โครงการศึกษาดูงานคณะผู้บริหาร สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ประจำปี 2566 รุ่นที่ 1 หน้า 1 คำนำ การติดตามและประเมินผลโครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวน จังหวัดบุรีรัมย หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 เปนการติดตามและประเมินผลโครงการที่องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ไดดำเนินการเพื่อตองการทราบถึง ผลสัมฤทธิ์ของโครงการและความพึงพอใจของผูเขารวมโครงการที่มีตอผลการดำเนินงาน และความตองการในการ พัฒนาจังหวัดบุรีรัมย เพื่อเปนขอมูลในการปรับปรุงแกไขผลการดำเนินงานในครั้งตอไป ทายนี้ใครขอขอบพระคุณคณะผูบริหาร ขององคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ที่ใหการ สนับสนุนและมองเห็นความสำคัญของการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของหนวยงาน และขอขอบคุณผู ที่มีสวนรวมกับโครงการฯ ที่ใหขอมูลที่เปนประโยชนตอการดำเนินงานขององคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ในการติดตามและประเมินผลโครงการดังกลาว ใหสำเร็จลุลวงไปดวยดี จึงไดนำเสนอรายงานผลการติดตามฯ ตอคณะผูบริหารฯเพื่อเปนขอมูลในการพิจารณาโครงการและการปรับปรุงแกไขผลการดำเนินงานในครั้งตอไป ฝายตรวจติดตามและประเมินผล กองยุทธศาสตรและงบประมาณ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย
โครงการศึกษาดูงานคณะผู้บริหาร สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด หัวหน้าส่วนราชการและเจ้าหน้าที่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดบุรีรัมย์ ประจำปี 2566 รุ่นที่ 1 หน้า 1 สารบัญ หนา บทสรุปผูบริหาร ก – จ บทที่ 1 บทนำ 1 – 4 บทที่ 2 ผลการติดตามและประเมินผล 5 - 15 บทที่ 3 สรุปผลการติดตามและประเมินผล 16 – 18 • ภาพผนวก • แบบสอบถาม
โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 หน้า 1 ก บทสรุปผูบริหาร โครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย หัวหนาสวนราชการ และเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 สรุปผลการติดตามและประเมินผลโครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการ บริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 เพื่อใหทราบถึงผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ และทราบถึงระดับความพึงพอใจของผูรวมโครงการที่มีตอ โครงการ ตลอดจนขอเสนอแนะตาง ๆ จึงไดติดตามและประเมินผลโครงการเพื่อติดตามและประเมินผลความพึง พอใจ รวมทั้งรับทราบถึงปญหาของโครงการเพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนาการดำเนินโครงการ ในครั้งตอไปใหมี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการติดตามและประเมินผลโครงการดังกลาว กลุมเปาหมาย ไดแก คณะผูบริหาร องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย,สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย,รองปลัดองคการบริหารสวน จังหวัดบุรีรัมย/หัวหนาสวนราชการ/หัวหนาฝาย,เจาหนาที่องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย จำนวน 60 คน โดยสรุปผลการติดตามและประเมินผลในภาพรวม ดังนี้ จากผลการสำรวจ พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชายมากกวาเพศหญิง โดย เพศชาย จำนวน 35 คน คิดเปนรอยละ 58.3 รองลงมาเปน เพศหญิง จำนวน 25 คน คิดเปนรอยละ 41.7 เพศชาย จำนวน 35 คน (58.3) เพศหญิง จำนวน 25 คน (41.7)
โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 หน้า 1 ข ผูสำรวจไดจำแนกกลุมอายุ ออกเปน 6 กลุม จากผลการสำรวจ พบวา ผูตอบแบบสอบถาม สวนใหญ คือ กลุมอายุระหวาง 41 - 50 ป จำนวน 22 คน คิดเปนรอยละ 36.7 รองลงมา คือ กลุมอายุระหวาง 51 – 60 ป จำนวน 19 คน คิดเปนรอยละ 31.7 ,กลุมอายุระหวาง 31 - 40 ปจำนวน 11 คน คิดเปนรอยละ 18.3, กลุมอายุ ต่ำกวา 30 ป จำนวน 4 คน คิดเปนรอยละ 6.7 และกลุมอายุ มากกวา 60 ปขึ้นไป จำนวน 4 คน คิดเปนรอยละ 6.7, ตามลำดับ ผูสำรวจไดจำแนกกลุมระดับการศึกษา ออกเปน 5 กลุม จากผลการสำรวจ พบวา ผูตอบ แบบสอบถามสวนใหญ คือ การศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 39 คน คิดเปนรอยละ 65.0, รองลงมา คือ การศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน 21 คน คิดเปนรอยละ 35.0, การศึกษามัธยมศึกษา/ปวช. จำนวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0, การศึกษาระดับอนุปริญญา/ปวส. จำนวน 35 คน คิดเปนรอยละ 0.0, และการศึกษาระดับ ปริญญาเอก จำนวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0 ตามลำดับ 6.7 18.3 36.7 31.7 6.7 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 ต่ํากวา 30 ป 31 - 40 ป 41 – 50 ป 51 – 60 ป 60 ป ขึ้นไป อายุ 0.0 0.0 65.0 35.0 0.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 มัธยมศึกษา/ปวช. อนุปริญญา/ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ระดับการศึกษา
โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 หน้า 1 ค ผูสำรวจไดจำแนกสถานะภาพ ออกเปน 4 กลุม จากผลการสำรวจ พบวา ผูตอบแบบสอบถาม สวนใหญคือ กลุมสมาชิกสภา อบจ.บร จำนวน 20 คน คิดเปนรอยละ 33.3, รองลงมา คือ กลุมเจาหนาที่ อบจ.บร จำนวน 19 คน คิดเปนรอยละ 31.7, กลุมหัวหนาสวนราชการ จำนวน 18 คน คิดเปนรอยละ 30.0, และ กลุมผูบริหาร จำนวน 3 คน คิดเปนรอยละ 5.0 ตามลำดับ 5.0 33.3 30.0 31.7 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 ผูบริหาร สมาชิกสภา อบจ.บร หัวหนาสวนราชการ เจาหนาที่ อบจ.บุรีรัมย สถานะภาพ
โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 หน้า 1 ง ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจในโครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด บุรีรัมย หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ดานวัตถุประสงคการจัดโครงการ ผลการประเมินความพึงพอใจที่ไดอยูในระดับ มากที่สุด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.65) คิดเปนรอยละ 93.00 ดานการทัศนศึกษาดูงาน ผลการประเมินความพึงพอใจที่ไดอยูในระดับ มากที่สุด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.56) คิดเปนรอยละ 91.17 ดานประโยชนที่ไดรับ ผลการประเมินความพึงพอใจที่ไดอยูในระดับ มากที่สุด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.63) คิดเปนรอยละ 92.67 สรุปผลการดำเนินโครงการฯ ในภาพรวม ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจของการดำเนินโครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิก สภาองคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ในภาพรวมของโครงการอยูในระดับ มากที่สุด มีคาเฉลี่ย (¯x =4.61) คิดเปนรอยละ 92.28 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ดาน ดานที่ไดรับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ดานที่ 1.ดานวัตถุประสงค ของการจัดโครงการ มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.65) คิดเปนรอยละ 93.00 รองลงมา คือ ดานที่ 3.ดานประโยชนที่ไดรับ มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.63) คิดเปนรอยละ 92.67 และดานที่ 2.ดานการทัศนศึกษาดูงาน มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.56) คิดเปน รอยละ 91.17 ตามลำดับ 4.65 4.56 4.63 4.61 4.50 4.52 4.54 4.56 4.58 4.60 4.62 4.64 4.66 ดานที่ 1 ดานที่ 2 ดานที่ 3 รวมเฉลี่ย สรุปผลการดําเนินโครงการฯ ในภาพรวม
โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 หน้า 1 จ ตอนที่ 3 เปนการสอบถามขอมูลโครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด บุรีรัมย หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 3.1 ทานตองการใหจัดโครงการดังกลาวในครั้งตอไปหรือไม พบวาผูตอบแบบสอบถามทั้ง 60 ทาน ตอบวา ตองการ คิดเปนรอยละ 100.00 ของผูเขารวม โครงการทั้งหมด 3.2 หัวขอกิจกรรมที่ตองการใหมีการจัดโครงการ ฯ ในครั้งตอไป - โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติหนาที่ สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย - การบริหารจัดการโครงสรางพื้นฐาน/การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ - แหลงเรียนรูดานการสงเสริมนวัตกรรมอาชีพใหม ๆ - การพัฒนาการศึกษาของเด็ก - อยากไปดูการจัดการโรงเรียนในสังกัด อบจ.และนำแนวทางมาจัดการโรงเรียนในสังกัดให พัฒนาดีขึ้นตามลำดับ 3.3 ขอเสนอแนะเพิ่มเติมอื่นๆ - จัดทำงบประมาณเพื่อจัดทำโครงการใหมากขึ้นแก ส.อบจ.บร - ศึกษาดูงานดานการศึกษาและการทองเที่ยว จ.ภูเก็ต - ควรจัดลำดับการไปดูงานใหตอเนื่องไมตองขับรถกลับไปกลับมา - อยากให อบจ.บุรีรัมย มีศูนยแบบ SK Park บาง เพื่อใหเด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ไดมีที่อานหนังสือและมีสถานที่ทำกิจกรรมในวันวางได
1 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 บทที่ 1 บทนำ 1. ความเปนมาของโครงการ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ถือเปนหัวใจสำคัญในการพัฒนาทองถิ่น มีบทบาทและความสำคัญมากขึ้นใน ปจจุบัน ทั้งในดานการพัฒนาพื้นที่ การจัดบริการสาธารณะใหแกประชาชน ทั้งนี้ในหลักการปกครองทองถิ่นและ การกระจายอำนาจนั้น มีความมุงหวังใหองคกรปกครองสวนทองถิ่น สามารถดำเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ และการกำหนดบทบาทอำนาจหนาที่ขององคกรปกครองสวนทองถิ่นความสามารถในการบริหารงานของผูบริหาร ทองถิ่นและสมาชิกสภาทองถิ่น ทักษะในการปฏิบัติงานของขาราชการสวนทองถิ่น การมีสวนรวมของประชาชน รวมทั้งระบบการสนับสนุนจากหนวยงานที่เกี่ยวของจึงจะทำใหการบริหารงานเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สนองความตองการของประชาชนไดอยางทั่วถึง องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ไดตระหนักถึงการพัฒนาความรู ทักษะในการบริหารงานของคณะ ผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด เพื่อใหมีความรูความสามารถและทักษะในการบริหาร ทั้งยังตอง มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน เปดโลกทัศน หาประสบการณหรือแนวทางใหมๆมาใชในการปรับตัวใหเขากับการ เปลี่ยนแปลง ซึ่งมีความจำเปนตองพัฒนาในหลายๆ ดาน ทั้งดานการกีฬาดานการเกษตร ดานการศึกษา ดานการ อนุรักษทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดลอม ดานเศรษฐกิจการคาระหวางชายแดน ดานการทองเที่ยว โดยเฉพาะ ดานการทองเที่ยว ซึ่งถือเปนอุตสาหกรรมที่กอใหเกิดรายไดจำนวนมากจังหวัดบุรีรัมยมีศักยภาพเพียงพอในการที่ จะพัฒนาแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ แหลงทองเที่ยวทางประเพณีวัฒนธรรม และแหลงทองเที่ยว ทางประวัติศาสตร แมวาจังหวัดบุรีรัมยจะมีแหลงทองเที่ยวทางโบราณสถานและแหลงทองเที่ยวอื่นๆ จำนวน ไมนอย แตตลาดการทองเที่ยวในจังหวัดรีรัมย ยังตองการการพัฒนารูปแบบการทองเที่ยว ใหตรงกับความตองการ ทางการตลาดทองเที่ยว โดยเฉพาะดานการทองเที่ยวใหเปนสัญลักษณเชิงการกีฬา จังหวัดบุรีรัมยมีนโยบายที่จะ ทำจังหวัดบุรีรัมย ใหเปนเมืองแหงกีฬา "Sports City" ประกอบกับไดมีการจัดงานกิจกรรมทางดานการกีฬา อยูเปนประจำ จึงทำใหมีประชาชน นักทองเที่ยว เดินทางเขามาทองเที่ยวในจังหวัดเพิ่มขึ้น สงผลใหประชาชนใน ทองถิ่นและผูประกอบการดานการทองเที่ยว ดานการโรงแรมรานอาหารและรานคาตางๆ มีรายไดเพิ่มขึ้น ทำให ความเปนอยูของประชาชนดีขึ้น จากปรากฎการณดังกลาวหากมีรูปแบบแนวทางการพัฒนาที่หลากหลาย โดยเฉพาะการไดศึกษาดูงานจากหนวยงานอื่นๆ ที่มีการพัฒนารูปแบบตางๆ จะสามารถนำมาสงเสริมสนับสนุน การบริหารจัดการองคกรขององคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ที่มีอำนาจหนาที่ตามกฎหมายในการสงเสริมและ พัฒนาในดานตางๆ ใหมีความเติบโต ยั่งยืน สามารถตอบโจทยความตองการของประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น ภายใตบริบทเหลานี้ ผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย จำเปนจะตองมีการพัฒนาเพิ่มพูนความรูและประสบการณการทำงานที่จะกาว เขาสูการพัฒนาองคกร ใหไปสูเปาหมายที่ตั้งไวและเกิดประโยชนสูงสุดตอประชาชนในทองถิ่น องคการบริหารสวน จังหวัดบุรีรัมย จึงไดจัดทำโครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนา สวนราชการและเจาหนาที่องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ขององคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1
2 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 2. วัตถุประสงค 1. เพื่อใหผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่องคการ บริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ไดเปดโลกทัศน ไดรับความรู สามารถแลกเปลี่ยนมุมมอง ทัศนคติและแลกเปลี่ยน ความรูดานการบริหารจัดการที่ดี การบริหารกิจการสภา การศึกษา การเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติเศรษฐกิจ การสงเสริมการทองเที่ยว ที่ไดรับจากการศึกษาดูงาน 2. เพื่อใหผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่องคการ บริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ไดรับประสบการณ แนวคิด เทคนิค วิธีการทำงานแนวใหม จากหนวยงานที่ไปศึกษา ดูงาน 3. เพื่อใหผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่องคการ บริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ไดนำทักษะใหมๆ มาประยุกตใชในการพัฒนาการดำเนินงานขององคการบริหารสวน จังหวัดบุรีรัมยไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. กลุมเปาหมาย 1. คณะผูบริหารองคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย จำนวน 4 คน 2. สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย จำนวน 22 คน 3. รองปลัดองคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย/หัวหนาสวนราชการ/หัวหนาฝาย จำนวน 14 คน 4. เจาหนาที่องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมยจำนวน 20 คน 4. วิธีดำเนินการ 1. เสนอขออนุมัติโครงการ 2. ติดตอประสานงานกลุมเปาหมาย 3. ติดตอประสานงานหนวยงาน สถานที่ในการศึกษาดูงาน 4. ดำเนินการศึกษาดูงานตามหนวยงานที่กำหนด 5. ประเมินผลโครงการโดยใชแบบสอบถามผูเขารวมศึกษาดูงาน 5. ระยะเวลาในการดำเนินงาน ระหวางวันที่ 25 – 28 กุมภาพันธ 2566 6. สถานที่ดำเนินโครงการ จังหวัดเพชรบุรี , จังหวัดประจวบคีรีขันธ และจังหวัดสมุทรสงคราม 7. งบประมาณ เบิกจายจากงบประมาณประจำป พ.ศ. 2566 ตามขอบัญญัติองคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย สำนักงาน เลขานุการองคการบริหารสวนจังหวัด หนา 104 ขอ 11 แผนงานบริหารงานทั่วไปงบดำเนินงาน หมวดคาใชสอย รายจายเกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติราชการที่ไมเขาลักษณะรายจายงบรายจายอื่นๆ เพื่อเปนคาใชจายในการฝกอบรม งบประมาณตั้งไว 2,240,000 บาท โดยประมาณการคาใชจายสำหรับโครงการนี้ ตามภาคผนวกประมาณการ คาใชจายฯ แนบทายโครงการ จำนวน 330,000 บาท (สามแสนสามหมื่นบาทถวน)
3 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 8. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่องคการบริหาร สวนจังหวัดบุรีรัมย ไดเปดโลกทัศน ไดรับความรู สามารถแลกเปลี่ยนมุมมอง ทัศนคติและแลกเปลี่ยนความรูดาน การบริหารจัดการที่ดี การบริหารกิจการสภา การศึกษา การเกษตร ทรัพยากรธรรมชาติเศรษฐกิจ การสงเสริมการ ทองเที่ยว ที่ไดรับจากการศึกษาดูงานมากยิ่งขึ้น 2. ผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่องคการบริหาร สวนจังหวัดบุรีรัมย ไดรับประสบการณ แนวคิด เทคนิค วิธีการทำงานแนวใหม จากหนวยงานที่ไปศึกษาดูงานมาก ยิ่งขึ้น ๓. ผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ไดนำทักษะใหมๆ มาประยุกตใชในการพัฒนาการดำเนินงานขององคการ บริหารสวนจังหวัดบุรีรัมยไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 9.ตัวชี้วัดและการวิเคราะหขอมูลของโครงการ 1. การวิเคราะหขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม เปนการวิเคราะหโดยใชคาความถี่ (Frequency) และรอยละ (Percentage) 2. การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการประเมินความคิดเห็นตอผลการดำเนินงานโครงการ ใชคาความถี่ รอยละ คาเฉลี่ย (Mean, X�) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation, S.D.) ♠ เกณฑการใหคะแนนและแปลความหมายโดยแบงความพึงพอใจเปน 5 ระดับ ดังนี้ ความพึงพอใจมากที่สุด ใหคะแนน 5 ความพึงพอใจมาก ใหคะแนน 4 ความพึงพอใจปานกลาง ใหคะแนน 3 ความพึงพอใจนอย ใหคะแนน 2 ความพึงพอใจนอยที่สุด ใหคะแนน 1 สำหรับการแปลผลคะแนนความพึงพอใจ ไดใชเกณฑการใหคะแนนแบงออกเปน 5 ชวง จากการคำนวณตามสูตร หาความกวางของอันตรภาคชั้น ดังนี้ อันตรภาคชั้น = พิสัย/จำนวนชั้น = (คะแนนสูงสุด-คะแนนต่ำสุด)/จำนวนชั้น = (5-1)/5 = 0.80 คาเฉลี่ย ความหมาย 0.00 – 1.49 ความคิดเห็นที่อยูในระดับ นอยที่สุด 1.50 – 2.49 ความคิดเห็นอยูในระดับ นอย 2.50 – 3.49 ความคิดเห็นอยูในระดับ ปานกลาง 3.50 – 3.49 ความคิดเห็นอยูในระดับ มาก 4.50 – 5.00 ความคิดเห็นอยูในระดับ มากที่สุด
4 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ♣ ทั้งนี้ สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูลมีดังนี้ X�แทน คาเฉลี่ย S.D แทน คาสวนเบี่ยงมาตรฐาน 10.การนำเสนอผลการติดตาม ใชการนำเสนอผลสรุปการติดตามและประเมินผลจัดทำโครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิกสภา องคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ขององคการ บริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ในรูปแบบของความถี่รอยละ และใชรูปแบบตาราง รูปแบบกราฟ เพื่อใหงายตอการเขาใจ ดังนี้ ตอนที่ 1 ขอมูลสภาพทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจ/ความรูความเขาใจ/การนำไปใชตอการเขารวมโครงการ ตอนที่ 3 ขอเสนอแนะอื่น ๆ
5 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 บทที่ 2 การติดตามละประเมินผล สรุปผลการติดตามและประเมินผลโครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวน จังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ดำเนินการ ติดตามและประเมินผลโครงการจากผูตอบแบบสอบถาม ทั้งหมด 60 คน ผลการติดตามและประเมินผลดังนี้ ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 แสดงเพศของผูตอบแบบสอบถาม เพศ จำนวน (N) รอยละ (%) ชาย 35 58.3 หญิง 125 41.7 รวม 60 100.0 จากผลการสำรวจ พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชายมากกวาเพศหญิง โดยเพศชาย จำนวน 35 คน คิดเปนรอยละ 58.3 รองลงมาเปน เพศหญิง จำนวน 25 คน คิดเปนรอยละ 41.7 รูปประกอบตารางที่ 1 แสดงเพศของผูตอบแบบสอบถาม เพศชาย จำนวน 35 คน (58.3) เพศหญิง จำนวน 25 คน (41.7)
6 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ตารางที่ 2 แสดงอายุของผูตอบแบบสอบถาม อายุ จำนวน (N) รอยละ (%) ต่ำกวา 30 ป 4 6.7 31 - 40 ป 11 18.3 41 - 50 ป 22 36.7 51 – 60 ป 19 31.7 มากกวา 60 ป ขึ้นไป 4 6.7 รวม 60 100.0 ผูสำรวจไดจำแนกกลุมอายุ ออกเปน 6 กลุม จากผลการสำรวจ พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ คือ กลุมอายุระหวาง 41 - 50 ป จำนวน 22 คน คิดเปนรอยละ 36.7 รองลงมา คือ กลุมอายุระหวาง 51 – 60 ป จำนวน 19 คน คิดเปนรอยละ 31.7 ,กลุมอายุระหวาง 31 - 40 ปจำนวน 11 คน คิดเปนรอยละ 18.3, กลุมอายุ ต่ำกวา 30 ป จำนวน 4 คน คิดเปนรอยละ 6.7 และกลุมอายุ มากกวา 60 ปขึ้นไป จำนวน 4 คน คิดเปนรอยละ 6.7, ตามลำดับ รูปประกอบตารางที่ 2 แสดงอายุของผูตอบแบบสอบถาม 6.7 18.3 36.7 31.7 6.7 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 40.0 ต่ํากวา 30 ป 31 - 40 ป 41 – 50 ป 51 – 60 ป 60 ป ขึ้นไป อายุ
7 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ตารางที่ 3 แสดงระดับการศึกษาของผูตอบแบบสอบถาม ระดับการศึกษา จำนวน (N) รอยละ (%) มัธยมศึกษา/ปวช. 0 0 อนุปริญญา/ปวส. 0 0 ปริญญาตรี 39 65.0 ปริญญาโท 21 35.0 ปริญญาเอก 0 0 รวม 60 100 ผูสำรวจไดจำแนกกลุมระดับการศึกษา ออกเปน 5 กลุม จากผลการสำรวจ พบวา ผูตอบแบบสอบถาม สวนใหญ คือ การศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 39 คน คิดเปนรอยละ 65.0, รองลงมา คือ การศึกษาระดับ ปริญญาโท จำนวน 21 คน คิดเปนรอยละ 35.0, การศึกษามัธยมศึกษา/ปวช. จำนวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0, การศึกษาระดับอนุปริญญา/ปวส. จำนวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0, และการศึกษาระดับ ปริญญาเอก จำนวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0 ตามลำดับ รูปประกอบตารางที่ 3 แสดงระดับการศึกษาของผูตอบแบบสอบถาม 0.0 0.0 65.0 35.0 0.0 0.0 10.0 20.0 30.0 40.0 50.0 60.0 70.0 มัธยมศึกษา/ปวช. อนุปริญญา/ปวส. ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก ระดับการศึกษา
8 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ตารางที่ 4 แสดงสถานะภาพของผูตอบแบบสอบถาม สถานะภาพ จำนวน (N) รอยละ (%) ผูบริหาร 3 5.0 สมาชิกสภา อบจ.บร 20 33.3 หัวหนาสวนราชการ 18 30.0 เจาหนาที่ อบจ.บุรีรัมย 19 31.7 รวม 60 100.0 ผูสำรวจไดจำแนกสถานะภาพ ออกเปน 4 กลุม จากผลการสำรวจ พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ คือ กลุมสมาชิกสภา อบจ.บร จำนวน 20 คน คิดเปนรอยละ 33.3, รองลงมา คือ กลุมเจาหนาที่ อบจ.บร จำนวน 19 คน คิดเปนรอยละ 31.7, กลุมหัวหนาสวนราชการ จำนวน 18 คน คิดเปนรอยละ 30.0, และกลุมผูบริหาร จำนวน 3 คน คิดเปนรอยละ 5.0 ตามลำดับ รูปประกอบตารางที่ 4 แสดงอาชีพของผูตอบแบบสอบถาม 5.0 33.3 30.0 31.7 0.0 5.0 10.0 15.0 20.0 25.0 30.0 35.0 ผูบริหาร สมาชิกสภา อบจ.บร หัวหนาสวนราชการ เจาหนาที่ อบจ.บุรีรัมย สถานะภาพ
9 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจในโครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด บุรีรัมย หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ตารางที่ 5 แสดงจำนวน รอยละ และคาเฉลี่ยความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็น ความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น คาเฉลี่ย ( ¯x ) สวน เบี่ยงเบน (S.D.) รอยละ (%) มากที่สุด แปรผล อันดับ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 นอย 2 นอยที่สุด 1 ดานวัตถุประสงคการจัดโครงการ 1.การศึกษาดูงานครั้งนี้ ทาน ไดรับความรู มุมมอง ทัศนคติ การแลกเปลี่ยนความรู ในแตละดาน ในระดับใด 41 (68.3%) 19 (31.7%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.68 0.47 93.40 มากที่สุด 1 2.การศึกษาดูงานในครั้งนี้ ทานไดรับประสบารณ แนวคิด เทคนิค วิธีการทำงานแบบใหม จากหนวยงานที่ไดศึกษาดูงาน ในระดับใด 38 (63.3%) 22 (36.7%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.63 0.49 92.60 มากที่สุด 2 3.การศึกษาดูงานในครั้งนี้ ทาน สามารถนำทักษะใหมๆ มา ประยุกตใชในภารกิจงานของ ทานไดในระดับใด 38 (63.3%) 22 (36.7%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.63 0.49 92.60 มากที่สุด 3 คาเฉลี่ยรวม (N = 60) 4.65 0.48 93.00 มากที่สุด ผลการประเมิน ดานวัตถุประสงคการจัดโครงการ ผูตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของโครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการ บริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ดานวัตถุประสงคการจัดโครงการ ผลการประเมินความพึงพอใจที่ไดอยูในระดับ มากที่สุด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.65) คิดเปนรอยละ 93.00 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ขอ ขอที่ไดรับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ขอที่ 1.การศึกษาดูงานครั้งนี้ ทานไดรับความรู มุมมอง ทัศนคติ การแลกเปลี่ยนความรูในแตละดาน ในระดับใด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.68) คิดเปนรอยละ 93.40 รองลงมา คือ ขอที่ 2.การศึกษาดูงานในครั้งนี้ ทานไดรับ ประสบารณ แนวคิด เทคนิค วิธีการทำงานแบบใหมจากหนวยงานที่ไดศึกษาดูงานในระดับใด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.63) คิดเปนรอยละ 92.60, ขอที่ 3.การศึกษาดูงานในครั้งนี้ ทานสามารถนำทักษะใหมๆ มาประยุกตใชใน ภารกิจงานของทานไดในระดับใด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.63) คิดเปนรอยละ 92.60 ตามลำดับ
10 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 รูปประกอบตารางที่ 5 วัตถุประสงคการจัดโครงการ 4.68 4.63 4.63 4.65 4.6 4.61 4.62 4.63 4.64 4.65 4.66 4.67 4.68 4.69 ขอที่ 1 ขอที่ 2 ขอที่ 3 รวมเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจในโครงการฯ
11 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ตารางที่ 6 แสดงจำนวน รอยละ และคาเฉลี่ยความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็น ความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น คาเฉลี่ย ( ¯x ) สวน เบี่ยงเบน (S.D.) รอยละ (%) มากที่สุด แปรผล อันดับ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 นอย 2 นอยที่สุด 1 ดานการทัศนศึกษาดูงาน 1.การประสานงานและการ บรรยายใหขอมูลของ วิทยากร 39 (65.0%) 16 (26.7%) 5 (8.3%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.57 0.65 91.40 มากที่สุด 2 2.ความเหมาะสมของ ระยะเวลาที่ใชในการศึกษา ดูงาน 37 (61.7%) 15 (25.0%) 8 (13.3%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.48 0.72 89.60 มาก 6 3.สถานที่ของการศึกษาดู งานมีความเหมาะสม 38 (63.3%) 22 (36.7%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.63 0.49 92.60 มากที่สุด 1 4. สถานที่แตละแหง กอใหเกิดความรูความเขาใจ 41 (68.3%) 11 (18.3%) 8 (13.3%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.55 0.72 91.00 มากที่สุด 4 5.ผูเขารับการศึกษาดูงานมี ความรูความเขาใจในเนื้อหา มากขึ้น 37 (61.7%) 19 (31.7%) 4 (6.7%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.55 0.62 91.00 มากที่สุด 5 6.สามารถนำความรูจาก การศึกษาดูงานไปใชในการ ปฏิบัติงานของทานได 38 (63.3%) 18 (30.0%) 4 (6.7%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.57 0.62 91.40 มากที่สุด 3 คาเฉลี่ยรวม (N = 60) 4.56 0.64 91.17 มากที่สุด ผลการประเมิน ดานการทัศนศึกษาดูงาน ผูตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของโครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการ บริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ดานการทัศนศึกษาดูงาน ผลการประเมินความพึงพอใจที่ไดอยูในระดับ มากที่สุด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.56) คิดเปนรอยละ 91.17 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 6 ขอ ขอที่ไดรับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ขอที่ 3.สถานที่ของการศึกษาดูงานมีความเหมาะสม มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.63) คิดเปนรอยละ 92.60 รองลงมาคือ ขอที่ 1.การประสานงานและการบรรยายใหขอมูลของวิทยากร มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.57) คิดเปนรอยละ 91.40 , ขอที่ 6.สามารถนำความรูจากการศึกษาดูงานไปใชในการปฏิบัติงานของทานไดมีคาเฉลี่ย (¯x = 4.57) คิดเปน รอยละ 91.40,ขอที่ 4. สถานที่แตละแหงกอใหเกิดความรูความเขาใจ มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.55) คิดเปนรอยละ 91.00 ,ขอที่ 5.ผูเขารับการศึกษาดูงานมีความรูความเขาใจในเนื้อหามากขึ้น มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.55) คิดเปนรอยละ 91.00 และขอที่ 2.ความเหมาะสมของระยะเวลาที่ใชในการศึกษา ดูงาน มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.48) คิดเปนรอยละ 89.60 ตามลำดับ
12 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 รูปประกอบตารางที่ 6 ดานการทัศนศึกษาดูงาน 4.57 4.48 4.63 4.55 4.55 4.57 4.56 4.40 4.45 4.50 4.55 4.60 4.65 ขอที่ 1 ขอที่ 2 ขอที่ 3 ขอที่ 4 ขอที่ 5 ขอที่ 6 รวมเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจในโครงการฯ
13 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ตารางที่ 7 แสดงจำนวน รอยละ และคาเฉลี่ยความคิดเห็นของผูตอบแบบสอบถาม รายการ / ประเด็น ความพึงพอใจ ระดับความคิดเห็น คาเฉลี่ย ( ¯x ) สวน เบี่ยงเบน (S.D.) รอยละ (%) มากที่สุด แปรผล อันดับ 5 มาก 4 ปานกลาง 3 นอย 2 นอยที่สุด 1 ดานประโยชนที่ไดรับ 1.สามารถเปดโลกทัศน แลกเปลี่ยนมุมมอง ทัศนคติ ความรูในดานตางๆ มากนอย เพียงใด 42 (70.0%) 18 (30.0%) 0 (0.0%) 0 (00.0%) 0 (0.0%) 4.70 0.46 94.00 มากที่สุด 1 2.สามารถนำประสบการณที่ ไดรับ เทคนิค วิธีการทำงาน แนวใหมมาใชในภารกิจงาน ของทาน มากนอยเพียงใด 40 (66.7%) 12 (20.0%) 8 (13.3%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.53 0.72 90.60 มากที่สุด 3 3.สามารถนำทักษะที่ได ประยุกตใชกับการ ดำเนินงานขององคการ บริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ไดอยางมีประสิทธิภาพ มาก นอยเพียงใด 40 (66.7%) 20 (33.3%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 0 (0.0%) 4.67 0.48 93.40 มากที่สุด 2 คาเฉลี่ยรวม (N = 60) 4.63 0.55 92.67 มาก ผลการประเมิน ดานประโยชนที่ไดรับ ผูตอบแบบสอบถามความพึงพอใจของโครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการ บริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ดานประโยชนที่ไดรับ ผลการประเมินความพึงพอใจที่ไดอยูในระดับ มากที่สุด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.63) คิดเปนรอยละ 92.67 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ขอ ขอที่ไดรับความพึงพอใจ สูงที่สุด คือ ขอที่ 1.สามารถเปดโลกทัศน แลกเปลี่ยนมุมมอง ทัศนคติ ความรูในดานตางๆ มากนอยเพียงใด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.70) คิดเปนรอยละ 94.00 รองลงมา คือ ขอที่ 3.สามารถนำทักษะที่ได ประยุกตใชกับการดำเนินงานของ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ไดอยางมีประสิทธิภาพ มากนอยเพียงใด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.67) คิดเปนรอยละ 93.40, ขอที่ 2.สามารถนำประสบการณที่ไดรับ เทคนิค วิธีการทำงานแนวใหมมาใชในภารกิจงานของทาน มากนอยเพียงใด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.53) คิดเปนรอยละ 90.60 ตามลำดับ
14 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 รูปประกอบตารางที่ 7 ดานประโยชนที่ไดรับ ตอนที่ 3 เปนการสอบถามขอมูลโครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด บุรีรัมย หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 3.1 ทานตองการใหจัดโครงการดังกลาวในครั้งตอไปหรือไม พบวาผูตอบแบบสอบถามทั้ง 60 ทาน ตอบวา ตองการ คิดเปนรอยละ 100.00 ของผูเขารวม โครงการทั้งหมด 3.2 หัวขอกิจกรรมที่ตองการใหมีการจัดโครงการ ฯ ในครั้งตอไป - โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติหนาที่ สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย - การบริหารจัดการโครงสรางพื้นฐาน/การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ - แหลงเรียนรูดานการสงเสริมนวัตกรรมอาชีพใหม ๆ - การพัฒนาการศึกษาของเด็ก - อยากไปดูการจัดการโรงเรียนในสังกัด อบจ.และนำแนวทางมาจัดการโรงเรียนในสังกัดให พัฒนาดีขึ้นตามลำดับ 4.70 4.53 4.67 4.63 4.40 4.45 4.50 4.55 4.60 4.65 4.70 4.75 ขอที่ 1 ขอที่ 2 ขอที่ 3 รวมเฉลี่ย ระดับความพึงพอใจในโครงการฯ
15 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 3.3 ขอเสนอแนะเพิ่มเติมอื่นๆ - จัดทำงบประมาณเพื่อจัดทำโครงการใหมากขึ้นแก ส.อบจ.บร - ศึกษาดูงานดานการศึกษาและการทองเที่ยว จ.ภูเก็ต - ควรจัดลำดับการไปดูงานใหตอเนื่องไมตองขับรถกลับไปกลับมา - อยากให อบจ.บุรีรัมย มีศูนยแบบ SK Park บาง เพื่อให เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ไดมีที่อานหนังสือและมีสถานที่ทำกิจกรรมในวันวางได
16 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 บทที่ 3 สรุปผลการติดตามละประเมินผล สรุปผลการติดตามและประเมินผลโครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการ บริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ขององคการบริหารสวน จังหวัดบุรีรัมยประจำป 2566 รุนที่ 1 เพื่อใหทราบถึงผลสัมฤทธิ์ของโครงการฯ และทราบถึงระดับความพึงพอใจ ของผูรวมโครงการ ตลอดจนขอเสนอแนะตาง ๆ จากผูรวมโครงการ จึงไดมีการออกตรวจติดตามและประเมินผล โครงการเพื่อติดตามและประเมินผลความพึงพอใจ รวมทั้งรับทราบถึงปญหาของโครงการเพื่อนำมาปรับปรุงและ พัฒนาการดำเนินโครงการ ในครั้งตอไปใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยการติดตามและประเมินผลโครงการ ดังกลาว กลุมเปาหมาย ไดแก คณะผูบริหารองคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย,สมาชิกสภาองคการบริหารสวน จังหวัดบุรีรัมย,รองปลัดองคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย/หัวหนาสวนราชการ/หัวหนาเจาหนาที่องคการบริหาร สวนจังหวัดบุรีรัมยจำนวน 60 คน ดังนี้ *เพศ พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศชายมากกวาเพศหญิง โดยเพศชาย จำนวน 35 คน คิดเปนรอยละ 58.3 รองลงมาเปน เพศหญิง จำนวน 25 คน คิดเปนรอยละ 41.7 อายุ พบวา ผูตอบแบบสอบถาม สวนใหญ คือ กลุมอายุระหวาง 41 - 50 ป จำนวน 22 คน คิดเปนรอยละ 36.7 รองลงมา คือ กลุมอายุระหวาง 51 – 60 ป จำนวน 19 คน คิดเปนรอยละ 31.7 ,กลุมอายุ ระหวาง 31 - 40 ปจำนวน 11 คน คิดเปนรอยละ 18.3, กลุมอายุ ต่ำกวา 30 ป จำนวน 4 คน คิดเปนรอยละ 6.7 และกลุมอายุ มากกวา 60 ปขึ้นไป จำนวน 4 คน คิดเปนรอยละ 6.7, ตามลำดับ ระดับการศึกษา พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ คือ การศึกษาระดับปริญญาตรีจำนวน 39 คน คิดเปนรอยละ 65.0, รองลงมา คือ การศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน 21 คน คิดเปนรอยละ 35.0, การศึกษา มัธยมศึกษา/ปวช. จำนวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0, การศึกษาระดับอนุปริญญา/ปวส. จำนวน 0 คน คิดเปนรอย ละ 0.0, และการศึกษาระดับ ปริญญาเอก จำนวน 0 คน คิดเปนรอยละ 0.0 ตามลำดับ สถานะภาพ พบวา ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญคือ กลุมสมาชิกสภา อบจ.บร จำนวน 20 คน คิดเปนรอยละ 33.3, รองลงมา คือ กลุมเจาหนาที่ อบจ.บร จำนวน 19 คน คิดเปนรอยละ 31.7, กลุมหัวหนาสวน ราชการ จำนวน 18 คน คิดเปนรอยละ 30.0, และกลุมผูบริหาร จำนวน 3 คน คิดเปนรอยละ 5.0 ตามลำดับ สรุปผลการติดตามและประเมินความพึงพอใจที่มีตอโครงการในภาพรวมทุกดาน มีคาเฉลี่ยรวมอยู ในระดับ มากที่สุด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.61) คิดเปนรอยละ 92.28 รายละเอียดแตละดานมีดังนี้ ดานวัตถุประสงคการจัดโครงการ ผลการประเมินความพึงพอใจที่ไดอยูในระดับ มากที่สุด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.65) คิดเปนรอยละ 93.00 ดานการทัศนศึกษาดูงาน ผลการประเมินความพึงพอใจที่ไดอยูในระดับ มากที่สุด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.56) คิดเปนรอยละ 91.17 ดานประโยชนที่ไดรับ ผลการประเมินความพึงพอใจที่ไดอยูในระดับ มากที่สุด มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.63) คิดเปนรอยละ 92.67
17 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 ตารางที่ 8 แสดง คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบน รอยละ สรุปความพึงพอใจในแตละดาน รูปประกอบตารางที่ 8 ดานประโยชนที่ไดรับของการจัดกิจกรรม รายการ / ประเด็นความพึงพอใจ คาเฉลี่ย ( ¯x ) สวน เบี่ยงเบน (S.D.) รอยละ (%) แปรผล อันดับ สรุปผลการดำเนินโครงการฯ ในภาพรวม 1. ดานวัตถุประสงคการจัดโครงการ 4.65 0.48 93.00 มากที่สุด 1 2. ดานการทัศนศึกษาดูงาน 4.56 0.64 91.17 มากที่สุด 3 3. ดานประโยชนที่ไดรับของการจัดกิจกรรม 4.63 0.55 92.67 มากที่สุด 2 คาเฉลี่ยรวม 4.61 0.56 92.28 มากที่สุด 4.65 4.56 4.63 4.61 4.50 4.52 4.54 4.56 4.58 4.60 4.62 4.64 4.66 ดานที่ 1 ดานที่ 2 ดานที่ 3 รวม สรุปผลการดําเนินโครงการฯ ในภาพรวม
18 โครงการศึกษาดูงานคณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่ องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1 สรุปผลการดำเนินโครงการฯ ในภาพรวม ผูตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจของการดำเนินโครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิก สภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ขององคการ บริหารสวนจังหวัดบุรีรัมยประจำป 2566 รุนที่ 1 ภาพรวมของโครงการอยูในระดับ มากที่สุด มีคาเฉลี่ย (¯x =4.61) คิดเปนรอยละ 92.28 รายการประเมินความพึงพอใจทั้งหมด 3 ดาน ดานที่ไดรับความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ดานที่ 1.ดานวัตถุประสงคการจัดโครงการ มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.65) คิดเปนรอยละ 93.00 รองลงมา คือ ดานที่ 3.ดานประโยชนที่ไดรับของการจัดกิจกรรม มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.63) คิดเปนรอยละ 92.67 และดานที่ 2.ดานการทัศนศึกษาดูงาน มีคาเฉลี่ย (¯x = 4.56) คิดเปนรอยละ 91.17 ตามลำดับ สรุปขอเสนอแนะ - โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติหนาที่ สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย - การบริหารจัดการโครงสรางพื้นฐาน/การทองเที่ยวเชิงสุขภาพ - แหลงเรียนรูดานการสงเสริมนวัตกรรมอาชีพใหม ๆ - การพัฒนาการศึกษาของเด็ก - อยากไปดูการจัดการโรงเรียนในสังกัด อบจ.และนำแนวทางมาจัดการโรงเรียนในสังกัดใหพัฒนาดีขึ้น ตามลำดับ - จัดทำงบประมาณเพื่อจัดทำโครงการใหมากขึ้นแก ส.อบจ.บร - ศึกษาดูงานดานการศึกษาและการทองเที่ยว จ.ภูเก็ต - ควรจัดลำดับการไปดูงานใหตอเนื่องไมตองขับรถกลับไปกลับมา - อยากให อบจ.บุรีรัมย มีศูนยแบบ SK Park บาง เพื่อให เด็ก เยาวชน และประชาชนทั่วไป ไดมีที่อานหนังสือและมีสถานที่ทำกิจกรรมในวันวางได
ภาคผนวก
รวมภาพกิจกรรม โครงการศึกษาดูงาน คณะผูบริหาร สมาชิกสภาองคการบริหารสวนจังหวัด หัวหนาสวนราชการและเจาหนาที่องคการบริหารสวนจังหวัดบุรีรัมย ประจำป 2566 รุนที่ 1