The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Callmepeach Psk, 2020-02-19 22:46:45

โครงงานคอมพิวเตอร์แอพพลิเคชั่น Readable

รายงานการศกึ ษาค้นคว้า

เรือ่ ง Readable

คณะผจู้ ัดทา

นายจริ าเจตน์ อันเพช็ รดี เลขท่ี 3

นายพงศภ์ รณ์ ยงยันต์ เลขที่ 4

นายกวิน เก่งเกตุ เลขท่ี 7

นายธัญพิสษิ ฐ์ พลอทุ ัย เลขที่ 9

นายพสั กร เจรญิ จิตร เลขท่ี 10

นางสาวกัลยกร เลศิ ถวิลจิร เลขท่ี 25

ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/1

ครูทปี่ รึกษา
นายปรชี า กิจจาการ

โรงเรยี นราชวนิ ติ บางแกว้
สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 6
สงั กัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน



ช่อื คณะผจู้ ดั ทา : 1.นายจิราเจตน์ อนั เพ็ชรดี

2.นายพงศภ์ รณ์ ยงยันต์

3.นายกวนิ เกง่ เกตุ

4.นายธญั พิสษิ ฐ์ พลอุทัย

5.นายพสั กร เจริญจติ ร

6.นางสาวกลั ยกร เลิศถวลิ จิร

ชื่อเรอ่ื ง : Readable

รายวิชา : โครงงานคอมพวิ เตอร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้ : วิทยาการคานวณ

ครทู ป่ี รึกษา : นายปรชี า กิจจาการ

ปกี ารศึกษา : 2562

บทคดั ย่อ

โครงงานเร่อื ง Readable มวี ัตถปุ ระสงค์เพื่อศึกษาวิธีการอ่านหนงั สือที่รวดเร็วและแม่นยาทถ่ี กู ต้อง สง่ ผล
ให้มีประสทิ ธภิ าพมากทีส่ ดุ จากผลการศกึ ษาวิจัยเรื่อง Readable สรปุ ผลไดด้ ังน้ี สอ่ื ให้ความรู้เก่ียวกบั วิธกี ารอ่าน
หนังสอื อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเขา้ ถงึ บุคคลโดยทั่วไปได้โดยง่าย รวมไปถึงบุคคลทั่วไปสามารถนาความรู้ท่ี
ไดร้ ับจากสื่อไปใช้ไดจ้ ริงทั้งในชีวติ ประจาวัน การศึกษา การค้นคว้าหาความรู้เพ่ือพฒั นาและตอ่ ยอดองค์ความรขู้ อง
ตนเองอย่างมีประสิทธภิ าพ ท้งั น้ีจากการสอบถามความพึงพอใจของผูใ้ ช้งานจริง พบว่าผ้ใู ช้งานมคี วามพึงพอใจใน
ตัวแอพ Readable คอ่ นข้างมาก ทั้งในรูปลกั ษณ์ เนื้อหาและการใช้งาน เนอ่ื งจากผู้ใช้สามารถเขา้ ถึงแอพได้อย่าง
สะดวก ระบบภายในแอพเขา้ ใจไดง้ ่าย อีกท้ังความรทู้ ี่ไดย้ งั สามารถนาไปประยุกตใ์ ชไ้ ดจ้ รงิ อกี ด้วย



กิตตกิ รรมประกาศ

คณะผจู้ ดั ทาขอขอบพระคุณ คุณครูปรีชา กิจจาการ ครทู ป่ี รึกษางานวจิ ัยทค่ี อยช่วยให้คาแนะนา
ใหค้ าปรึกษาและช่วยแกไ้ ขขอ้ ผดิ พลาดของงานวจิ ยั ทาให้งานวจิ ยั สามารถสาเร็จลุลว่ งไปได้ด้วยดี ขอขอบคุณ
ผู้ปกครองของนกั เรยี นในกลุ่ม ขอขอบคุณเพ่ือนในกลมุ่ ทกุ คนทใ่ี หค้ วามช่วยเหลือ ตลอดจนคาแนะนา ประโยชน์ใน
การทาโครงงาน และผู้ทีเ่ ก่ยี วขอ้ งทกุ ท่านมา ณ ท่ีน้ี ที่มีสว่ นช่วยเหลือให้โครงงานสาเรจ็ ลลุ ว่ ง

คณะผู้จดั ทา

สารบัญ ค

เรอ่ื ง ก
บทคดั ย่อ ข
กติ ติกรรมประกาศ 1
บทท่ี 1 บทนา 3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ยี วข้อง 11
บทที่ 3 วิธกี ารดาเนินงาน 12
บทท่ี 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล 13
บทที่ 5 สรปุ ผลและอภิปราย 15
บรรณานกุ รม ง
ภาคผนวก

บทท่ี 1

บทนา

ทม่ี าและความสาคญั

ปัจจบุ ันความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยสี ารสนเทศก่อใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงอนั ย่ิงใหญ่ ตอ่ ทุกวงการทัว่ โลก
รวมทงั้ วงการการศึกษาของไทยดว้ ย และผลพวงทตี่ ามมาในแง่ของเทคนิค วธิ กี ารเก่ียวกับการศึกษา และ
กระบวนการเรยี นรู้ทจ่ี ะเปล่ยี นไปจากกระบวนการเรยี นรแู้ บบเดมิ เป็นกระบวนการเรียนรู้ท่ีไม่มีขีดจากดั ดว้ ยการ
พฒั นาของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ทาใหป้ ระเทศต่างๆทวั่ โลกหนั มาให้ความสาคัญและสนใจในการพฒั นา เทคโนโลยี
สารสนเทศเพ่ือให้เกิดประโยชนส์ ูงสุดแก่ผู้เรยี นในทุกระดับ มกี ารใช้เคร่ืองคอมพวิ เตอร์และสือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์มาก
ข้นึ ผเู้ รยี นร้รู นุ่ ใหม่จะเป็นผเู้ รียนทรี่ ักในการศกึ ษาค้นคว้า เรยี นร้ดู ้วย สรา้ งสรรค์ ส่งิ ใหมๆ่ มีความรูท้ กั ษะทจี่ าเปน็
ต่อการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาตนเองมากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศจึงไดก้ ลายเป็นปัจจยั ทส่ี าคัญในการพัฒนาประเทศ
การจดั การศกึ ษาจงึ ตอ้ งปรบั เปล่ียน โดยการปรับเอาเทคโนโลยสี ารสนเทศเขา้ มาใชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ นทุกๆ ด้าน จึง
ได้มขี ้อกาหนดไวใ้ นพระราชบัญญตั กิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ.2542 วา่ ดว้ ย รฐั ต้องสง่ เสริมและสนับสนุนใหม้ กี ารผลติ
ส่อื เทคโนโลยี เพือ่ การศึกษา รวมทงั้ ให้มีการพัฒนา บุคคลากรด้านการผลติ และผู้ให้มีความสามารถ มที ักษะ
ตลอดจน ใหม้ ีประสิทธิภาพที่จะพัฒนาเพื่อให้เกดิ ความร้คู วามสามารถและทักษะเพยี งพอท่จี ะใช้เทคโนโลยี
การศึกษา ในการแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเองไดอ้ ย่างตอ่ เนื่องตลอดชวี ิต ซึ่งเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติฉบบั นี้ ได้
ประกาศชัดว่าประชาชนทุกคนสามารถเขา้ ถงึ การศึกษาเพื่อการเรียนรู้และพฒั นาตนเอง อยา่ งต่อเนอ่ื งและสาระ
ทัง้ หมดของพระราชบัญญตั ิฉบบั นี้ ตอ้ งการให้คนไทยนน้ั ได้มี "ชวี ิตแห่งการเรยี นรู้ "สังคมไทยให้ไปส"ู่ สังคมแหง่ ภูมิ
ปัญญา "อยา่ งแทจ้ ริง”

จากเหตผุ ลดังกลา่ ว ผจู้ ัดทาจึงสนใจท่ีส่ือความร้เู พ่ือการประยุกตใ์ ชต้ ่อในชีวิตประจาวนั เรือ่ งแนวทางใน
การอ่านหนังสือที่มีประสิทธภิ าพของคนส่วนใหญซ่ ่ึงถือไดว้ ่าเปน็ แนวทางหน่งึ ในการนาเทคโนโลยีทางการศึกษามา
ประยกุ ต์ใช้ร่วมกับระบบเครอื ขา่ ยทใี่ หญ่ทีส่ ดุ ในโลก ด้วยเห็นว่าต่อผู้ที่สนใจในหลายๆด้าน โดยผสู้ นใจสามารถ
เรียนรู้ไดด้ ว้ ยตัวเอง ไม่ว่าจะเรยี นรเู้ รว็ หรือชา้ ก็สามารถบรรลุจุดมงุ่ หมายไดเ้ หมอื นกัน

2

วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงาน

1.เพื่อพัฒนาสอ่ื ความรู้เพื่อการประยุกตใ์ ชต้ ่อในชีวิตประจาวัน
2.เพื่อใชเ้ ปน็ ส่ือในการศึกษาให้กับผู้ที่สนใจ

ขอบเขตของโครงงาน

1.ขอบเขตดา้ นเนื้อหา ทางกลมุ่ ของเราสนใจที่จะนางานวิจัยจากการสารวจความคิดเห็นของนักเรยี นเพ่ือ
เป็นการศึกษาแนวทางในการอา่ นหนังสือทีม่ ปี ระสิทธภิ าพของคนสว่ นใหญ่มาเป็นกรณีศึกษาของโครงงานน้ี

2. โปรแกรมทใี่ ช้ในการดาเนินงาน ได้แก่
2.1 Thunkable
2.2 E-book
2.3 Google Form
2.4 Adobe Photoshop
2.5 Camtasia studio 9

ผลทคี่ าดว่าจะได้รับ

1.ไดเ้ รยี นรูแ้ ละสามารถพฒั นาสอื่ ความรู้ทส่ี ามารถใชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ ไดจ้ รงิ
2.ได้นาเอาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์สูงสุด
3.สามารถนาความรู้ที่ได้รบั จากการศึกษาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้

บทท่ี 2

เอกสารและงานวจิ ัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง

ในการศึกษางานวจิ ัย เรอ่ื ง Readable คณะผจู้ ัดทาโครงงานได้รวบรวมทฤษฎีและหลกั การตา่ งๆจาก
เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กีย่ วข้องดังต่อไปน้ี

1.เทคนคิ กับการอา่ น
1.1 เทคนิคการอ่านอย่างรวดเร็วและมีประสทิ ธิภาพ
1.2 เทคนิค SQ 3R ของ Dr.Francis Robinson
1.3 เทคนคิ การอ่านตาราเรยี นให้ดี
1.4 การศึกษาตามหลกั SOAR
1.5 เทคนิคการอา่ นหนังสือประเภทตา่ งๆ
2. เคลด็ ลับอ่านหนังสอื ยังไงใหจ้ าเรว็ และแมน่
3. การอ่านอย่างมปี ระสิทธิภาพ
4. สรปุ หนังสอื เทคนคิ อ่านให้ไม่ลืม ท่จี ติ แพทย์อยากบอกคุณ
5. สือ่ การศึกษาหรือสอื่ การสอน
6. Thunkable
7. โครงงานและงานวจิ ยั ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

1.เทคนิคกับการอา่ น
1.1 เทคนคิ การอา่ นอยา่ งรวดเร็วและมีประสิทธภิ าพ

1. เร่ิมอา่ นหนงั สืออย่างง่ายและสนกุ
2. อา่ นสมา่ เสมอทกุ วันในช่วงเวลาส้ัน ๆ
3. มีความตัง้ ใจทจ่ี ะอ่านใหเ้ ร็วกวา่ เดมิ
4. กาหนดเวลาในการอ่าน ๆ ใหแ้ น่นอน เช่น 30 นาที 1 ชั่วโมง
5. จบั ใจความให้ไดด้ ้วยการทดลองทานายเน้ือเร่ืองล่วงหน้าและทดลองทานายเนื้อเร่ือง
6. ศึกษาศัพท์ ความหมายของคาท่ใี ช้ คาใดที่ไม่แน่ใจควรทาเคร่ืองหมายไว้เพื่อกลับมาศึกษาภายหลัง
7. อย่าพยายามเคลื่อนไหวสายตายอ้ นกลับ จะทาใหเ้ กิดความสับสน
8. อา่ นโดยกวาดสายตาไปเร่ือย ๆ
9. อา่ นในใจ ไม่พึมพา หรือทาปากขมุบขมบิ
10. จดบันทึกผลความก้าวหนา้

4

1.2 เทคนิค SQ 3R ของ Dr.Francis Robinson

1. สารวจ (Survey) ส่วนตา่ ง ๆ ของหนงั สือ เชน่ คานา สารบญั บรรณานุกรม
2. ตัง้ คาถาม (Question) จากเนือ้ หา
3. อา่ นหาคาตอบ (Reading)
4. ระลกึ (Recall) สิง่ ทอ่ี ่านผา่ นมาแลว้
5. ทบทวน (Review)

1.3 เทคนิคการอ่านตาราเรียนให้ดี

1. สารวจหนังสอื : เพือ่ ทาความคุ้นเคย
2. อา่ นแนวคิดหลัก : จับประเด็นสาคัญ
3. ต้ังคาถามขณะอ่าน : อะไร ทาไม อยา่ งไร ใคร เมื่อไหร่
4. เน้นประเดน็ สาคญั : ทาเครอ่ื งหมายวรรคตอน
5. ประสานคาบรรยายกับตารา ; ชว่ ยใหเ้ ข้าใจลกึ ซึ้ง
6. ทบทวนบ่อย ๆ : จะจาไดด้ ี

1.4 การศกึ ษาตามหลัก SOAR

S = Survey สารวจหรือสร้างความค้นุ เคยกอ่ นอา่ น โดยการอา่ นที่มา คานา สารบัญ และหัวขอ้ สรปุ ของแต่ละบท
รวมถึงสงั เกตรูปแบบของหนังสอื ตรวจสอบหนงั สอื อา้ งอิง ดชั นี
O = organize เรยี บเรียงหรอื จดสิง่ ที่ไดอ้ ่าน ทาเคร่ืองหมายเนน้ ประเดน็ สาคัญ ประเด็นรองเม่ืออา่ น จดย่อ
A = Anticipate ทดลองทาแบบฝึกหดั ตอบคาถามหรอื ทดสอบ
R = Recite and Review หัดทอ่ งจาและทบทวนเสมอ ๆ

1.5 เทคนิคการอา่ นหนงั สือประเภทต่างๆ

วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ : ไม่ควรอ่านรวดเดยี วจบเลม่ ควรอ่านแล้วหยุดพักเปน็ ตอน ๆ ไป
ประวัติศาสตร์ ภูมศิ าสตร์ : ควรอา่ นตะลยุ รวดเดียวไปจนจบเพือ่ ให้เร่อื งราวสัมพันธต์ ่อเนือ่ งกนั
วรรณคดี : อ่านอย่างรอบคอบ ถีถ่ ว้ น อา่ นชา้ ๆ ไม่รีบเร่ง ปล่อยอารมณ์ ให้คล้อยตามคาบรรยาย ถ้าอา่ นเพ่ือ
การศกึ ษาควรมีการวเิ คราะห์เร่ืองราวบทบาทของตวั ละคร ตลอดจนส่วนอ่นื ๆ ของวรรณคดี
นติ ยสารและหนังสอื พมิ พ์ : ควรใชว้ ิจารณญาณ พจิ ารณาอยา่ งรอบคอบ ไม่เชอื่ ทุกอย่างตามท่ีขา่ วรายงาน

5

2. เคล็ดลับอ่านหนังสอื ยงั ไงใหจ้ าเรว็ และแมน่

1. อา่ นหนา้ สรุปก่อน
หนังสือส่วนใหญ่มกั เขยี นอธิบายอย่างละเอยี ด ใช้ประโยคท่ีตอ้ งอา่ นซ้า ๆจึงจะเขา้ ใจ โดยเฉพาะในหน้าแรก ๆ ของ
บท ซง่ึ เปน็ การเขียนเกร่ินแนะนาให้อา่ น แต่ในทางกลบั กัน บทส่งท้าย หรอื บทสรุป จะเป็นส่วนที่ผเู้ ขียนสรปุ ข้อมูล
ทง้ั หมดท่ไี ด้กล่าวมา อีกทง้ั เมอื่ กลับมาอ่านหนา้ แรกกท็ าให้เราสามารถอ่านไดเ้ ข้าใจมากข้ึน การอ่านสว่ นบทสรปุ จึง
ทาให้เราเหน็ ภาพครา่ วๆ ของเน้อื หาท่ตี อ้ งเรียน
2. ใชป้ ากกาไฮไลต์เพ่อื นเนน้ ใจความสาคญั
การไฮไลต์ข้อความนั้นมีประโยชน์มาก “หากใช้อย่างถูกวิธี” ไม่ควรไฮไลต์ทุกอย่างในหน้า และไม่ควรไฮไลต์น้อย
จนเกินไป ส่ิงที่ควรทาคือ การไฮไลต์ข้อความหัวข้อสรุป หรือใจความสาคัญเด่น ๆ เมื่อเราเปิดหนังสือมาอ่านอีก
คร้ัง เราจะสามารถทราบทกุ อย่างที่จาเป็นตอ้ งรดู้ ้วยการมองเพยี งครง้ั เดียว
3. ดูสารบญั และหัวข้อยอ่ ย
ทาให้เรารู้ใจความสาคัญของสิ่งท่ีผู้เขียนต้องการส่ือได้อย่างดี เพราะผู้เขียนมักจะกล่าวถึงประเด็นสาคัญซ้า ๆ ใน
ทกุ สว่ นของหนงั สือ
4. ขวนขวายกนั สกั นดิ
แทนที่จะซึมซับทุกอย่างจากการอ่านหนังสือเพียงเล่มเดียวหาหนังสือเล่มอ่ืน ๆ ในห้องสมุด หรือในอินเตอร์เน็ตท่ี
เก่ียวข้องกับเนื้อหาท่ีเรียนมาอ่าน เพราะหนังสือบางเล่มพูดถึงเรื่องเดียวกันแต่เขียนได้น่าอ่าน อ่านเข้าใจง่าย มี
ภาพประกอบเพม่ิ
5. พยายามอย่าอ่านทุกคา
หลายคนคิดว่าการอ่านทุกคาจะช่วยให้จดจาข้อมูลได้อย่างละเอียด แต่ความจริงไม่เป็นเช่นนั้น เพราะสมองจะ
ไดร้ ับขอ้ มลู มากเกนิ ไปและเกิดความล้า เบือ่ หน่ายจนตาลอยอ่านหนงั สอื ไม่เข้าหวั ในท่สี ดุ ที่เปน็ เช่นนี้เพราะหนงั สือ
ทีไ่ ม่ไดอ้ ย่ใู นประเภทนิยายมักจะถูกเขียนอธบิ ายซ้า ๆ เพราะผู้เขียนตอ้ งการจะกล่าวอธิบายให้กระจ่าง แต่ใจความ
สาคัญจริง ๆ แล้วอยู่ที่บทสรุปเพียงไม่กี่ย่อหน้า หนังสือส่วนใหญ่ใส่ข้อมูลหลักฐานจนแน่นมากกว่าจะกล่าวถึง
ประเดน็ ซงึ่ กเ็ ปน็ เรอื่ งดีและน่าสนใจ แตท่ ุกหลักฐานที่อ้างนัน้ กก็ ล่าวถึงประเด็นเดียว การอ่านเพมิ่ เตมิ กเ็ ป็นการย้า
ถึงประเดน็ เดิม ดงั นน้ั จึงควรเลือกหลักฐานทนี่ ่าสนใจที่สุดแลว้ อา่ นบทต่อไป
6. เขียนสรุปมุมมองของผ้อู า่ น
คนส่วนใหญ่ไม่ชอบการเขียน แต่การเขียนนั้นเป็นวิธีการที่งา่ ยท่ีสดุ ในการรวบรวมข้อมูลสาคัญในระยะเวลาอันสั้น
หากเป็นไปได้ให้เขียนใจความสาคัญในแบบฉบับของเราใน 1 หน้ากระดาษ โดยพูดถึงประเด็นท่ีผู้เขียนต้องการจะ
สื่อ ยกตัวอย่างส้ัน ๆ และคาถามหรือความรู้สึกของเราท่ีต้องการการค้นคว้าเพื่อหาคาตอบต่อไปให้ดีย่ิงขึ้น การ
เขยี นมมุ มองของผู้อา่ นเชน่ น้ี เป็นเครอ่ื งมือที่ช่วยใหเ้ ราทราบถึงประเดน็ สาคญั ของหนังสือเช่นเดยี วกับการไฮไลต์

6
7. อภิปรายกับผอู้ ่ืน
คนส่วนมากไม่ชอบการทางานกลุ่ม แตก่ ารจับกลุ่มกันพูดถึงเนอ้ื หาของหนังสอื ที่ต้องอ่านช่วยทาให้เราจาได้ง่ายขึ้น
บางคร้งั อาจพูดถึงหนังสอื ในแง่ตลก ๆ กจ็ ะทาใหเ้ ราจาประเด็นนั้นไดเ้ มื่อเราอย่ใู นหอ้ งสอบ เพราะเราจะคิดถงึ เรอ่ื ง
ตลกก่อน เป็นการใชห้ ลักการเช่ือมโยงขอ้ มูลที่ทาให้สมองของเราทางานได้งา่ ยขึ้น การพูดคุยเกยี่ วกบั หนงั สือท่ีอ่าน
ช่วยทาให้เราได้รับข้อมูลเพิ่มเติมจากบางส่วนท่ีเรามองข้ามไป บางคนนั้นชอบเรียนรู้โดยการฟัง และมักจะเรียนรู้
ได้ดีที่สุดเมื่อได้ยินข้อมูล ดังน้ันการพูดคุยสนทนาถกเถียงประเด็นท่ีอยู่ในหนังสือจะทาให้เราจาประเด็นสาคัญน้ัน
ไดด้ ีเมอื่ ไดฟ้ งั ผ่านหู ทาใหเ้ ราสามารถระลกึ ถงึ ขอ้ มูลส่วนนน้ั ไดเ้ ม่ืออยู่ในการสอบ
8. จดคาถามข้อสงสัยทเี่ กดิ ขึ้นระหวา่ งการอา่ น
หัวใจหลักของเทคนิคน้ี คือการตั้งคาถาม อย่าเชื่อว่าผู้เขียนน้ันเขียนได้ถูกต้องซะทีเดียว ให้จดจ่อกับส่ิงที่อาจและ
ใช้ความคดิ เชงิ วิเคราะหใ์ นการอา่ น เช่น
- ทาไมผูเ้ ขียนจึงกลา่ วเช่นน้นั
- หลักฐานคาอธิบายน้ีเปน็ จริงหรือ
- ประเด็นนี้เกีย่ วข้องกับข้อโต้แย้งของผเู้ ขียนอยา่ งไร
- ผู้เขยี นตอ้ งการสอื่ ขอ้ ความนีใ้ หแ้ ก่ใคร

3.การอา่ นอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

การอ่าน นับว่าเป็นทักษะท่ีสาคัญอย่างมากสาหรับนักเรียนนักศึกษา เพราะจะต้องศึกษาหาความรู้ด้วย
ตนเองจากสื่อหลัก คือ เอกสารการสอนเป็นสาคัญ ในเรื่องการอ่านบางคนมีความสามารถในการอ่านได้เร็วและ
เข้าใจในเนอ้ื หาท่ีอ่าน แต่บางคนอา่ นได้ช้าและบางคร้ังยังไม่ค่อยเข้าใจในสิ่งท่ีอ่านไปดว้ ย ซง่ึ ถ้าสามารถอ่านได้เร็ว
ก็จะทาให้มีเวลามากกว่าคนอ่ืน ๆ ในการทบทวนตาราก่อนสอบ หรือมีเวลาสาหรบั ทากิจกรรมอยา่ งอ่นื ไดม้ ากกว่า
คนท่ีอ่านได้ช้า การอ่านหนังสือไม่ใช่เพียงแค่อ่านข้อความตามตัวหนังสือท่ีมีไว้ในหนังสือให้จบเล่มเท่านั้น แต่การ
อ่านนั้นมีจุดประสงค์สาคัญคือการรับรู้ความหมาย และทาความเข้าใจกับข้อความท่ีเขียนเป็นตัวหนังสือ การจะ
อ่านหนังสือให้มีประสิทธิภาพ ก็ต้องรู้ว่าก่อนว่า อะไรเป็นสาเหตุท่ีทาให้อ่านหนังสือได้ขาดประสิทธิภาพ และ
พยายามแก้ไขตามสาเหตเุ หล่านัน้
สาเหตุท่ที าให้การอา่ นหนงั สือขาดประสิทธภิ าพ มดี งั นี้
1. การอ่านทลี ะคา
2. การอ่านออกเสียง
3. ปัญหาเก่ียวกบั ศัพทเ์ ฉพาะ
4. การใชว้ ธิ ีเดียวกนั ตลอดในการอ่านทุกประเภท

7
ขอ้ เสนอแนะท่ีช่วยใหน้ ักศึกษาอ่านอย่างมีประสทิ ธิภาพ
1. ไมอ่ า่ นทลี ะคา
การอ่านทีละคาทาให้อ่านหนังสือได้ช้า เพราะมุง่ หาความหมายของคาทีละคา สามารถแก้ไขได้โดยการจบั ใจความ
สาคญั ของประโยคด้วยการใชส้ ายตาเพียงคร้ังเดียว และได้ความหมายทนั ที
2. ไม่อ่านออกเสียง
การอ่านหนังสือออกเสียงไปทีละตัว โดยทั่วไปติดมาจากนิสัยการอ่านสมัยช้ันประถม การอ่านออกเสียงไม่ว่าจะมี
เสียงออกมาหรือมีเสียงในคอ การอ่านแบบนี้อ่านได้ช้าเพราะมุ่งแต่ออกเสียงตามตัวหนังสือท่ีปรากฎ การอ่านได้
เร็วสามารถแก้ไขไดโ้ ดยพยายามทาให้การมอง เห็นรูปทรง และการประสมคาของตัวหนังสือ สามารถผ่านขั้นตอน
การรับรู้ไปสู่สมอง โดยไม่ต้องเสียเวลาพินิจพิเคราะห์ว่า มันมีเสียงอะไรการแก้ไขให้ใช้น้ิวปิดปากในขณะอ่าน
ตลอดเวลาจะทาให้อ่านได้ดีขน้ึ และเมอื่ ปฏบิ ัตเิ ช่นนี้จนติดเปน็ นิสัยแล้ว จะพบวา่ ทาให้อา่ นไดร้ วดเร็วยง่ิ ข้ึน
3. ไม่มกี งั วลเก่ียวกบั ศพั ทเ์ ฉพาะ
การหยุดและกังวลเก่ียวกับคาศัพท์ที่ไม่เคยเห็นมาก่อนจะทาให้จังหวะในการอ่านและแนวคิดในการอ่านประโยค
นัน้ หายไป ดงั น้นั แม้ว่าจะไม่รู้ศพั ทบ์ างคาก็สามารถหาความหมายของศพั ทน์ ั้นได้ โดยดูจากข้อความในประโยค ถ้า
ใช้ความคิดคดิ ตามตลอดเร่ือง
4. ไมใ่ ช้วธิ เี ดียวกันตลอดในการอา่ นทุกประเภท
ควรใชว้ ิธีการอา่ นท่ีแตกตา่ งกนั ในแต่ละเรอื่ งทอ่ี ่าน เช่น อ่านเร่ืองเบาสมองก็อ่านเรว็ ได้ ถา้ อ่านตาราวชิ าการต้องใช้
ความคิดพิจารณาเนื้อเรื่องก็ใช้เวลาอ่านนานข้ึนนั้นคือผู้อ่านต้องรู้จุดประสงค์ของเร่ืองที่จะอ่านด้วย จึงจะได้
ประโยชน์ทแ่ี ท้จริง
5. ไมใ่ ชน้ ิว้ ชี้ข้อความตามไปด้วยในขณะอ่าน
จะทาให้อ่านได้ช้าลง การใช้สายตากวาดไปตามบรรทัดจะเร็วกว่าการใช้น้ิวช้ีเพราะสายตาเคลื่อนท่ีเร็วกว่านิ้ว วิธี
แก้นสิ ัยนี้อาจทาได้โดยใชม้ อื จบั หนังสือหรอื ประสานมือกันไว้ในขณะอา่ นหนังสือ
6. ไมอ่ ่านซา้ ไปซ้ามา
การอ่านเนื้อเรื่องที่ไม่เข้าใจ เป็นการชี้ให้เห็นว่าไม่มั่นใจท่ีจะดึงเอาความสาคัญของเน้ือความน้ันออกมาได้ด้วย
ความสามารถของตนเอง เหตุน้ีจึงทาให้อา่ นช้าลงเพราะคอยคิดแต่จะกลับไปอ่านใหม่ แทนที่จะอ่านไปท้ังหน้าเพ่ือ
หาแนวคิดใหม่ จงพยายามอ่านคร้ังเดียวอยา่ งตั้งใจความคิดท้งั หลายจะคอ่ ย ๆ มาเอง ไม่ต้องกังวลวา่ ตนเองอา่ นไม่
รู้เรอ่ื ง

8

4.สรุปหนังสอื เทคนคิ อ่านใหไ้ มล่ มื ที่จิตแพทย์อยากบอกคณุ

เทคนิคอา่ นแลว้ จาไดไ้ มล่ ืม
1. อา่ นหนังสอื พร้อมจดโน้ตหรือใชป้ ากกาเน้นขอ้ ความส่วนท่ีสาคัญไปด้วยขณะอา่ น ควรเน้นเน้ือหาท่ีเป็นส่ิงใหม่ๆ
ท่คี ุณไม่เคยรมู้ ากอ่ นหรือฉุกคดิ ในสิง่ ท่ีกอ่ นหน้าน้ีไม่เคยสงั เกตเห็น
2. เล่าเนื้อหาให้คนอน่ื ฟงั หรอื แนะนาหนงั สอื ให้คนอ่ืนอ่าน
3. เขียนแบง่ ปนั ความรู้สกึ ส่ิงฉุกคิด หรือคาคมจากหนงั สอื ลงบนเฟสบคุ้ หรอื ทวติ เตอร์
4. เขยี นบทวจิ ารณ์หนังสอื ลงบนเฟสบุ้คหรอื อีเมล จดหมายขา่ ว
5. อ่านในขณะว่างช่วงส้ันๆ วิธีนี้เป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพเพราะเวลาท่ีมีจากัดทาให้สมองเราถูกกระตุ้นมากกว่า
การอา่ นไปเร่อื ยๆ
6. ทาความเขา้ ใจเนื้อหาจนสามารถพดู คยุ แลกเปล่ียนความคิดเหน็ กับคนอน่ื เกยี่ วกบั หนังสือได้
เทคนิคการอ่านใหจ้ าได้ไมล่ มื ของจติ แพทย์ฉบับลงภาคสนาม
1. แสกน หาเป้าหมายของการอา่ น – เปิดดูผ่านๆ ท้ังเลม่ ก่อนแล้วค่อยลงมืออ่านแบบจริงจัง เพ่ือให้เข้าใจภาพรวม
ของหนังสือ กาหนดเป้าหมายในการอา่ น และตัดสินใจว่า หนังสือเลม่ นี้ เราควรจะอ่านอย่างครา่ วๆ หรอื อา่ นอย่าง
ละเอยี ด
2. เปิดข้าม ไปอ่านเน้ือหาส่วนที่อยากรู้ก่อน – เปดิ สารบัญและดูว่าเร่ืองไหนท่ีคุณต้องการ การข้ามไปอ่านจะช่วย
ให้คณุ เข้าใจ “สาระ” ของเร่ืองทอี่ ยากรู้ได้เร็วที่สุด ในทางกลับกัน ถ้าคณุ เร่ิมอ่านต้งั แต่หน้าแรก กว่าจะเจอเนือ้ หา
ท่ีคณุ อยากอา่ น กส็ ่งผลใหแ้ รงจูงใจในการอ่านหนงั สือรวมถงึ ประสทิ ธภิ าพในการจาลดลง
3. อ่านหนังสือท่ีรู้สึกว่ายาก – สมองของคนเราจะถูกกระตุ้นให้ทางานมากท่ีสุดตอนที่ต้อง “แก้ปัญหาที่รู้สึกว่า
ยาก” ซ่ึงเราสามารถท้าทายให้ตัวเองได้ด้วยการกาหนดความยากของเน้ือหาและระดับความเร็วในการอ่าน จุดที่
ต้องระวังก็คือ ถ้ากาหนดให้ง่ายหรือยากเกินไป สารสอื่ ประสาทที่ทาใหเ้ รามีสมาธิและการจดจาได้ดีทชี่ ื่อวา่ ‘โดปา
มีน’ จะไมห่ ลง่ั ออกมา
4. การอ่านอยา่ งมีความสขุ จะช่วยให้จาได้ไม่ลมื – อา่ นเรอ่ื งราวที่ประทบั ใจ ต่อให้ผ่านมาแลว้ หลายสิบปี ก็ยงั จาได้
ไมล่ มื
5. ตีเหลก็ ตอนกาลงั ร้อน ดว้ ยการอ่านหนังสือท่มี เี นือ้ หาต่ืนเต้นเรา้ ใจให้จบในรวดเดยี ว – รบี อา่ นหนังสอื ท่ีเราอยาก
อ่านให้เร็วท่ีสุด เพราะเมื่อพบกับส่ิงที่คิดว่าน่าสนุก เราจะรู้สึกต่ืนเต้นจบส่งผลให้โดปามีนหล่ังออกมา ซึ่งจะทาให้
เราจาเน้อื หาได้ดีขน้ึ

9

5.สอ่ื การศึกษาหรือสือ่ การสอน

ความหมายของสื่อการศกึ ษาหรือสอื่ การสอน (Instructional Media) หมายถงึ สงิ่ ต่างๆ ทีใ่ ช้เป็นเคร่อื งมือ
หรือช่องทางสาหรับทาให้การสอนของครูไปถึงผู้เรียน และทาให้ผู้เรียนเรียนรู้ตามจุดประสงค์ หรือจุดมุ่งหมายท่ี
วางไว้เป็นอย่างดี สื่อท่ีใช้ในการสอนน้ี อาจจะเป็นวัตถุส่ิงของท่ีมีตัวตน หรือไม่มีตัวตนก็ได้ เช่น วัตถุส่ิงของตาม
ธรรมชาติ ปรากฎการณ์ตามธรรมชาติ วัตถุส่ิงของท่ีคิดประดิษฐ์หรือสร้างขึ้นสาหรับการสอน คาพูดท่าทาง
วัสดุและเครือ่ งมือสื่อสาร กิจกรรมหรือกระบวนการถ่ายทอดความร้ตู ่าง ๆ

ความหมาย ความสาคัญของส่ือการสอน และประเภทของส่ือการสอน นักวิชาการในวงการเทคโนโลยีทาง
การศกึ ษา โสตทัศนศกึ ษา และวงการการศึกษา ไดใ้ หค้ าจากัดความของ “สื่อการสอน” ไว้อย่างหลากหลาย เชน่

ชอร์ส กล่าวว่า เครื่องมือที่ช่วยสื่อความหมายจัดขึ้นโดยครูและนักเรียน เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ เคร่ืองมือ
การสอนทุกชนิดจัดเป็นส่ือการสอน เช่น หนังสือในห้องสมุด โสตทัศนวัสดุต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ สไลด์ ฟิล์ม
สตริป รูปภาพ แผนท่ี ของจรงิ และทรพั ยากรจากแหลง่ ชุมชน

บราวน์ และคณะ กล่าวว่า จาพวกอุปกรณ์ทั้งหลายที่สามารถช่วยเสนอความรู้ให้แก่ผู้เรียนจนเกิดผลการ
เรียนที่ดี ท้ังน้ีรวมถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่ไม่เฉพาะแต่ส่ิงท่ีเป็นวัตถุหรือเครื่องมือเท่าน้ัน เช่น การศึกษานอกสถานที่
การแสดง บทบาทนาฏการ การสาธติ การทดลอง ตลอดจนการสัมภาษณ์และการสารวจ เปน็ ตน้

เปรื่อง กุมุท กล่าวว่า ส่ือการสอน หมายถึงสิ่งต่าง ๆ ที่ใช้เป็นเครื่องมือหรือช่องทางสาหรับทาให้การสอน
ของครถู ึงผู้เรยี นและทาให้ผูเ้ รียนเรียนรู้ตามวตั ถุประสงคห์ รือจดุ มุ่งหมายท่คี รูวางไว้ไดเ้ ป็นอย่างดี

ชัยยงค์ พรหมวงศ์ ให้ความหมาย ส่ือการสอนว่า วัสดุอุปกรณ์และวิธีการประกอบการสอนเพ่ือใช้เป็น
ส่ือกลางในการส่อื ความหมายทีผ่ ู้สอนประสงคจ์ ะสง่ หรอื ถ่ายทอดไปยงั ผู้เรยี นได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

6.Thunkable

Thunkable เป็นเคร่ืองมือสร้างโมบายแอปพลิเคชัน เพ่ือติดตั้งบนสมาร์ตโฟนที่ใช้ระบบปฏิบัติการ
Android, iOS โดยเครื่องมือท่ีใช้ในการสร้างน้ัน นอกจากเคร่ืองมือพื้นฐานแล้ว ยังมีการเชื่อมต่อไปยังผลิตภัณฑ์
จาก Google , Twitter และ Microsoft โดยชุดคาส่งั หลังจากทอี่ อกแบบหนา้ จอด้วยเคร่ืองมอื ต่าง ๆ Thunkable
คอื เว็บไซต์ท่ีให้เราสามารถสร้างโมบายแอปพลิเคชัน สวยๆ ใช้งานได้ และมีประโยชน์ ตามแนวคิด “Thunkable
enables anyone to create beautiful and powerful mobile apps” สามารถเข้าไปทดลองใช้งานได้ที่
https://thunkable.com

ผู้สร้างโมบายแอปพลิเคชัน สามารถแสดงถึงแนวคิดการเขียนโปรแกรมเป็นบล็อก ได้โดยง่ายด้วย
ภาษาอังกฤษอย่าง แต่ต้องมีการฝึกฝนเครื่องมือและชุดคาส่ังให้คล่องและปฏิบัติการด้านโปรแกรมทดลองแยก
ออกเปน็ ส่วน ๆ

10
การสร้างแอปพลิเคชัน จาก Thunkable

- เขา้ ใช้งานโดยใช้ผู้ใชง้ านจาก Google
- สรา้ งโมบายแอปพลเิ คชันจากขัน้ พ้ืนฐานถึงขนั้ สงู ได้
- สามารถตดิ ตง้ั บนระบบปฏบิ ัติการ Android และ ระบบปฏบิ ัติการ iOS ได้
- สามารถนาขน้ึ ดว้ ย Google Play Store สาหรบั ระบบปฏบิ ัติการ Android และ ข้ึน App Store สาหรับ
ระบบปฏิบตั กิ าร iOS ได้

7.โครงงานและงานวิจัยที่เกีย่ วข้อง

-งานวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอนด้วยแอปพลิเคชันบนสมาร์ตโฟนในรายวิชาโลหิตวิทยา
มหาวทิ ยาลัยหวั เฉียวเฉลิมพระเกียรติ

งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ พัฒนาส่ือการเรียนการสอนบนระบบปฏิบัติการของสมาร์ตโฟนสาหรับ
รายวิชาโลหิตวิทยา หลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิต (เทคนิคการแพทย์) มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติโดย
แอปพลิเคชันนี้สร้างข้ึนบนระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์เพ่ือนาโทรศัพท์มาใช้ในการศึกษา ผลการประเมิน
ประสิทธิภาพโดยรวมของระบบจากผู้เช่ียวชาญ 5 ท่าน ได้ค่าดัชนีความสอดคล้องมากกว่า 0.5 และมีความเป็น
ปรนัยของแบบทดสอบ เม่ือระบบได้ปรับปรุงแก้ไขแล้วจึงทาการวิจัยเชิงทดลองเบื้องต้นในกลุ่มตัวอย่างนักศึกษา
คณะเทคนิคการแพทย์ช้ันปีที่ 3 จานวน30 คน เป็นแผนการทดสอบก่อนและหลังการทดสอบแบบกลุ่มเดียว
ได้ค่าประสิทธิภาพ E2 เท่ากับ 75.53/71.80 (ระดับ 1) และ 73.33/70.47 (ระดับ 2) ตามลาดับ เม่ือประเมินเจต
คติและความพึงพอใจของผู้เรียนด้วยแบบสอบถามจากมาตรการประมาณค่า 5 ระดับ พบว่ามีค่าเฉล่ียความ
พึงพอใจอยู่ที่ระดับมาก (4.20) ส่วนผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนด้วยสถิติPaired-test พบว่า
คะแนนเฉล่ียหลังเรียนมีค่ามากกว่าคะแนนเฉล่ียก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.05 เพื่อหา
พัฒนาการท่ีเพิ่มข้นึ ของผู้เรยี นคณะผวู้ ิจัยจึงนาสื่ออิเล็กทรอนิกสน์ ี้ไปให้นักศึกษาฝึกทักษะในกลุ่มใหญ่จานวน 100
คน แล้วหาค่าดัชนีประสิทธิผล เม่ือวัดเป็นรายกลุ่มได้ค่าดัชนีเท่ากับ 0.65 เพ่ือเป็นการส่งเสริมกิจกรรมทาง
การศึกษาการนาเอาเทคโนโลยีไอซีทีมาใช้ร่วมกับการจัดการเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิงโดยประยุกต์ใช้ร่วมกับ
สมารต์ โฟนนบั วา่ เปน็ เคร่อื งมอื ท่ีเอือ้ ประโยชน์ต่อนักเรยี นผทู้ ี่มอี ปุ สรรคดา้ นการเรยี นรู้

บทท่ี 3

วิธดี าเนนิ การทาโครงงาน
วสั ดุและอุปกรณ์

วัสดุและอปุ กรณท์ ่ีใช้ในการจัดทาโครงงาน ได้แก่
1. เว็บไซต์ Thunkable
2. เว็บไซต์ Anyflip
3. โปรแกรม Adobe Photoshop
4. โปรแกรม Camtasia Studio 9
5. เวบ็ ไซต์ Google Form

วธิ ีการจดั ทาโครงงาน

1. รวบรวมค้นคว้าหาข้อมูลเก่ียวกับการอา่ นหนังสืออย่างมีประสิทธิภาพจากแหลง่ ข้อมูลตา่ งๆ
2. เปดิ ใช้งานเวบ็ ไซต์ Thunkable แลว้ จัดวางหน้าต่างโดยใชค้ าสั่ง Screen ใหไ้ ดจ้ านวนหนา้ ทต่ี อ้ งการ
3. ทาการจัดองคป์ ระกอบในหนา้ ตา่ งๆ โดยใชค้ าส่งั Row เพ่ือแบง่ หนา้ ตามจานวนทีต่ ้องการ
4. วางคาส่งั Button ในหนา้ ตา่ งๆ เพื่อเชือ่ มหน้าตา่ งๆ เข้าดว้ ยกัน
5. ทาการเขียน Code Box เพ่อื ให้แอพฯ ใช้ฟังกช์ น่ั ตา่ งๆ ไดส้ มบรู ณ์
6. วาง Label ในหนา้ ตา่ งๆและกรอกข้อมูลที่ค้นคว้ามาลงไป
7. ใช้โปรแกรม Adobe Photoshop สร้างภาพพื้นหลังและจดั เป็นภาพพนื้ หลัง
8. ใชโ้ ปรแกรม Camtasia Studio 9 ตดั ต่อเสียงไวใ้ ช้สาหรับทาเสยี งในแอพ
9. จัดวางคลปิ วดิ โี อ ลิงคแ์ บบประเมนิ ความพึงพอใจทจ่ี ดั ทาโดยใช้เว็บไซต์ Google Form และลงิ ค์ E-Book ของ
โครงงานที่จดั ทาโดยใชเ้ วบ็ ไซต์ Anyflip ไวใ้ นหน้า Home

บทท่ี 4
ผลการดาเนนิ งาน

การจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ “Readable” เกี่ยวกับการพัฒนาสื่อความรู้ด้วย เว็บไซต์ thunkable
เว็บไซต์สาหรับการสร้างแอปพลิเคชั่นหลายๆ รูปแบบ ซ่ึงมีวัตถปุ ระสงค์เพื่อสร้างสื่อความรทู้ ่ีเข้าถึงไดง้ ่ายเพียงแค่
การดาวน์โหลดแอปพลิเคช่ันของทางคณะผู้จดั ทา โดยสามารถประยุกต์ใช้ และตอ่ ยอดให้กลายเป็นแอปพลิเคช่ันท่ี
มีคณุ ภาพและมัลติฟังก์ชัน่ ที่มากกว่ารูปแบบท่คี ณะผู้จดั ทาได้ผลติ ข้ึนมา เพื่อนาไปเผยแพรต่ อ่ แกผ่ ู้ที่มีความสนใจใน
แอปพลเิ คช่ัน

4.1 ผลการพฒั นาแอปพลิเคชั่น Readable

การพัฒนาแอปพลิเคช่ัน Readable ด้วยเว็บไซต์ thinkable โดยผู้จัดทาได้เริ่มดาเนินงานตามขั้นตอน
การดาเนินงานจาก บทท่ี 3 ในการสร้างแอปพลิเคช่ัน Readable ขึ้นมา และเผยแพร่แอปพลิเคช่ัน ลงใน Play
Store จากนั้นได้ให้ผู้คนที่ต้องการจะใช้งานดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น Readable ได้ทุกท่ีทุกเวลาเพียงแค่มี
อินเทอร์เน็ตและเครื่องมือส่ือสารที่สามารถเข้าถึงระบบปฏิบัติการของ Android ได้ มาทดลองใช้งานและออก
ความเห็นต่างๆ และ ได้ทาการบันทึกวิดิโอเก่ียวกับความรู้สึกของผู้ใช้จริง เพื่อใช้ในการประกอบการนาเสนอ
แอปพลิเคชน่ั Readable ในรปู แบบของ วิดทิ ศั นบ์ นเวบ็ ไซต์ www.youtube.com และจะนาความคิดเหน็ เหล่าน้ี
มาพฒั นาแอปพลิเคชัน่ Readable ในอนาคตตอ่ ไป

บทที่ 5

สรุป อภิปรายและขอ้ เสนอแนะ

การจัดทาโครงงานสอื่ ให้ความรู้เก่ียวกับวธิ กี ารอา่ นหนังสอื อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพดว้ ยแอพ Readable
สามารถสรุปผลการดาเนินโครงงาน และข้อเสนอแนะดังน้ี

5.1 การดาเนนิ งานจัดทาโครงงาน

5.1.1 วัตถปุ ระสงคโ์ ครงงาน
1. เพือ่ พฒั นาสอ่ื ความรู้เพ่ือการประยกุ ต์ใชต้ ่อในชีวติ ประจาวัน
2. เพือ่ ใชเ้ ป็นสอ่ื ในการศึกษาให้กบั ผ้ทู สี่ นใจ

5.1.2 โปรแกรมทีใ่ ชใ้ นการดาเนินงาน ได้แก่

2.1 Thunkable

2.2 E-book

2.3 Google Form

2.4 Adope Photoshop

2.5 Camtasia studio 9

5.2 สรปุ ผลการดาเนินโครงงาน

สือ่ ให้ความรูเ้ กยี่ วกบั วิธกี ารอ่านหนงั สอื อยา่ งมีประสิทธภิ าพ สามารถเข้าถึงบุคคลโดยท่ัวไปได้โดยงา่ ย
รวมไปถงึ บุคคลทั่วไปสามารถนาความรู้ท่ไี ด้รบั จากสื่อไปใช้ไดจ้ ริงทัง้ ในชวี ิตประจาวนั การศกึ ษา การคน้ คว้าหา
ความร้เู พ่ือพฒั นาและต่อยอดองค์ความรู้ของตนเองอยา่ งมีประสิทธภิ าพ ทั้งนจ้ี ากการสอบถามความพงึ พอใจของ
ผู้ใชง้ านจริง พบวา่ ผู้ใชง้ านมคี วามพึงพอใจในตวั แอพ Readable ค่อนขา้ งมาก ท้ังในรูปลักษณ์ เน้ือหาและการใช้
งาน เนอื่ งจากผ้ใู ช้สามารถเข้าถึงแอพไดอ้ ยา่ งสะดวก ระบบภายในแอพเขา้ ใจได้ง่าย อกี ท้ังความรทู้ ่ีได้ยังสามารถ
นาไปประยุกต์ใช้ไดจ้ ริงอีกดว้ ย

14

5.3 ข้อเสนอแนะ

5.3.1 ขอ้ เสนอแนะทั่วไป
1. ควรทาเปน็ รูปเลม่ หนังสอื เพือ่ ให้เดก็ ท่ีไม่สามารถเข้าถึงเทคโนโลยสี ามารถเรียนรไู้ ด้
2. ควรจัดใหม้ กี ารสอบถามความพึงพอใจของผใู้ ชง้ านจริงมากขนึ้ เพื่อทจี่ ะได้นาข้อติชมมา
ปรับปรุงและพัฒนาแอพให้ดีย่งิ ขนึ้

5.3.2 ปญั หา และ อปุ สรรค
1. มีข้อมูลทีน่ ามาใช้ทาเป็นเน้ือหาน้อยเกนิ ไป
2. เป็นส่ือใหค้ วามรู้ท่ีต้องใชเ้ ทคโนโลยีทาใหผ้ ทู้ ขี่ าดแคลนหรอื ไม่มที นุ ทรัพย์หรอื เข้าไม่ถึง
เทคโนโลยีไม่สามารถเขา้ ถึงสอ่ื ของเราได้

บรรณานกุ รม

มาโนชญ์ แสงศิริ.//(2562). Thunkable เวบ็ ไซตส์ รา้ งแอพพลเิ คชั่นสาหรบั มือใหม่.//สืบคน้ เมื่อ
13 กมุ ภาพันธ์ 2563,/จาก/https://www.scimath.org/article-technology/item/9099-thunkable

Nongnoi.//(2554).//ความหมายของส่ือการศกึ ษา.//สบื คน้ เมื่อ 13 กมุ ภาพันธ์ 2563,/จาก/
http://paweena1991.blogspot.com/2011/11/blog-post_1223.html

สุรชัย ภริ มย์ไกรพัด.//(2563).//หลักการแนวคดิ การจาแนกส่อื การเรยี นการสอน.//สืบค้นเม่อื 13
กุมภาพันธ์ 2563,/จาก/https://www.gotoknow.org/posts/674910

ฐานขอ้ มลู การศึกษา.//(2562).//8 เคล็ดลบั อา่ นหนังสอื ยังไงให้จาเรว็ และแม่น.//สืบคน้ เมอ่ื 14
กมุ ภาพนั ธ์ 2563./จาก/https://teen.mthai.com/education/79713.html

หอสมุดแห่งชาตเิ ฉลมิ พระเกยี รตฯิ ตรัง.//(2562).//เทคนคิ การอ่านอยา่ งรวดเร็วและมีประสทิ ธิภาพ.//
สืบค้นเม่ือ 14 กมุ ภาพันธ์ 2563./จาก/http://www.finearts.go.th/nlttrang/parameters/km/item.html

บทความแนะแนวการศกึ ษา.//(2562).//การอา่ นอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ.//สืบค้นเม่ือ 14 กุมภาพันธ์
2563./จาก/https://www.stou.ac.th/offices/Oes/Oespage/Guide/article/n4.html



ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version