมได้อยู่ ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.33) คิดเป็นร้อยละ 86.67 • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 4 ด้านการบรรยายการให้บริการสาธารณะ ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ด้านการบรรยายการให้บริการสาธารณะ ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมได้อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.30) คิดเป็นร้อยละ 86.00 • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 5 ด้านการบรรยายการบริหารงานด้านสาธารสุข ผู้ตอบแบบสอบถามความ พึงพอใจด้านการบรรยายการบริหารงานด้านสาธารสุข ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมได้อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.31) คิดเป็นร้อยละ 86.26 • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 6 ประโยชน์ที่ได้รับ ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านประโยชน์ที่ได้รับ ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมได้อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.48) คิดเป็นร้อยละ 89.59 0.0 2.2 0.9 6.5 1.3 7.0 3.5 7.4 21.3 35.2 14.8 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 7 กลุ่มที่ 8 กลุ่มที่ 9 กลุ่มที่ 10 กลุ่มที่ 11 อาชีพ/สถานภาพ
ง สรุปผลการดำเนินโครงการฯ ในภาพรวม ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.41) คิดเป็นร้อยละ 88.21 รายการประเมินความพึงพอใจ ทั้งหมด 6 ด้าน ด้านที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ด้านที่ 1. ด้านวัตถุประสงค์ มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.53) คิดเป็น ร้อยละ 90.61 รองลงมา คือ ด้านที่ 2. ด้านกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.51) คิดเป็นร้อยละ 90.12, ด้านที่ 6.ประโยชน์ ที่ได้รับ มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.48) คิดเป็นร้อยละ 89.59, ด้านที่ 3. ด้านการบรรยายภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์ มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.33) คิดเป็นร้อยละ 86.67, ด้านที่ 5. ด้านการบรรยายการบริหารงานด้านสาธารสุข มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.31) คิดเป็นร้อยละ 86.26 และด้านที่ 4. ด้านการบรรยายการให้บริการสาธารณะ มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.30) คิดเป็นร้อยละ 86.00 ตามลำดับ ดังนั้น ผลการประเมินในภาพรวมของผู้เข้าร่วมกิจกรรม รับรู้ ตระหนักรู้ ให้ความร่วมมือ และมีความเข้าใจใน บทบาทหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์มากยิ่งขึ้น และรับทราบ รับฟังข้อคิดเห็น ข้อมูลเกี่ยวกับการ พัฒนาตามภารกิจต่างๆ ที่นำนโยบายของผู้บริหารไปสู่การปฏิบัติเพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 88.21 ซึ่งมากกว่าร้อยละ 70 เมื่อเทียบตามตัวชี้วัดโครงการ 4.53 4.51 4.33 4.30 4.31 4.48 4.41 4.15 4.20 4.25 4.30 4.35 4.40 4.45 4.50 4.55 ด้านที่ 1 ด้านที่ 2 ด้านที่ 3 ด้านที่ 4 ด้านที่ 5 ด้านที่ 6 รวม สรุปผลการด่าเนินโครงการฯ ในภาพรวม
จ สรุปข้อเสนอแนะอื่นๆ - ต้องการให้ทาง อบจ.บุรีรัมย์ เพิ่มโครงการปรับปรุงถนนเส้นบ้านโคกขาม - บ้านตะแบก ช่วงบริเวณ ระหว่างบ้านสระสี่เหลี่ยม – บ้านยาง - ต้องการให้ อบจ.บุรีรัมย์ ปรับปรุงในการสร้างถนนให้มีคุณภาพที่ดีขึ้น และขยายไหล่ทางให้กว้างขึ้น - ต้องการให้เพิ่มถนนเชื่อมระหว่างตำบลกับหมู่บ้านต่าง ๆ มากกว่านี้ - ต้องการให้ทาง อบจ.บุรีรัมย์ เพิ่มโครงการก่อสร้างถนนเชื่อมต่อระหว่าง บ้านเสม็ด หมู่ที่ 5 ตำบลลุมปุ๊ก เชื่อมต่อเขตบ้านเสริมสุข – โนนแดง ตำบลสะแกโพรง ระยะทางประมาณ 3,000 เมตร - ต้องการให้มีการซ่อมแซมถนนในส่วนที่เป็นถนนลาดยาง และเกิดการชำรุด เป็นหลุมเป็นบ่อ อาจะส่งผล ให้เกิดอันตรายต่อผู้สัญจร ไป – มา ในช่วงถนนระหว่าง บ้านสระสี่เหลี่ยม - บ้านยาง - ต้องการให้เพิ่มจำนวนเต้นท์สำหรับการจัดโครงการมากกว่านี้ เนื่องจากอากาศค่อนข้างร้อน และไม่ เพียงพอต่อจำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ - ต้องการให้พบประชาชนบ่อย ๆ และเวียนให้ครบทุกอำเภอ เพื่อทราบปัญหาต่าง ๆ และแก้ไขได้ตรงจุด มากยิ่งขึ้น - ต้องการให้จัดโครงการทุก ๆ ปี
1 บทที่ 1 บทนำ 1. หลักการและเหตุผล ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2559 หมวด 2 มาตรา 17 ให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีอำนาจและหน้าที่การ จัดระบบบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง ดังนี้ (2) การสนับสนุนองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นอื่นในการพัฒนาท้องถิ่น (3) การประสานและให้ความร่วมมือในการปฏิบัติหน้าที่ขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น (8) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น (16) การสร้างและบำรุงรักษาทางบก และทางน้ำที่เชื่อมต่อระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่น ประกอบกับนโยบายการพัฒนา องค์การบริหารส่วน จังหวัดบุรีรัมย์ ด้านนโยบายการพัฒนาถนน และแหล่งน้ำ ด้วยการก่อสร้าง ซ่อมแชม ปรับปรุง และบำรุงรักษาทาง ในความรับผิดชอบ และตามอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ให้ได้มาตรฐาน รองรับการเติบโตทาง เศรษฐกิจ การท่องเทียว และสังคม ขุดลอกแหล่งน้ำ แก้มลิง ทางน้ำให้มีน้ำสำหรับอุปโภค บริโภค น้ำเพื่อการเกษตร อย่างเพียงพอตลอดปี และแก้ไขปัญหาภัยแล้ง ปัญหาอุทกภัยอย่างยั่งยืน ควบคุมการเสริมสร้างความรู้เรื่องน้ำ และการบริหารจัดการน้ำ ฯลฯ และตามโครงสร้างการกำหนดส่วนราชการสำนักงานเลขานุการองค์การบริหารส่วน จังหวัดบุรีรัมย์ กำหนดให้รับผิดชอบงานประชาสัมพันธ์ภารกิจ คณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ และภารกิจกิจการสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ สำนักงานเลขานุการองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ จึงได้จัดทำโครงการ"อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ณ บ้านหนองม่วง ตำบลบ้านยาง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ได้ตราข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด เรื่อง.งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 หมวดรายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายงบรายจ่าย อื่น ๆ หน้า 105 ข้อ 13 เพื่อจ่ายในโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มโอกาส ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมให้แก่ประชาชนในพื้นที่จังหวัดบุรีรัมย์ ได้มีโอกาสรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ เพื่อนำไปพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองได้อย่างยั่งยืน และเพื่อประชาสัมพันธ์ภารกิจขององค์การบริหารส่วน จังหวัดบุรีรัมย์ 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1 เพื่อให้คณะผู้บริหาร สมาชิกสภา ข้าราชการ ส่วนราชการ องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ร่วมกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนได้พบปะประชาชน 2.2 เพื่อประชาสัมพันธ์ภารกิจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ให้ประชาชนเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ และเข้าใจภารกิจองค์การับริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ 2.3 เพื่อเสริมสร้างแนวคิด ให้ประชาชนในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นรับฟังความคิดเห็น ของประชาชนในการทำงานร่วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานภาครัฐอื่น ๆ
2 3. เป้าหมาย 3.1 คณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ 3.2 สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ 3.3 นายกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เทศบาลตำบล จำนวน 2 แห่ง องค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 14 แห่ง ในเขตอำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ 3.4 หัวหน้าส่วนราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ หัวหน้าส่วนราชการระดับอำเภอ และเจ้าหน้าที่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอลำปลายมาศจังหวัดบุรีรัมย์ 3.5 กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เขตอำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ 3.6 ประชาชนทั่วไป 4. วิธีดำเนินการ 4.1 จัดทำโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" เสนอขออนุมัติต่อนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัม ย์ เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการ 4.2 แต่งตั้งคณะกรรมการและคณะทำงานโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ที่ได้รับอนุมัติ 4.3 กำหนดพื้นที่ดำเนินการ 4.4 ประสานความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงาน ส่วนราชการ ในพื้นที่จัดโครงการ และพื้นที่ใกล้เคียง ประสานผู้นำท้องถิ่น ชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หรือผู้เกี่ยวข้อง 4.5 ประชาสัมพันธ์การจัดโครงการ/กิจกรรมและมีหนังสือถึงผู้เกี่ยวข้องทั้งในระดับพื้นที่และระดับจังหวัดเพื่อ บูรณาการความร่วมมือในการจัดโครงการฯ 4.6 ประสานขอใช้พื้นที่ในการจัดกิจกรรม จัดเตรียมสถานที่สำหรับจัดกิจกรรม 4.7 จัดกิจกรรมเปิดถนน จำนวน 1 สายทาง โครงการก่อสร้างถนนลาดยางผิวทาง Para Asphaltic Concrete สาย บร.ถ.1-0110 บ้านโคกขาม - บ้านตะแบก อำเภอชำนิจังหวัดบุรีรัมย์(ช่วงบ้านหนองม่วง ตำบลบ้านยาง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ - บ้านตะแบก ตำบลลุมปุ๊ก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์) ระยะทาง 2,597 เมตร 4.8 สรุปผล และประเมินผลโครงการ ต่อนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ 5. ระยะเวลาในการดำเนินการ ไตรมาสที่ 2 ในวันพุธ ที่ 24 พฤษภาคม 2566 6. สถานที่ดำเนินการ ณ บ้านหนองม่วง ตำบลบ้านยาง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ 7. ผู้รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขานุการองค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริการส่วนจังหวัดบุรีรัมย์
3 8. งบประมาณ ตามข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนจังหวัด เรื่อง งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 หมวดค่าใช้สอย ประเภท รายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไม่เข้าลักษณะรายจ่ายหมวดอื่น ๆ เพื่อเป็น ค่าใช้จ่ายตามโครงการฯ หน้า 105 ข้อ 13 จำนวนเงิน 500,000 บาท (ห้าแสนบาทถ้วน) ไตรมาสที่ 2 ใช้งบประมาณ 105,000 บาท (หนึ่งแสนห้าพันบาทถ้วน) 9. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการนี้ 9.1 สามารถประชาสัมพันธ์ภารกิจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ให้ประชาชนทราบอย่างกว้างขวาง ยิ่งขึ้น 9.2 ประชาชน รับรู้ เข้าใจถึงบทบาทอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด และองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นในระดับต่าง ๆ มากขึ้น 9.3 คณะผู้บริหาร สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ผู้บริหาร สมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชนทั่วไป ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น 10. การวิเคราะห์ข้อมูลของโครงการ 10.1 การวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นการวิเคราะห์โดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) และร้อยละ (Percentage) 10.2 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับการประเมินความคิดเห็นต่อผลการดำเนินงานโครงการ ใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (Mean, ¯x ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation, S.D.) ❖ เกณฑ์การให้คะแนนและแปลความหมายโดยแบ่งระดับความคิดเห็นเป็น 5 ระดับ ดังนี้ ระดับความคิดเห็นมากที่สุด ให้คะแนน 5 ระดับความคิดเห็นมาก ให้คะแนน 4 ระดับความคิดเห็นปานกลาง ให้คะแนน 3 ระดับความคิดเห็นน้อย ให้คะแนน 2 ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด ให้คะแนน 1 ระดับความคิดเห็นที่มีต่อโครงการฯ ใช้ค่าเฉลี่ยค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยมีเกณฑ์การพิจารณาค่าเฉลี่ย ไว้ 5 ระดับ ด้วยแบบวัดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ใช้เกณฑ์ Ordinal ดังนี้ ช่วงระดับคะแนน ความหมาย 1.00 - 1.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อยที่สุด 1.50 - 2.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับน้อย 2.50 – 3.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง 3.50 – 4.49 ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก 4.50 – 5.00 ความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด
4 ❖ การวิเคราะห์ข้อมูลและหาค่าสถิติต่าง ๆ สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (1) ร้อยละ (Percentage) ใช้สูตร (บุญชม ศรีสะอาด.2545 : 104) P = × 100 เมื่อ P แทน ร้อยละ f แทน ความถี่ที่ต้องการแปลงให้เป็นร้อยละ N แทน จำนวนความถี่ทั้งหมด (2) ค่าเฉลี่ย (Mean) ใช้สูตร (บุญชม ศรีสะอาด.2545 : 105) x¯ = ∑ เมื่อ ¯x แทน ค่าเฉลี่ย ∑X แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกลุ่ม N แทน จำนวนคนทั้งหมด (3) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ใช้สูตร (บุญชม ศรีสะอาด.2545 : 106) . . = √ ∑( − ̅) เมื่อ S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ¯x แทน คะแนนแต่ละตัว N แทน จำนวนคนทั้งหมด ∑X แทน ผลรวม 11. การนำเสนอผลการติดตาม ใช้การนำเสนอผลสรุปการติดตามและประเมินผลในรูปแบบของความถี่, ร้อยละ, ค่าเฉลี่ย และใช้รูปแบบ ตารางและแผนภูมิ (กราฟ) เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าใจ
5 บทที่ 2 ผลการติดตามและประเมินผล สรุปผลการติดตามและประเมินผลโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ณ บ้านหนองม่วง ตำบลบ้านยาง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ดำเนินการติดตามและประเมินผลโครงการ จากผู้ตอบแบบสอบถาม ทั้งหมด 230 คน ผลการติดตามและประเมินผล ดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม เพศ จำนวน (N) ร้อยละ (%) ชาย 120 52.2 หญิง 110 47.8 รวม 230 100.0 จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง โดยเพศชาย จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 52.2 รองลงมาเป็น เพศหญิง จำนวน 110 คน คิดเป็นร้อยละ 47.8 รูปประกอบตารางที่ 1 แสดงเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม ชาย 52.2 หญิง 47.8 เพศ ชาย หญิง
6 ตารางที่ 2 แสดงอายุของผู้ตอบแบบสอบถาม อายุ จำนวน (N) ร้อยละ (%) ต่ำกว่า 20 ปี 3 1.3 20 – 29 ปี 22 9.6 30 – 39 ปี 32 13.9 40 – 49 ปี 47 20.4 50 – 59 ปี 67 29.1 60 ปี ขึ้นไป 59 25.7 รวม 230 100.0 ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มอายุ ออกเป็น 6 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ กลุ่มอายุระหว่าง 50 - 59 ปีจำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 29.1 รองลงมา คือ กลุ่มอายุมากกว่า 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 25.7, กลุ่มอายุระหว่าง 40 - 49 ปี จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 20.4, กลุ่มอายุ ระหว่าง 30 – 39 ปีจำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 13.9, กลุ่มอายุระหว่าง 20 – 29 ปีจำนวน 22 คน คิดเป็น ร้อยละ 9.6 และกลุ่มอายุต่ำกว่า 20 ปีจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ตามลำดับ รูปประกอบตารางที่ 2 แสดงอายุของผู้ตอบแบบสอบถาม 1.3 9.6 13.9 20.4 29.1 25.7 0 5 10 15 20 25 30 35 ต่่ากว่า 20 ปี 20 – 29 ปี 30 – 39 ปี 40 – 49 ปี 50 – 59 ปี 60 ปี ขึ้นไป อายุ
7 ตารางที่ 3 แสดงระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม ระดับการศึกษา จำนวน (N) ร้อยละ (%) ประถมศึกษา 65 28.3 มัธยมศึกษา 76 33.0 ปริญญาตรี 55 23.9 สูงกว่าปริญญาตรี 34 14.8 รวม 230 100.0 ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มระดับการศึกษา ออกเป็น 4 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ คือ การศึกษาระดับมัธยมศึกษา จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 33.0 รองลงมา คือ การศึกษาระดับ ประถมศึกษา จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 28.3, การศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 23.9 และการศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 14.8 ตามลำดับ รูปประกอบตารางที่ 3 แสดงระดับการศึกษาของผู้ตอบแบบสอบถาม 28.3 33.0 23.9 14.8 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 ประถม มัธยม ป.ตรี สูงกว่า ป.ตรี ระดับการศึกษา
8 ตารางที่ 4 แสดงอาชีพ/สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม อาชีพ/สถานภาพ จำนวน (N) ร้อยละ (%) ผู้บริหาร อบจ.บุรีรัมย์ 0 0.0 สมาชิกสภา อบจ.บุรีรัมย์ 5 2.2 นายก อปท. 2 0.9 สมาชิก อปท. 15 6.5 กำนัน 3 1.3 ผู้ใหญ่บ้าน 16 7.0 หัวหน้าส่วนราชการ อบจ.บุรีรัมย์ 8 3.5 หัวหน้าส่วนราชการอำเภอ 17 7.4 เจ้าหน้าที่ อปท. 49 21.3 ประชาชนทั่วไป 81 35.2 อื่น ๆ 34 14.8 รวม 230 100.0 ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มอาชีพ/สถานภาพ ออกเป็น 11 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ คือ กลุ่มประชาชนทั่วไป จำนวน 81 คน คิดเป็นร้อยละ 35.2 รองลงมา คือ กลุ่มเจ้าหน้าที่ อปท. จำนวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 21.3, กลุ่มอื่น ๆ จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 14.8, กลุ่มหัวหน้าส่วนราชการอำเภอ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 7.4, กลุ่มผู้ใหญ่บ้าน จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 7.0, กลุ่มสมาชิก อปท. จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 6.5, กลุ่มหัวหน้าส่วนราชการ อบจ.บุรีรัมย์ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 3.5, กลุ่มสมาชิกสภา อบจ.บุรีรัมย์ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 2.2, กลุ่มกำนัน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.3, กลุ่มนายก อปท. จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.9 และกลุ่มผู้บริหาร อบจ.บุรีรัมย์จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.0 ตามลำดับ รูปประกอบตารางที่ 4 แสดงอาชีพ/สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถาม 0.0 2.2 0.9 6.5 1.3 7.0 3.5 7.4 21.3 35.2 14.8 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4 กลุ่มที่ 5 กลุ่มที่ 6 กลุ่มที่ 7 กลุ่มที่ 8 กลุ่มที่ 9 กลุ่มที่ 10 กลุ่มที่ 11 อาชีพ/สถานภาพ
9 ตอนที่ 2 ระดับความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ตารางที่ 5 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็น ความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) แปร ผล มากที่สุด อันดับ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยที่สุด 1 ❖ ด้านวัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้คณะผู้บริหาร สมาชิกสภา ข้าราชการ ส่วนราชการ อบจ.บุรีรัมย์ ร่วมกับ อปท. หน่วยงาน ภาครัฐและเอกชนได้ พบปะประชาชน 138 (60.0%) 75 (32.6%) 14 (6.1%) 3 (1.3%) 0 (0.0%) 4.51 0.67 90.26 มาก ที่สุด 3 2. เพื่อประชาสัมพันธ์ ภารกิจขององค์การ บริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ให้ประชาชนเข้าใจ บทบาทหน้าที่ และเข้าใจ ภารกิจองค์การบริหาร ส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ 140 (60.9%) 73 (31.7%) 15 (6.5%) 2 (0.9%) 0 (0.0%) 4.53 0.66 90.52 มาก ที่สุด 2 3. เพื่อเสริมสร้างแนวคิด ให้ประชาชนในท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการพัฒนา ท้องถิ่นรับฟังความ คิดเห็นร่วมกันระหว่าง อปท.และหน่วยงาน ภาครัฐ 143 (62.2%) 73 (31.7%) 12 (5.2%) 2 (0.9%) 0 (0.0%) 4.55 0.64 91.04 มาก ที่สุด 1 ค่าเฉลี่ยรวม (N = 230) 4.53 0.66 90.61 มาก ที่สุด
10 ผลการประเมินด้านวัตถุประสงค์ ผู้ตอบแบบสอบถามโครงการระดับความพึงพอใจในโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ด้านวัตถุประสงค์ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.61 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ข้อ ข้อที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ข้อที่ 3. เพื่อเสริมสร้างแนวคิด ให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นรับฟังความคิดเห็น ร่วมกันระหว่างอปท.และหน่วยงานภาครัฐ มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.55) คิดเป็นร้อยละ 91.04 รองลงมา คือ ข้อที่ 2. เพื่อประชาสัมพันธ์ภารกิจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ให้ประชาชนเข้าใจบทบาทหน้าที่ และเข้าใจภารกิจ องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.52 และข้อที่ 1. เพื่อให้คณะผู้บริหาร สมาชิกสภา ข้าราชการ ส่วนราชการ อบจ.บุรีรัมย์ ร่วมกับ อปท. หน่วยงานภาครัฐและเอกชนได้พบปะประชาชน มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.51) คิดเป็นร้อยละ 90.26 ตามลำดับ 4.51 4.53 4.55 4.53 4.49 4.5 4.51 4.52 4.53 4.54 4.55 4.56 ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 รวม ด้านวัตถุประสงค์
11 ตารางที่ 6 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็น ความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) แปร ผล มากที่สุด อันดับ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยที่สุด 1 ❖ ด้านกิจกรรม 1. กิจกรรมเปิดถนน โครงการก่อสร้าง ถนนลาดยางผิวทาง Asphaltic Concrete สาย บร.ถ. 1-0110 บ้านโคกขาม-บ้านตะแบก ตำบลลุมปุ๊ก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ (ช่วงบ้าน หนองม่วง ตำบลบ้านยาง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์– บ้านตะแบก ตำบลลุมปุ๊ก อำเภอเมือง จังหวัด บุรีรัมย์) ระยะทาง 2,597 เมตร 142 (61.7%) 73 (31.7%) 12 (5.2%) 3 (1.3%) 0 (0.0%) 4.54 0.66 90.78 มาก ที่สุด 1 2. กิจกรรมการแสดงของ ประชาชน 131 (57.0%) 75 (32.6%) 20 (8.7%) 4 (1.7%) 0 (0.0%) 4.45 0.73 88.96 มาก 3 3. การอำนวยความ สะดวกและการบริการ 143 (62.2%) 69 (30.0%) 15 (6.5%) 3 (1.3%) 0 (0.0%) 4.53 0.68 90.61 มาก ที่สุด 2 ค่าเฉลี่ยรวม (N = 230) 4.51 0.69 90.12 มาก ที่สุด
12 ผลการประเมินด้านกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามโครงการระดับความพึงพอใจในโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ด้านกิจกรรม ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.51) คิดเป็นร้อยละ 90.12 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ข้อ ข้อที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ข้อที่ 1. กิจกรรมเปิดถนน โครงการก่อสร้างถนนลาดยางผิวทาง Asphaltic Concrete สาย บร.ถ.1-0110 บ้านโคกขาม - บ้านตะแบก ตำบลลุมปุ๊ก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ (ช่วงบ้านหนองม่วง ตำบลบ้านยาง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ – บ้านตะแบก ตำบลลุมปุ๊ก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์) ระยะทาง 2,597 เมตร มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.54) คิดเป็นร้อยละ 90.78 รองลงมา คือ ข้อที่ 3. การอำนวยความสะดวกและการบริการ มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.61 และข้อที่ 2. กิจกรรมการแสดงของประชาชน มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.45) คิดเป็นร้อยละ 88.96 ตามลำดับ 4.54 4.45 4.53 4.51 4.4 4.42 4.44 4.46 4.48 4.5 4.52 4.54 4.56 ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 รวม ด้านกิจกรรม
13 ตารางที่ 7 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็น ความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) แปร ผล มากที่สุด อันดับ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยที่สุด 1 ❖ ด้านการบรรยายภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์ 1. ก่อน การเสวนา ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจอำนาจหน้าที่ ของ อบจ.บุรีรัมย์ มากน้อยเพียงใด 49 (21.3%) 123 (53.5%) 55 (23.9%) 3 (1.3%) 0 (0.0%) 3.95 0.71 78.96 มาก 3 2. หลัง การเสวนา ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจอำนาจหน้าที่ ของ อบจ.บุรีรัมย์ มากน้อยเพียงใด 148 (64.3%) 62 (27.0%) 18 (7.8%) 2 (0.9%) 0 (0.0%) 4.55 0.68 90.96 มาก ที่สุด 1 3. มีความรู้และเข้าใจใน บทบาทหน้าที่ของคณะ ผู้บริหารและสมาชิกสภา อบจ.บุรีรัมย์ มากน้อย เพียงใด 143 (62.2%) 61 (26.5%) 25 (10.9%) 1 (0.4%) 0 (0.0%) 4.50 0.70 90.09 มาก ที่สุด 2 ค่าเฉลี่ยรวม (N = 230) 4.33 0.70 86.67 มาก
14 ผลการประเมินด้านการบรรยายภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์ ผู้ตอบแบบสอบถามโครงการระดับความพึงพอใจในโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ด้านการบรรยายภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์ผลการประเมินความพึงพอใจใน ภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.33) คิดเป็นร้อยละ 86.67 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ข้อ ข้อที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ข้อที่ 2. หลังการเสวนา ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจอำนาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์ มากน้อยเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.55) คิดเป็นร้อยละ 90.96 รองลงมา คือ ข้อที่ 3. มีความรู้และเข้าใจ ในบทบาทหน้าที่ของคณะผู้บริหารและสมาชิกสภาอบจ.บุรีรัมย์ มากน้อยเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.50) คิดเป็น ร้อยละ 90.09 และข้อที่ 1. ก่อนการเสวนา ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจอำนาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์ มากน้อยเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 3.95) คิดเป็นร้อยละ 78.96 ตามลำดับ 3.95 4.55 4.50 4.33 3.60 3.70 3.80 3.90 4.00 4.10 4.20 4.30 4.40 4.50 4.60 ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 รวม ด้านการบรรยายภารกิจอ่านาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์
15 ตารางที่ 8 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็น ความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) แปร ผล มากที่สุด อันดับ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยที่สุด 1 ❖ ด้านการบรรยายการให้บริการสาธารณะ 1. ก่อน การบรรยาย ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการ จัดบริการสาธารณะ มากน้อยเพียงใด 44 (19.1%) 124 (53.9%) 52 (22.6%) 10 (4.3%) 0 (0.0%) 3.88 0.76 77.57 มาก 3 2. หลัง การบรรยาย ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในการ จัดบริการสาธารณะ มากน้อยเพียงใด 143 (62.2%) 66 (28.7%) 20 (8.7%) 1 (0.4%) 0 (0.0%) 4.53 0.67 90.52 มาก ที่สุด 1 3. มีความรู้และเข้าใจใน การจัดบริการสาธารณะ ของ อบจ.บุรีรัมย์ มากน้อยเพียงใด 146 (63.5%) 57 (24.8%) 23 (10.0%) 3 (1.3%) 1 (0.4%) 4.50 0.76 89.91 มาก ที่สุด 2 ค่าเฉลี่ยรวม (N = 230) 4.30 0.73 86.00 มาก
16 ผลการประเมินด้านการบรรยายการให้บริการสาธารณะ ผู้ตอบแบบสอบถามโครงการระดับความพึงพอใจในโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ด้านการบรรยายการให้บริการสาธารณะ ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.30) คิดเป็นร้อยละ 86.00 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ข้อ ข้อที่ได้รับความพึง พอใจสูงที่สุด คือ ข้อที่ 2. หลังการบรรยาย ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการจัดบริการสาธารณะ มากน้อย เพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.52 รองลงมา คือ ข้อที่ 3. มีความรู้และเข้าใจในการจัดบริการ สาธารณะของ อบจ.บุรีรัมย์ มากน้อยเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.50) คิดเป็นร้อยละ 89.91 และข้อที่ 1. ก่อนการ บรรยาย ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการจัดบริการสาธารณะ มากน้อยเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 3.88) คิดเป็น ร้อยละ 77.57 ตามลำดับ 3.88 4.53 4.50 4.30 3.40 3.60 3.80 4.00 4.20 4.40 4.60 ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 รวม ด้านการบรรยายการให้บริการสาธารณะ
17 ตารางที่ 9 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็น ความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) แปร ผล มากที่สุด อันดับ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยที่สุด 1 ❖ ด้านการบรรยายการบริหารงานด้านสาธารณสุข 1. ก่อน การบรรยาย ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในงานด้าน สาธารณสุข มากน้อย เพียงใด 40 (17.4%) 128 (55.7%) 54 (23.5%) 8 (3.5%) 0 (0.0%) 3.87 0.73 77.39 มาก 3 2. หลัง การบรรยาย ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ ในงาน ด้านสาธารณสุข มากน้อยเพียงใด 147 (63.9%) 64 (27.8%) 18 (7.8%) 1 (0.4%) 0 (0.0%) 4.55 0.66 91.04 มาก ที่สุด 1 3. มีความรู้และเข้าใจใน จัดบริการด้านสาธารณะ สุขของ อบจ.บุรีรัมย์ มากน้อยเพียงใด 153 (66.5%) 45 (19.6%) 30 (13.0%) 2 (0.9%) 0 (0.0%) 4.52 0.75 90.35 มาก ที่สุด 2 ค่าเฉลี่ยรวม (N = 230) 4.31 0.71 86.26 มาก
18 ผลการประเมินด้านการบรรยายการบริหารงานด้านสาธารณสุข ผู้ตอบแบบสอบถามโครงการระดับความพึงพอใจในโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ด้านการบรรยายการบริหารงานด้านสาธารณสุข ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.31) คิดเป็นร้อยละ 86.26 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ข้อ ข้อที่ได้รับ ความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ข้อที่ 2. หลังการบรรยาย ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในงานด้านสาธารณสุข มากน้อยเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.55) คิดเป็นร้อยละ 91.04 รองลงมา คือ ข้อที่ 3. มีความรู้และเข้าใจในจัดบริการ ด้านสาธารณะสุขของ อบจ.บุรีรัมย์ มากน้อยเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.52) คิดเป็นร้อยละ 90.35 และข้อที่ 1. ก่อน การบรรยาย ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในงานด้านสาธารณสุข มากน้อยเพียงใด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 3.87) คิดเป็น ร้อยละ 77.39 ตามลำดับ 3.87 4.55 4.52 4.31 3.4 3.6 3.8 4 4.2 4.4 4.6 4.8 ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 รวม ด้านการบรรยายการบริหารงานด้านสาธารณสุข
19 ตารางที่ 10 แสดงจำนวน ร้อยละ และค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็น ความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) แปร ผล มากที่สุด อันดับ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 น้อย 2 น้อยที่สุด 1 ❖ ด้านประโยชน์ที่ได้รับ 1. สามารถประชาสัมพันธ์ ภารกิจขององค์การ บริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ให้ประชาชนทราบอย่าง กว้างขวางยิ่งขึ้น 130 (56.5%) 75 (32.6%) 22 (9.6%) 3 (1.3%) 0 (0.0%) 4.44 0.72 88.87 มาก 3 2. ประชาชน รับรู้ เข้าใจ ถึงบทบาทอำนาจหน้าที่ ขององค์การบริหารส่วน จังหวัดและองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นใน ระดับต่าง ๆ กัน 135 (58.7%) 71 (30.9%) 23 (10.0%) 1 (0.4%) 0 (0.0%) 4.48 0.69 89.57 มาก 2 3. คณะผู้บริหาร สมาชิก สภาองค์การบริหารส่วน จังหวัดบุรีรัมย์ ผู้บริหาร สมาชิกองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชน ทั่วไป ได้มีส่วนร่วมใน การพัฒนาท้องถิ่น 142 (61.7%) 68 (29.6%) 17 (7.4%) 3 (1.3%) 0 (0.0%) 4.52 0.69 90.35 มาก ที่สุด 1 ค่าเฉลี่ยรวม (N = 230) 4.48 0.70 89.59 มาก
20 ผลการประเมินด้านประโยชน์ที่ได้รับ ผู้ตอบแบบสอบถามโครงการระดับความพึงพอใจในโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ด้านประโยชน์ที่ได้รับ ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.48) คิดเป็นร้อยละ 89.59 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ข้อ ข้อที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ข้อที่ 3. คณะผู้บริหาร สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ผู้บริหาร สมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชนทั่วไป ได้มีส่วนร่วมใน การพัฒนาท้องถิ่น มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.52) คิดเป็นร้อยละ 90.35 รองลงมา คือ ข้อที่ 2. ประชาชน รับรู้ เข้าใจถึงบทบาทอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดและองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับต่าง ๆ กัน มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.48) คิดเป็นร้อยละ 89.57 และข้อที่ 1. สามารถ ประชาสัมพันธ์ภารกิจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ให้ประชาชนทราบอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.44) คิดเป็นร้อยละ 88.87 ตามลำดับ 4.44 4.48 4.52 4.48 4.4 4.42 4.44 4.46 4.48 4.5 4.52 4.54 ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 รวม ด้านประโยชน์ที่ได้รับ
21 ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอื่นๆ - ต้องการให้ทาง อบจ.บุรีรัมย์ เพิ่มโครงการปรับปรุงถนนเส้นบ้านโคกขาม - บ้านตะแบก ช่วงบริเวณ ระหว่างบ้านสระสี่เหลี่ยม – บ้านยาง - ต้องการให้ อบจ.บุรีรัมย์ ปรับปรุงในการสร้างถนนให้มีคุณภาพที่ดีขึ้น และขยายไหล่ทางให้กว้างขึ้น - ต้องการให้เพิ่มถนนเชื่อมระหว่างตำบลกับหมู่บ้านต่าง ๆ มากกว่านี้ - ต้องการให้ทาง อบจ.บุรีรัมย์ เพิ่มโครงการก่อสร้างถนนเชื่อมต่อระหว่าง บ้านเสม็ด หมู่ที่ 5 ตำบลลุมปุ๊ก เชื่อมต่อเขตบ้านเสริมสุข – โนนแดง ตำบลสะแกโพรง ระยะทางประมาณ 3,000 เมตร - ต้องการให้มีการซ่อมแซมถนนในส่วนที่เป็นถนนลาดยาง และเกิดการชำรุด เป็นหลุมเป็นบ่อ อาจะส่งผล ให้เกิดอันตรายต่อผู้สัญจร ไป – มา ในช่วงถนนระหว่าง บ้านสระสี่เหลี่ยม - บ้านยาง - ต้องการให้เพิ่มจำนวนเต้นท์สำหรับการจัดโครงการมากกว่านี้ เนื่องจากอากาศค่อนข้างร้อน และไม่ เพียงพอต่อจำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ - ต้องการให้พบประชาชนบ่อย ๆ และเวียนให้ครบทุกอำเภอ เพื่อทราบปัญหาต่าง ๆ และแก้ไขได้ตรงจุด มากยิ่งขึ้น - ต้องการให้จัดโครงการทุก ๆ ปี
22 บทที่ 3 สรุปผลการติดตามและประเมินผล สรุปผลการติดตามและประเมินผลโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 เพื่อให้ทราบถึงผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ และทราบถึงระดับความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อโครงการ ตลอดจน ข้อเสนอแนะต่าง ๆ จากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการ จึงได้มีการออกตรวจติดตามและประเมินผลโครงการ เพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจ รวมทั้งรับทราบถึงปัญหาของโครงการเพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาการ ดำเนินโครงการ ในครั้งต่อไปให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการติดตามและประเมินผลโครงการดังกล่าว กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ เยาวชน ประชาชนทั่วไป ภายในอำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ รวมกลุ่มเป้าหมายทั้งสิ้น ประมาณ 130,000 คน ดังนั้น ผู้ประเมินจึงใช้ระดับความคลาดเคลื่อนจากตารางสูตร Taro Yamane ในการกำหนด จำนวนแบบสอบถามโดยใช้ความคลาดเคลื่อนที่ ± 0.10% จึงได้จำนวนแบบสอบถามอย่างน้อย 100 แบบ ผู้ประเมิน สามารถเก็บรวบรวมแบบสอบถามร่วมกับการแสกน QR Code ได้จำนวน 230 แบบ โดยการสุ่มจากกลุ่มเป้าหมาย แบบไม่เฉพาะเจาะจง โดยสรุปผลการติดตามและประเมินผลโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปี งบประมาณ พ.ศ.2566 ในภาพรวม ดังนี้ • เพศ จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง โดยเพศชาย จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 52.2 รองลงมาเป็น เพศหญิง จำนวน 110 คน คิดเป็นร้อยละ 47.8 • อายุผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มอายุ ออกเป็น 6 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ กลุ่มอายุระหว่าง 50 - 59 ปีจำนวน 67 คน คิดเป็นร้อยละ 29.1 รองลงมา คือ กลุ่มอายุมากกว่า 60 ปี ขึ้นไป จำนวน 59 คน คิดเป็นร้อยละ 25.7, กลุ่มอายุระหว่าง 40 - 49 ปี จำนวน 47 คน คิดเป็นร้อยละ 20.4, กลุ่มอายุ ระหว่าง 30 – 39 ปี จำนวน 32 คน คิดเป็นร้อยละ 13.9, กลุ่มอายุระหว่าง 20 – 29 ปี จำนวน 22 คน คิดเป็น ร้อยละ 9.6 และกลุ่มอายุต่ำกว่า 20 ปีจำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ตามลำดับ • การศึกษา ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มระดับการศึกษา ออกเป็น 4 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบ แบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ การศึกษาระดับมัธยมศึกษา จำนวน 76 คน คิดเป็นร้อยละ 33.0 รองลงมา คือ การศึกษาระดับ ประถมศึกษา จำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 28.3, การศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 23.9 และการศึกษาระดับสูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 14.8 ตามลำดับ • อาชีพ/สถานภาพ ผู้สำรวจได้จำแนกกลุ่มอาชีพ/สถานภาพ ออกเป็น 11 กลุ่ม จากผลการสำรวจ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ กลุ่มประชาชนทั่วไป จำนวน 81 คน คิดเป็นร้อยละ 35.2 รองลงมา คือ กลุ่มเจ้าหน้าที่ อปท. จำนวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 21.3, กลุ่มอื่น ๆ จำนวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 14.8, กลุ่มหัวหน้าส่วนราชการอำเภอ จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 7.4, กลุ่มผู้ใหญ่บ้าน จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 7.0, กลุ่มสมาชิก อปท. จำนวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 6.5, กลุ่มหัวหน้าส่วนราชการ อบจ.บุรีรัมย์ จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 3.5, กลุ่มสมาชิกสภา อบจ.บุรีรัมย์ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 2.2, กลุ่มกำนัน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.3, กลุ่มนายก อปท. จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.9 และกลุ่มผู้บริหาร อบจ.บุรีรัมย์จำนวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0.0 ตามลำดับ
23 สรุปผลการติดตามและประเมินความพึงพอใจที่มีต่อโครงการในภาพรวมทุกด้าน มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.41) คิดเป็นร้อยละ 88.21 รายละเอียดแต่ละด้านมีดังนี้ • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 1 ด้านวัตถุประสงค์ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านวัตถุประสงค์ผลการ ประเมินความพึงพอใจในภาพรวมได้อยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.53) คิดเป็นร้อยละ 90.61 • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 2 ด้านกิจกรรม ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านกิจกรรม ผลการประเมิน ความพึงพอใจในภาพรวมได้อยู่ในระดับ มากที่สุด มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.51) คิดเป็นร้อยละ 90.12 • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 3 ด้านการบรรยายภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์ ผู้ตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจด้านการบรรยายภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมได้อยู่ ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.33) คิดเป็นร้อยละ 86.67 • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 4 ด้านการบรรยายการให้บริการสาธารณะ ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจ ด้านการบรรยายการให้บริการสาธารณะ ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมได้อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.30) คิดเป็นร้อยละ 86.00 • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 5 ด้านการบรรยายการบริหารงานด้านสาธารสุข ผู้ตอบแบบสอบถามความ พึงพอใจด้านการบรรยายการบริหารงานด้านสาธารสุข ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมได้อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.31) คิดเป็นร้อยละ 86.26 • สรุปผลการประเมิน ด้านที่ 6 ประโยชน์ที่ได้รับ ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจด้านประโยชน์ที่ได้รับ ผลการประเมินความพึงพอใจในภาพรวมได้อยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.48) คิดเป็นร้อยละ 89.59 รายการ / ประเด็นความพึงพอใจ ค่าเฉลี่ย ( ¯x ) ส่วน เบี่ยงเบน (S.D.) ร้อยละ (%) แปรผล อันดับ ❖ สรุปผลการดำเนินโครงการฯ ในภาพรวม 1. ด้านวัตถุประสงค์ 4.53 0.66 90.61 มากที่สุด 1 2. ด้านกิจกรรม 4.51 0.69 90.12 มากที่สุด 2 3. ด้านการบรรยายภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์ 4.33 0.70 86.67 มาก 4 4. ด้านการบรรยายการให้บริการสาธารณะ 4.30 0.73 86.00 มาก 6 5. ด้านการบรรยายการบริหารงานด้านสาธารสุข 4.31 0.71 86.26 มาก 5 6. ประโยชน์ที่ได้รับ 4.48 0.70 89.59 มาก 3 ค่าเฉลี่ยรวม 4.41 0.70 88.21 มาก
24 สรุปผลการดำเนินโครงการฯ ในภาพรวม ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อการดำเนินโครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ในภาพรวมอยู่ในระดับ มาก มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.41) คิดเป็นร้อยละ 88.21 รายการประเมินความพึงพอใจ ทั้งหมด 6 ด้าน ด้านที่ได้รับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ด้านที่ 1. ด้านวัตถุประสงค์ มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.53) คิดเป็น ร้อยละ 90.61 รองลงมา คือ ด้านที่ 2. ด้านกิจกรรม มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.51) คิดเป็นร้อยละ 90.12, ด้านที่ 6.ประโยชน์ ที่ได้รับ มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.48) คิดเป็นร้อยละ 89.59, ด้านที่ 3. ด้านการบรรยายภารกิจอำนาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์ มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.33) คิดเป็นร้อยละ 86.67, ด้านที่ 5. ด้านการบรรยายการบริหารงานด้านสาธารสุข มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.31) คิดเป็นร้อยละ 86.26 และด้านที่ 4. ด้านการบรรยายการให้บริการสาธารณะ มีค่าเฉลี่ย (¯x = 4.30) คิดเป็นร้อยละ 86.00 ตามลำดับ ดังนั้น ผลการประเมินในภาพรวมของผู้เข้าร่วมกิจกรรม รับรู้ ตระหนักรู้ ให้ความร่วมมือ และมีความเข้าใจใน บทบาทหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์มากยิ่งขึ้น และรับทราบ รับฟังข้อคิดเห็น ข้อมูลเกี่ยวกับการ พัฒนาตามภารกิจต่างๆ ที่นำนโยบายของผู้บริหารไปสู่การปฏิบัติเพื่อประโยชน์ของประชาชนในพื้นที่ คิดเป็นร้อยละ 88.21 ซึ่งมากกว่าร้อยละ 70 เมื่อเทียบตามตัวชี้วัดโครงการ 4.53 4.51 4.33 4.30 4.31 4.48 4.41 4.15 4.20 4.25 4.30 4.35 4.40 4.45 4.50 4.55 ด้านที่ 1 ด้านที่ 2 ด้านที่ 3 ด้านที่ 4 ด้านที่ 5 ด้านที่ 6 รวม สรุปผลการด่าเนินโครงการฯ ในภาพรวม
25 สรุปข้อเสนอแนะอื่นๆ - ต้องการให้ทาง อบจ.บุรีรัมย์ เพิ่มโครงการปรับปรุงถนนเส้นบ้านโคกขาม - บ้านตะแบก ช่วงบริเวณ ระหว่างบ้านสระสี่เหลี่ยม – บ้านยาง - ต้องการให้ อบจ.บุรีรัมย์ ปรับปรุงในการสร้างถนนให้มีคุณภาพที่ดีขึ้น และขยายไหล่ทางให้กว้างขึ้น - ต้องการให้เพิ่มถนนเชื่อมระหว่างตำบลกับหมู่บ้านต่าง ๆ มากกว่านี้ - ต้องการให้ทาง อบจ.บุรีรัมย์ เพิ่มโครงการก่อสร้างถนนเชื่อมต่อระหว่าง บ้านเสม็ด หมู่ที่ 5 ตำบลลุมปุ๊ก เชื่อมต่อเขตบ้านเสริมสุข – โนนแดง ตำบลสะแกโพรง ระยะทางประมาณ 3,000 เมตร - ต้องการให้มีการซ่อมแซมถนนในส่วนที่เป็นถนนลาดยาง และเกิดการชำรุด เป็นหลุมเป็นบ่อ อาจะส่งผล ให้เกิดอันตรายต่อผู้สัญจร ไป – มา ในช่วงถนนระหว่าง บ้านสระสี่เหลี่ยม - บ้านยาง - ต้องการให้เพิ่มจำนวนเต้นท์สำหรับการจัดโครงการมากกว่านี้ เนื่องจากอากาศค่อนข้างร้อน และไม่ เพียงพอต่อจำนวนประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ - ต้องการให้พบประชาชนบ่อย ๆ และเวียนให้ครบทุกอำเภอ เพื่อทราบปัญหาต่าง ๆ และแก้ไขได้ตรงจุด มากยิ่งขึ้น - ต้องการให้จัดโครงการทุก ๆ ปี
ภาคผนวก
รวมภาพกิจกรรม โครงการ "อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
แบบประเมิน โครงการ “ อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน ” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 วันที่ 24 พฤษภาคม 2566 คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย และเขียนข้อความลงในช่องว่าง ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 1) เพศ ชาย หญิง 2) อายุ ต่ำกว่า 20 ปี 20-29 ปี 30-39 ปี 40-49ปี 50-59 ปี 60 ปีขึ้นไป 3) การศึกษา ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี 4) อาชีพ/สถานภาพ ผู้บริหาร อบจ.บร สมาชิกสภา อบจ.บร นายก อปท. สมาชิก อปท. กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หัวหน้าส่วนราชการ อบจ.บร หัวหน้าส่วนราชการอำเภอ เจ้าหน้าที่อปท. ประชาชนทั่วไป อื่น ๆ(ระบุ)..... ส่วนที่ 2 ระดับความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามเกี่ยวกับโครงการ “ อบจ.บุรีรัมย์ พบประชาชน ” ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 คำชี้แจง โปรดทำเครื่องหมาย ลงในช่องระดับความคิดเห็น ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน ประเด็นคำถาม ระดับความคิดเห็น มากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อยที่สุด (1) ด้านวัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้คณะผู้บริหาร สมาชิกสภา ข้าราชการ ส่วนราชการ อบจ.บุรีรัมย์ ร่วมกับอปท. หน่วยงานภาครัฐและเอกชนได้พบปะประชาชน 2.เพื่อประชาสัมพันธ์ภารกิจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ให้ประชาชนเข้าใจ บทบาทหน้าที่ และเข้าใจภารกิจองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ 3. เพื่อเสริมสร้างแนวคิด ให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่นรับฟัง ความคิดเห็นร่วมกันระหว่างอปท.และหน่วยงานภาครัฐ ด้านกิจกรรม 1.กิจกรรมเปิดถนน โครงการก่อสร้างถนนลาดยางผิวทาง Asphaltic Concrete สาย บร.ถ. 1-0110 บ้านโคกขาม-บ้านตะแบก ตำบลลุมปุ๊ก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์ (ช่วงบ้านหนองม่วง ตำบลบ้านยาง อำเภอลำปลายมาศ จังหวัดบุรีรัมย์ –บ้านตะแบก ตำบลลุมปุ๊ก อำเภอเมือง จังหวัดบุรีรัมย์)ระยะทาง 2,597 เมตร 2. กิจกรรมการแสดงของประชาชน 3. การอำนวยความสะดวกและการบริการ /ต่อหน้า 2…
-2- ประเด็นคำถาม ระดับความคิดเห็น มากที่สุด (5) มาก (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อยที่สุด (1) การบรรยายภารกิจอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ 1. ก่อนการเสวนา ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจอำนาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์ มากน้อยเพียงใด 2. หลังการเสวนา ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจอำนาจหน้าที่ของ อบจ.บุรีรัมย์ มากน้อยเพียงใด 3. มีความรู้และเข้าใจในบทบาทหน้าที่ของคณะผู้บริหารและสมาชิกสภา อบจ.บุรีรัมย์มากน้อยเพียงใด การบรรยายการให้บริการสาธารณะ 1. ก่อนการบรรยาย ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการจัดบริการสาธารณะ มากน้อยเพียงใด 2. หลังการบรรยาย ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในการจัดบริการสาธารณะ มากน้อยเพียงใด 3. มีความรู้และเข้าใจในการจัดบริการสาธารณะของ อบจ.บุรีรัมย์ มากน้อยเพียงใด การบรรยายการบริหารงานด้านสาธารณสุข 1. ก่อนการบรรยาย ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในงานด้านสาธารณสุข มากน้อยเพียงใด 2. หลังการบรรยาย ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ ในงานด้านสาธารณสุข มากน้อยเพียงใด 3. มีความรู้และเข้าใจในจัดบริการด้านสาธารณะสุขของ อบจ.บุรีรัมย์ มากน้อยเพียงใด ประโยชน์ที่ได้รับ 1.สามารถประชาสัมพันธ์ภารกิจขององค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ให้ประชาชน ทราบอย่างกว้างขวางยิ่งขึ้น 2. ประชาชน รับรู้ เข้าใจถึงบทบาทอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัดและ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระดับต่างๆกัน 3. คณะผู้บริหาร สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ผู้บริหาร สมาชิกองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ประชาชนทั่วไป ได้มีส่วนร่วมในการพัฒนา ท้องถิ่น ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอื่นๆ ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................................... ----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- คณะทำงานฝ่ายติดตามและประเมินผล ขอขอบคุณที่สละเวลาในการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นของท่านเป็นส่วนหนึ่งในการติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการให้เป็นไป ตามเจตนารมณ์และวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
±1% ±2% ±3% ±4% ±5% ±10% 500 * * * * 222 83 1,000 * * * 385 286 91 1,500 * * 638 441 316 94 2,000 * * 714 476 333 95 2,500 * 1250 769 500 345 96 3,000 * 1364 811 517 353 97 3,500 * 1458 843 530 359 97 4,000 * 1538 870 541 364 98 4,500 * 1607 891 549 367 98 5,000 * 1667 909 556 370 98 6,000 * 1765 938 566 375 98 7,000 * 1842 959 574 378 99 8,000 * 1905 976 580 381 99 9,000 * 1957 989 584 383 99 10,000 5000 2000 1000 588 385 99 15,000 6000 2143 1034 600 390 99 20,000 6667 2222 1053 606 392 100 25,000 7143 2273 1064 610 394 100 50,000 8333 2381 7087 617 397 100 100,000 9091 2439 1099 621 398 100 มากกว่า 100,000 10000 2500 1111 625 400 100 ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ขนาดความคลาดเคลื่อน ขนาดประชากร สูตร Taro Yamane ส าหรับค านวณขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร * หมายถึง ขนาดตัวอย่างไม่เหมาะสมที่จะ Assume ให้เป็นการกระจายแบบปกติ จึงไม่สามารถใช้สูตรค านวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างได้