The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นป,2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ufykkgg.2457, 2022-01-09 03:00:32

คู่มือการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นป,2

คู่มือการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ชั้นป,2

คูม่ ือการจดั การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 2
เสนอ
อาจารย์ สมหวงั นิลพนั ธ์

มหาวทิ ยาลยั ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

คาํ นาํ

รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในระดบั ช้ัน
ประถมศึกษาปี ท่ี 2 โดยมจี ุดประสงค์ เพ่ือการศึกษาความรู้เรื่องการทดลองด้านวทิ ยาศาสตร์ ท้งั นี้
ในรายงานฉบบั นีม้ ีเนื้อหาซ่ึงประกอบด้วยความรู้เกย่ี วกบั การวจิ ัยทดลองชีวติ พืชแลสัตว์ ปลกู
ต้นไม้เลยี้ งสัตว์ ตลอดจนการประยุกต์ใช้การทดลองเหล่านีเ้ พื่อให้เกดิ ความเข้าใจกกนั อย่างทั่วถงึ

ผู้จัดทาํ ได้เลือกหัวข้อนีใ้ นการทํารายงาน เนื่องจากเป็ นเรื่องที่น่าสนใจ เป็ นเรื่องใกล้ตวั
รวมท้ังแสดงให้เห็นถงึ การเปลย่ี นแปลงทางโครงสร้างของสังคม ท่มี ีโลกออนไลน์มาเป็ นส่วน
สําคญั ผู้จัดทําต้องขอขอบคณุ อาจารย์สมหวงั นิลพนั ธ์ ผู้ให้ความรู้และแนวทางการศึกษา หวงั ว่า
รายงานฉบับนีจ้ ะให้ความรู้ และเป็ นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุกๆๆท่าน หากมีข้อเสนอแนะประการใด

ผู้จดั ทาํ ขอรับไว้ด้วยความขอบพระคุณยงิ่

จัดทาํ โดย

นางสาวมณฑกานต์ ศรีทาณี 6494110060
นางสาวเกจ็ มณี โคตรภูธร 6494110011
นางสาวรัตติกา ไชยคาํ มี 6494110068
นางสาวเกศสุนี สุริโย 6494110027
นางสาวเกจ็ มณี โคตรภูธร 6494110011

สารบญั

คาํ นํา
สารบัญ
บทนํา
วสิ ัยทัศน์
หลกั การ
จุดหมาย
คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของหลกั สูตรและคุณลกั ษณะตาม
ศตวรรษท่ี 21
สมรรณะของหลกั สูตรและสมรรณะตามศตวรรษท่ี 21
คุณภาพผู้เรียน
รายวชิ าทเี่ ปิ ดสอน
ทาํ ไมต้องเรียนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เรียนรู้อะไรในวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ธรรมชาติของความรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เป้าหมายสําคญั ของการจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์
แนวการสร้างการรู้วทิ ยาศาสตร์สําหรับหลกั สูตรนักเรียนระดบั ประถมศึกษา
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
รายวชิ าเพม่ิ เติม
ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง
คาํ อธิบายรายวชิ าพืน้ ฐานและโครงสร้างรายวชิ าพืน้ ฐาน
กระบวนการจัดการเรียนรู้ รูปแบบการสอนและทักษะทางวทิ ยาศาสตร์
การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้
ส่ือ/แหล่งเรียนรู้
ภาคผนวก

อภธิ านศัพท์
ตวั อย่างหน่วยการเรียนรู้
แผนการจดั การเรียนรู้ทีเ่ น้นผู้เรียนเป็ นสําคญั ท่ใี ช้นวตั กรรม

คณะผู้จดั ทํา

บทนาํ

ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง

พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ น้ีได้
กาํ หนดสาระการเรียนรู้ออกเป็น ๔ สาระ ไดแ้ ก่ สาระท่ี ๑ วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ สาระท่ี ๒
วิทยาศาสตร์กายภาพสาระที่ ๓ วทิ ยาศาสตร์โลก และอวกาศ และสาระท่ี ๔ เทคโนโลยมี ี
สาระเพิ่มเติม ๔ สาระ ไดแ้ ก่สาระชีววิทยาสาระเคมีสาระฟิ สิกส์และสาระโลกดารา
ศาสตร์และอวกาศซ่ึงองคป์ ระกอบของหลกั สูตรท้งั ในดา้ นของเน้ือหา การจดั การเรียน
การสอน และการวดั และประเมินผลการเรียนรู้น้นั มีความสาํ คญั อยา่ งยงิ่ ในการ
วางรากฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผเู้ รียนในแต่ละระดบั ช้นั ใหม้ ีความต่อเนื่อง
เช่ือมโยงกนั ต้งั แต่ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ ๑ จนถึงช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๖ สาํ หรับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ไดก้ าํ หนดตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง ท่ีผเู้ รียน
จาํ เป็นตอ้ งเรียนเป็นพ้ืนฐาน เพื่อใหส้ ามารถนาํ ความรู้น้ีไปใชใ้ นการดาํ รงชีวติ หรือศึกษา
ต่อในวชิ าชีพท่ีตอ้ งใชว้ ทิ ยาศาสตร์ไดโ้ ดยจดั เรียงลาํ ดบั ความยากง่ายของเน้ือหาแต่ละ
สาระในแต่ละระดบั ช้นั ใหม้ ีการเชื่อมโยงความรู้กบั กระบวนการเรียนรู้และการจดั
กิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมใหผ้ เู้ รียนพฒั นาความคิดท้งั ความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิด
สร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทกั ษะท่ีสาํ คญั ท้งั ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
และทกั ษะในศตวรรษที่ ๒๑ ในการคน้ ควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู้สามารถแกป้ ัญหาอยา่ งเป็นระบบ สามารถตดั สินใจ โดยใชข้ อ้ มูล
หลากหลายและประจกั ษพ์ ยานที่ตรวจสอบไดส้ ถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลย(ี สสวท.) ตระหนกั ถึงความสาํ คญั ของการจดั การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ท่ีมุ่งหวงั

ใหเ้ กิดผลสมั ฤทธ์ิต่อผเู้ รียนมากท่ีสุด จึงไดจ้ ดั ทาํ ตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐)ตามหลกั สูตรแกนกลาง

การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ข้ึน เพือ่ ใหส้ ถานศึกษา ครูผสู้ อนตลอดจน
หน่วยงานต่าง ๆ ไดใ้ ชเ้ ป็นแนวทางในการพฒั นาหนงั สือเรียน คูม่ ือครูสื่อประกอบการ

เรียนการสอน ตลอดจนการวดั และประเมินผล โดยตวั ช้ีวดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลาง

การศึกษาข้นั พ้ืนฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ที่จดั ทาํ ข้ึนน้ีไดป้ รับปรุงเพ่อื ใหม้ ีความ
สอดคลอ้ งและเช่ือมโยงกนั ภายในสาระการเรียนรู้เดียวกนั และระหวา่ งสาระการเรียนรู้
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ตลอดจนการเชื่อมโยงเน้ือหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์
กบั คณิตศาสตร์ดว้ ย นอกจากน้ียงั ไดป้ รับปรุงเพือ่ ใหม้ ีความทนั สมยั ต่อการเปล่ียนแปลง
และความเจริญกา้ วหนา้ ของวทิ ยาการต่าง ๆ และทดั เทียมกบั นานาชาติกลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์

วสิ ัยทศั นย์ ุทธศาสตรช์ าติ

วสิ ยั ทศั น์แผนการศึกษายทุ ธศาสตร์แห่งชาติ

คนไทยทุกคนไดร้ ับการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอยา่ งมีคุณภาพดาํ รงชีวติ อยา่ งเป็น
สุข สอดคลอ้ งกบั หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการเปล่ียนแปลง โลกศตวรรษท่ี
21

วิสยั ทศั นห์ ลกั สตู รแกนกลาง

หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานมุ่งพฒั นาผเู้ รียนทุกคน ซ่ึงเป็นกาํ ลงั ใจของชาติให้
เป็นมนุษยท์ ่ีมีความสมดุลท้งั ดา้ นร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสาํ นึกในความเป็น
พลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยดึ มนั่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย
อนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข มีความรู้และทกั ษะพ้ืนฐานรวมท้งั เจตคติ ท่ีจาํ เป็น
ต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวติ โดยมุ่งเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั
บนพ้ืนฐานความเช่ือวา่ ทุกคนสามารถเรียนรู้และพฒั นาตนเองไดเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ

วสิ ยั ทศั นก์ ลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยสี ่งเสริมผเู้ รียนใหม้ ีการพฒั นาทกั ษะ
กระบวนการคิดข้นั สูง เพื่อนาํ ไปสู่ความเป็นเลิศทางวชิ าการ มีเจตคติท่ีเหมาะสมต่อ
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยรี ู้คุณค่าของภูมิปัญญาไทย

1. พฒั นาความรู้ความสามารถทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยตี ามศกั ยภาพของผเู้ รียน
และสามารถนาํ ไปเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้สิ่งต่าง ๆ และเป็นพ้ืนฐานสาํ หรับการศึกษา
ต่อ

2. จดั กิจกรรมกระบวนการเรียนรู้อยา่ งหลากหลายต่อเน่ือง ผเู้ รียนมีส่วนร่วมในการจดั
กระบวนการเรียนรู้อยา่ งมีความสุข

3. จดั แผนการเรียนการสอนใหแ้ ก่ผเู้ รียน เพ่ือใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีโอกาสเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยตี ามความถนดั และความสนใจ

4. พฒั นาบุคลากรของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยใี หม้ ีความรู้และ
ทกั ษะตลอดจนนาํ ประสบการณ์มาใชใ้ นการเรียนการสอนโดยเนน้ ผเู้ รียนเป็นสาํ คญั

5. มีการนิเทศและติดตามอยา่ งเป็นระบบในดา้ นการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี

6. จดั การเรียนการสอนโดยการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม ในทุกรายวชิ าอยา่ งเป็น
รูปธรรม จดั กิจกรรมวิชาการดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยใี หน้ กั เรียนกลา้ แสดงออก
และไดป้ ฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ ตามความถนดั และความสนใจ

7. จดั กิจกรรมนาํ เสนอผลงานนกั เรียน – ครูในงานนิทรรศการทางวชิ าการภายในโรงเรียน

8. สนบั สนุน ส่งเสริมใหค้ รูผลิตส่ือและนวตั กรรมประกอบการเรียนการสอนตามเน้ือหา
การเรียนรู้

9. จดั กิจกรรมส่งเสริม พฒั นาผเู้ รียนท่ีมีความสามารถ และช่วยเหลือผเู้ รียนที่มีปัญหาดา้ น
การเรียนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
10. วดั ผลและประเมินผลตามสภาพจริง ดว้ ยวธิ ีการท่ีหลากหลายใหค้ รอบคลุมท้งั ทางดา้ น
ความรู้ทกั ษะ/กระบวนการ สมรรถนะสาํ คญั ของผเู้ รียน และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยมี ุ่งพฒั นาผเู้ รียนใหเ้ ป็นคนดีมีปัญญา
มีความสุข มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ และผเู้ รียนมีคุณภาพตามเกณฑ์
ของคุณภาพผเู้ รียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยเี มื่อจบการศึกษาข้นั
พ้นื ฐาน ดงั น้ี
1. มีคุณภาพตามเกณฑข์ องคุณภาพผเู้ รียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
2. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ เห็นคุณคา่ ของตนเอง มีวินยั และปฏิบตั ิ
ตนตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนบั ถือ ยดึ หลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
3. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมี
ทกั ษะชีวติ
4. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตท่ีดี มีสุขนิสยั และรักการออกกาํ ลงั กาย

5. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มนั่ ในวิถีชีวิต และ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข
6. มีจิตสานึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษแ์ ละพฒั นา
ส่ิงแวดลอ้ ม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาํ ประโยชนแ์ ละสร้างสิ่งท่ีดีงามในสงั คม และอยรู่ ่วมกนั
ในสงั คมอยา่ งมีความสุข

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยมี ุ่งพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณลกั ษณะอนั พึง
ประสงคเ์ พอื่ ใหส้ ามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมือง
ไทย และพลโลก ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ดงั น้ี
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย นิยมไทย ปฏิบตั ิตาม
คาสงั่ สอนของศาสนาเคารพเทิดทูนศาสนา แสดงความจงรักภกั ดี เทิดทูนพระเกียรติและ
พระราชกรณียกิจของพระมหากษตั ริย์

2. ซื่อสัตย์สุจริต หมายถึง การประพฤติปฏิบตั ิอยา่ งเหมาะสม และตรงต่อความเป็นจริง
ประพฤติปฏิบตั ิอยา่ งตรงไปตรงมา ท้งั กาย วาจา ใจ ต่อตนเองและผอู้ ่ืนรวมตลอดท้งั ต่อ
หนา้ ท่ีการงาน

3. มีวนิ ัย หมายถึง การควบคุมความประพฤติใหถ้ ูกตอ้ งและเหมาะสมกบั จรรยามารยาท
ขอ้ บงั คบั ขอ้ ตกลง กฎหมายและศีลธรรมการรู้จกั ควบคุมตนเองใหป้ ระพฤติปฏิบตั ิตาม
ขอ้ ตกลง ขอ้ บงั คบั ระเบียบแบบแผน และขนบธรรมเนียมประเพณีอนั ดีงาม

4. ใฝ่ เรียนรู้ หมายถึง การคน้ ควา้ หาความรู้หรือสิ่งที่เป็นประโยชน์ เพื่อพฒั นาตนเองอยู่
เสมอ

5. อยู่อย่างพอเพยี ง หมายถึง การมีความพอดีในการบริโภค ใชท้ รัพยากรและเวลาวา่ งให้
เป็นประโยชน์คาํ นึงถึงฐานะและเศรษฐกิจ คิดก่อนใชจ้ ่ายตามความเหมาะสมรู้จกั การ
เพิ่มพนู ทรัพย์ ดว้ ยการเกบ็ และนาไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ดูแลรักษาบูรณทรัพยข์ องตนเอง
มีการเกบ็ ออมเงินไวต้ ามสมควร

6. มุ่งมั่นในการทํางาน หมายถึง การศึกษาเรียนรู้เพ่อื หาขอ้ เทจ็ จริง ซ่ึงอาจพฒั นาไปสู่
ความจริงในสิ่งที่ตอ้ งการเรียนรู้ หรือตอ้ งการหาคาํ ตอบเพ่ือนาํ คาํ ตอบที่ไดน้ ้นั มาใช้
ประโยชน์ในดา้ นต่าง ๆ

7. รักความเป็ นไทย หมายถึง เขา้ ใจ หวงแหนความเป็นไทยซ่ึงถือเป็นตน้ ทุนทางสงั คมทา
ใหท้ ุกศาสนา สามารถอยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งสันติโดยตอ้ งมีการดาเนินชีวิตโดยกายสุจริต วจี
สุจริต และมโนสุจริตเป็นคุณลกั ษณะที่เก่ียวขอ้ งกบั การเขา้ สงั คมและการมีปฏิสมั พนั ธก์ บั
ผอู้ ื่น

8. มจี ติ สาธารณะ หมายถึง คุณลกั ษณะทางจิตใจของบุคคลเก่ียวกบั การมองเห็นคุณค่า
หรือการใหค้ ุณค่าแก่การมีปฏิสมั พนั ธท์ างสงั คมและสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นสิ่งสาธารณะท่ีไม่มี
ผใู้ ดผผู้ หู้ น่ึงเป็นเจา้ ของ

คุณลักษณะตาม
ศตวรรษท่ี 21

หลกั สูตรสถานศึกษา (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศกั ราช ๒๕๖๒) ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ มุ่งใหผ้ เู้ รียนเกิด
สมรรถนะสาํ คญั ๕ ประการ ดงั น้ี

1. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มี
วฒั นธรรมในการใชภ้ าษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเขา้ ใจ ความรู้สึก
และทศั นะของตนเองเพอ่ื แลกเปล่ียนขอ้ มูลขา่ วสารและประสบการณ์อนั
จะเป็นประโยชนต์ ่อการพฒั นาตนเองและสงั คม รวมท้งั การเจรจาต่อรอง
เพ่ือขจดั และลดปัญหาความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับขอ้ มูล
ข่าวสารดว้ ยหลกั เหตุผลและความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ ีการ
ส่ือสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคาํ นึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสงั คม

2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิด
สงั เคราะห์ การคิดอยา่ งสร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณ และการคิด
เป็นระบบ เพื่อนาํ ไปสู่การสร้างองคค์ วามรู้หรือสารสนเทศเพอื่ การ
ตดั สินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและ
อุปสรรคต่าง ๆ ท่ีเผชิญไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลกั
เหตุผล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศ เขา้ ใจความสมั พนั ธ์และการ
เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสงั คม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์
ความรู้มาใชใ้ นการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหา และมีการตดั สินใจท่ีมี
ประสิทธิภาพโดยคาํ นึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนต่อตนเอง สงั คมและ
สิ่งแวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ เป็นความสามารถในการนาํ กระบวน
การต่าง ๆ ไปใชใ้ นการดาํ เนินชีวิตประจาํ วนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การ
เรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง การทาํ งาน และการอยรู่ ่วมกนั ในสังคมดว้ ยการสร้าง
เสริมความสมั พนั ธอ์ นั ดีระหวา่ งบุคคล การจดั การปัญหาและความขดั แยง้
ต่าง ๆ อยา่ งเหมาะสม การปรับตวั ใหท้ นั กบั การเปลี่ยนแปลงของสงั คม
และสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จกั หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พงึ ประสงคท์ ่ี
ส่งผลกระทบต่อตนเองและผอู้ ่ืน

5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และ
ใช้ เทคโนโลยดี า้ นต่างๆ และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการ
พฒั นาตนเองและสงั คม ในดา้ นการเรียนรู้ การสื่อสาร การทาํ งาน การ
แกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ ถูกตอ้ ง เหมาะสม และมีคุณธรรม

3R

8C

Critical Thinking and Problem Solving: มีทกั ษะในการคดิ
วิเคราะห์ การคิดอย่างมี วิจารณญาณ และแกไ้ ขปัญหาได้

Creativity and Innovation: คิดอยา่ งสรา้ งสรรค์ คิดเชงิ นวตั กรรม

Collaboration Teamwork and Leadership: ความ
รว่ มมือ

การทาํ งานเป็นทีม และภาวะผนู้ าํ

Communication Information and Media Literacy:
ทกั ษะในการส่อื สาร และการรูเ้ ทา่ ทนั ส่ือ

Cross-cultural Understanding: ความเขา้ ใจความแตกตา่ งทาง
วฒั นธรรม กระบวนการคดิ ขา้ มวฒั นธรรม

Computing and IT literacy: มีทกั ษะการใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละ
รูเ้ ท่าทนั เทคโนโลยี

Career and Learning Skills: ทกั ษะทางอาชีพ และการเรยี นรู้

Compassion: มีความเมต

คุณภาพผู้เรียน

1.เขา้ ใจลกั ษณะทวั่ ไปของสิ่งมีชีวิตและการดาํ รงชีวิตของสิ่งมีชีวติ รอบตวั
2.เขา้ ใจลกั ษณะที่ปรากฏ ชนิดและสมบตั ิบางประการของวสั ดุท่ีใชท้ าํ วตั ถุ และการ
เปล่ียนแปลงของวสั ดุรอบตวั
3.เขา้ ใจการดึง การผลกั แรงแม่เหลก็ และผลของแรงท่ีมีต่อการเปล่ียนแปลง การ
เคลื่อนที่ของวตั ถุพลงั งานไฟฟ้า และการผลิตไฟฟ้า การเกิดเสียง แสงและการมองเห็น
4.เขา้ ใจการปรากฏของดวงอาทิตย์ ดวงจนั ทร์ และดาว ปรากฏการณ์การข้ึนและตก ของ
ดวงอาทิตย์ การเกิดกลางวนั กลางคืน การกาํ หนดทิศ ลกั ษณะของหิน การจาํ แนกชนิดดิน
และการใชป้ ระโยชน์ลกั ษณะและความสาํ คญั ของอากาศ การเกิดลม ประโยชนแ์ ละโทษ
ของลม
5.ต้งั คาํ ถามหรือกาํ หนดปัญหาเก่ียวกบั สิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กาํ หนดใหห้ รือตามความ
สนใจ สงั เกตสาํ รวจตรวจสอบโดยใชเ้ คร่ืองมืออยา่ งง่าย รวบรวมขอ้ มูล บนั ทึก และ
อธิบายผลการสาํ รวจตรวจสอบดว้ ยการเขียนหรือวาดภาพ และส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้ดว้ ยการ
เล่าเรื่อง หรือดว้ ยการแสดง ท่าทางเพือ่ ใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจ
6.แกป้ ัญหาอยา่ งง่ายโดยใชข้ ้นั ตอนการแกป้ ัญหา มีทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยี

สารสนเทศและการส่ือสารเบ้ืองตน้ รักษาขอ้ มูลส่วนตวั
7.แสดงความกระตือรือร้น สนใจที่จะเรียนรู้มีความคิดสร้างสรรคเ์ กี่ยวกบั เรื่องที่จะศึกษา
ตามที่กาํ หนดใหห้ รือตามความสนใจ มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและยอมรับฟัง
ความคิดเห็นผอู้ ื่น

8.แสดงความรับผดิ ชอบดว้ ยการทาํ งานที่ไดร้ ับมอบหมายอยา่ งมุ่งมนั่ รอบคอบ ประหยดั
ซ่ือสตั ยจ์ นงานลุล่วงเป็นผลสาํ เร็จ และทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ื่นอยา่ งมีความสุข
9.ตระหนกั ถึงประโยชนข์ องการใชค้ วามรู้และกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ในการ
ดาํ รงชีวติ ศึกษาหาความรู้เพิม่ เติม ทาํ โครงงานหรือชิ้นงานตามท่ีกาํ หนดใหห้ รือตามความ
สนใจ

1.เขา้ ใจโครงสร้าง ลกั ษณะเฉพาะการปรับตวั ของสิ่งมีชีวิต รวมท้งั ความสมั พนั ธ์ของ
ส่ิงมีชีวติ ในแหล่งท่ีอยกู่ ารทาํ หนา้ ที่ของส่วนต่าง ๆ ของพืช และการทาํ งานของระบบยอ่ ย
อาหาร ของมนุษย์

2.เขา้ ใจสมบตั ิและการจาํ แนกกลุ่มของวสั ดุสถานะและการเปลี่ยนสถานะของสสาร การ
ละลายการเปล่ียนแปลงทางเคมีการเปล่ียนแปลงที่ผนั กลบั ไดแ้ ละผนั กลบั ไม่ไดแ้ ละการ
แยกสารอยา่ งง่าย
3.เขา้ ใจลกั ษณะของแรงโนม้ ถ่วงของโลก แรงลพั ธแ์ รงเสียดทาน แรงไฟฟ้าและ ผลของ
แรงต่างๆผลที่เกิดจากแรงกระทาํ ต่อวตั ถุความดนั หลกั การท่ีมีต่อวตั ถุวงจรไฟฟ้าอยา่ งง่าย
ปรากฏการณ์เบ้ืองตน้ ของเสียง และแสง

4.เขา้ ใจปรากฏการณ์การข้ึนและตก รวมถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่างปรากฏของดวงจนั ทร์
องคป์ ระกอบของระบบสุริยะ คาบการโคจรของดาวเคราะห์ความแตกต่างของ ดาว
เคราะห์และดาวฤกษก์ ารข้ึนและตกของกลุ่มดาวฤกษก์ ารใชแ้ ผนท่ีดาว การเกิดอุปราคา
พฒั นาการและประโยชนข์ องเทคโนโลยอี วกาศ
5.เขา้ ใจลกั ษณะของแหล่งน้าํ วฏั จกั รน้าํ กระบวนการเกิดเมฆ หมอก น้าํ คา้ ง น้าํ คา้ งแขง็
หยาดน้าํ ฟ้า กระบวนการเกิดหิน วฏั จกั รหิน การใชป้ ระโยชน์หินและแร่ การเกิด ซากดึก
ดาํ บรรพก์ ารเกิดลมบก ลมทะเล มรสุม ลกั ษณะและผลกระทบของภยั ธรรมชาติธรณีพิบตั ิ
ภยั การเกิดและผลกระทบของปรากฏการณ์เรือนกระจก
6.คน้ หาขอ้ มูลอยา่ งมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ ตดั สินใจเลือกขอ้ มูลใช้
เหตุผลเชิงตรรกะในการแกป้ ัญหา ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการทาํ งาน
ร่วมกนั เขา้ ใจสิทธิและหนา้ ที่ของตน เคารพสิทธิของผอู้ ่ืน

7.ต้งั คาํ ถามหรือกาํ หนดปัญหาเกี่ยวกบั สิ่งที่จะเรียนรู้ตามที่กาํ หนดใหห้ รือตามความ
สนใจ คาดคะเนคาํ ตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานท่ีสอดคลอ้ งกบั คาํ ถามหรือปัญหา
ท่ีจะสาํ รวจตรวจสอบ วางแผนและสาํ รวจตรวจสอบโดยใชเ้ คร่ืองมือ อุปกรณ์และ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ ท่ีเหมาะสม ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลท้งั เชิงปริมาณและคุณภาพ
8.วเิ คราะห์ขอ้ มูล ลงความเห็น และสรุปความสมั พนั ธ์ของขอ้ มูลท่ีมาจากการสาํ รวจ
ตรวจสอบในรูปแบบที่เหมาะสม เพื่อส่ือสารความรู้จากผลการสาํ รวจตรวจสอบไดอ้ ยา่ งมี
เหตุผลและหลกั ฐานอา้ งอิง

9.แสดงถึงความสนใจ มุ่งมนั่ ในสิ่งที่จะเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรคเ์ ก่ียวกบั เร่ืองที่จะ
ศึกษาตามความสนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในขอ้ มูลท่ีมี
หลกั ฐานอา้ งอิง และรับฟังความคิดเห็นผอู้ ่ืน

10.แสดงความรับผดิ ชอบดว้ ยการทาํ งานที่ไดร้ ับมอบหมายอยา่ งมุ่งมนั่ รอบคอบ ประหยดั
ซ่ือสตั ยจ์ นงานลุล่วงเป็นผลสาํ เร็จ และทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ื่นอยา่ งสร้างสรรค์
11.ตระหนกั ในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยใี ชค้ วามรู้และ กระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ในการดาํ รงชีวติ แสดงความช่ืนชม ยกยอ่ ง และเคารพสิทธิในผลงาน
ของผคู้ ิดคน้ และศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม ทาํ โครงงานหรือชิ้นงานตามท่ีกาํ หนดใหห้ รือ
ตามความสนใจ
12.แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเก่ียวกบั การใชก้ ารดูแลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งรู้คุณคา่

1. เขา้ ใจลกั ษณะและองคป์ ระกอบท่ีสาํ คญั ของเซลลส์ ิ่งมีชีวติ ความสมั พนั ธข์ องการ
ทาํ งานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษยก์ ารดาํ รงชีวิตของพชื การถ่ายทอดลกั ษณะทาง
พนั ธุกรรม การเปลี่ยนแปลงของยนี หรือโครโมโซม และตวั อยา่ งโรคท่ีเกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรม ประโยชนแ์ ละผลกระทบของสิ่งมีชีวิตดดั แปรพนั ธุกรรม
ความหลากหลายทางชีวภาพ ปฏิสมั พนั ธข์ ององคป์ ระกอบของระบบนิเวศและการ
ถ่ายทอดพลงั งานในสิ่งมีชีวติ
2. เขา้ ใจองคป์ ระกอบและสมบตั ิของธาตุ สารละลาย สารบริสุทธ์ิสารผสม หลกั การแยก
สาร การเปล่ียนแปลงของสารในรูปแบบของการเปล่ียนสถานะ การเกิดสารละลาย และ
การเกิดปฏิกิริยาเคมีและสมบตั ิทางกายภาพ และการใชป้ ระโยชน์ของวสั ดุประเภทพอล

เมอร์เซรามิก และวสั ดุผสม
3. เขา้ ใจการเคลื่อนท่ี แรงลพั ธแ์ ละผลของแรงลพั ธก์ ระทาํ ต่อวตั ถุ โมเมนตข์ องแรง แรงท่ี
ปรากฏในชีวิตประจาํ วนั สนามของแรง ความสมั พนั ธข์ องงาน พลงั งานจลน์พลงั งานศกั ย์
โนม้ ถ่วง กฎการอนุรักษพ์ ลงั งาน การถ่ายโอนพลงั งาน สมดุลความร้อน ความสัมพนั ธ์
ของปริมาณทางไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าในบา้ นพลงั งานไฟฟ้า และหลกั การเบ้ืองตน้ ของ
วงจรอิเลก็ ทรอนิกส์

4.เขา้ ใจสมบตั ิของคลื่น และลกั ษณะของคล่ืนแบบต่าง ๆ แสง การสะทอ้ น การหกั เหของ
แสงและทศั นอุปกรณ์

5. เขา้ ใจการโคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตยก์ ารเกิดฤดูการเคลื่อนท่ี ปรากฏของดวง
อาทิตยก์ ารเกิดขา้ งข้ึนขา้ งแรม การข้ึนและตกของดวงจนั ทร์การเกิดน้าํ ข้ึนน้าํ ลง
ประโยชน์ของเทคโนโลยอี วกาศ และความกา้ วหนา้ ของโครงการสาํ รวจอวกาศ
6. เขา้ ใจลกั ษณะของช้นั บรรยากาศ องคป์ ระกอบและปัจจยั ท่ีมีผลต่อลมฟ้าอากาศ การเกิด
และผลกระทบของพายฟุ ้าคะนอง พายหุ มุนเขตร้อน การพยากรณ์อากาศ สถานการณ์การ
เปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก กระบวนการเกิดเช้ือเพลิงซากดึกดาํ บรรพแ์ ละการใช้
ประโยชน์ พลงั งานทดแทนและการใชป้ ระโยชน์ลกั ษณะโครงสร้างภายในโลก
กระบวนการเปลี่ยนแปลง ทางธรณีวทิ ยาบนผวิ โลก ลกั ษณะช้นั หนา้ ตดั ดิน กระบวนการ
เกิดดิน แหล่งน้าํ ผวิ ดิน แหล่งน้าํ ใตด้ ิน กระบวนการเกิดและผลกระทบของภยั ธรรมชาติ
และธรณีพบิ ตั ิภยั

7. เขา้ ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยไี ดแ้ ก่ ระบบทางเทคโนโลยกี ารเปล่ียนแปลง ของ
เทคโนโลยคี วามสมั พนั ธ์ระหวา่ งเทคโนโลยกี บั ศาสตร์อื่น โดยเฉพาะวทิ ยาศาสตร์ หรือ
คณิตศาสตร์วเิ คราะห์เปรียบเทียบ และตดั สินใจเพือ่ เลือกใชเ้ ทคโนโลยโี ดยคาํ นึงถึง

ผลกระทบ ต่อชีวิต สงั คม และสิ่งแวดลอ้ มประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ทกั ษะ และทรัพยากรเพื่อ
ออกแบบและสร้าง ผลงานสาํ หรับการแกป้ ัญหาในชีวิตประจาํ วนั หรือการประกอบอาชีพ
โดยใชก้ ระบวนการออกแบบ เชิงวศิ วกรรม รวมท้งั เลือกใชว้ สั ดุอุปกรณ์และเครื่องมือได้
อยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภยั รวมท้งั คาํ นึงถึงทรัพยส์ ินทางปัญญา
8.นาํ ขอ้ มูลปฐมภูมิเขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์วเิ คราะห์ประเมิน นาํ เสนอขอ้ มูล และ
สารสนเทศไดต้ ามวตั ถุประสงคใ์ ชท้ กั ษะการคิดเชิงคาํ นวณในการแกป้ ัญหาที่พบในชีวิต
จริง และเขียนโปรแกรมอยา่ งง่ายเพ่อื ช่วยในการแกป้ ัญหา ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและ
การสื่อสาร อยา่ งรู้เท่าทนั และรับผดิ ชอบต่อสงั คม
9. ต้งั คาํ ถามหรือกาํ หนดปัญหาที่เช่ือมโยงกบั พยานหลกั ฐาน หรือหลกั การทาง
วทิ ยาศาสตร์ท่ีมีการกาํ หนดและควบคุมตวั แปร คิดคาดคะเนคาํ ตอบหลายแนวทาง สร้าง
สมมติฐาน ท่ีสามารถนาํ ไปสู่การสาํ รวจตรวจสอบ ออกแบบและลงมือสาํ รวจตรวจสอบ
โดยใชว้ สั ดุและเครื่องมือ ท่ีเหมาะสม เลือกใชเ้ คร่ืองมือและเทคโนโลยสี ารสนเทศที่
เหมาะสมในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ท้งั ในเชิงปริมาณและคุณภาพท่ีไดผ้ ลเที่ยงตรงและ
ปลอดภยั

10. วเิ คราะห์และประเมินความสอดคลอ้ งของขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการสาํ รวจตรวจสอบจาก
พยานหลกั ฐาน โดยใชค้ วามรู้และหลกั การทางวทิ ยาศาสตร์ในการแปลความหมายและลง
ขอ้ สรุป และส่ือสารความคิด ความรู้จากผลการสาํ รวจตรวจสอบหลากหลายรูปแบบ หรือ
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื ใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

11. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมนั่ รับผดิ ชอบ รอบคอบ และซ่ือสตั ยใ์ นสิ่งท่ีจะเรียนรู้มี
ความคิดสร้างสรรคเ์ กี่ยวกบั เรื่องที่จะศึกษาตามความสนใจของตนเอง โดยใชเ้ ครื่องมือ
และวธิ ีการ ที่ใหไ้ ดผ้ ลถูกตอ้ งเช่ือถือไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ เพิม่ เติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ แสดง

ความคิดเห็นของ ตนเอง รับฟังความคิดเห็นผอู้ ื่น และยอมรับการเปลี่ยนแปลงความรู้ท่ี
คน้ พบ เมื่อมีขอ้ มูล และประจกั ษพ์ ยานใหม่เพิ่มข้ึนหรือโตแ้ ยง้ จากเดิม
12.ตระหนกั ในคุณคา่ ของความรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที ่ีใชใ้ นชีวติ ประจาํ วนั ใช้
ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นการดาํ รงชีวติ และการ
ประกอบอาชีพ แสดงความช่ืนชม ยกยอ่ ง และเคารพสิทธิในผลงานของผคู้ ิดคน้ เขา้ ใจ
ผลกระทบท้งั ดา้ นบวกและ ดา้ นลบของการพฒั นาทางวิทยาศาสตร์ต่อสิ่งแวดลอ้ มและต่อ
บริบทอ่ืน ๆ และศึกษาหาความรู้เพิม่ เติม ทาํ โครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
13.แสดงถึงความซาบซ้ึง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกบั การดูแลรักษาความสมดุลของระบบ
นิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ

1. เขา้ ใจการลาํ เลียงสารเขา้ และออกจากเซลลก์ ลไกการรักษาดุลยภาพของ มนุษย์
ภูมิคุม้ กนั ในร่างกายของมนุษยแ์ ละความผดิ ปกติของระบบภูมิคุม้ กนั การใชป้ ระโยชน์
จากสาร ต่าง ๆ ท่ีพืชสร้างข้ึน การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทาง
พนั ธุกรรม ววิ ฒั นาการท่ีทาํ ใหเ้ กิดความหลากหลายของสิ่งมีชีวติ ความสาํ คญั และผล
ของเทคโนโลยที างดีเอน็ เอต่อมนุษยส์ ่ิงมีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม
2. เขา้ ใจความหลากหลายของไบโอมในเขตภูมิศาสตร์ต่าง ๆ ของโลก การเปลี่ยนแปลง

แทนท่ีในระบบนิเวศ ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

แนวทางในการ อนุรักษท์ รัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม
3. เขา้ ใจชนิดของอนุภาคสาํ คญั ท่ีเป็นส่วนประกอบในโครงสร้างอะตอม สมบตั ิบาง
ประการของธาตุการจดั เรียงธาตุในตารางธาตุ ชนิดของแรงยดึ เหนี่ยวระหวา่ งอนุภาคและ

สมบตั ิต่าง ๆ ของสารท่ีมีความสมั พนั ธ์กบั แรงยดึ เหน่ียว พนั ธะเคมีโครงสร้างและสมบตั ิ
ของพอลิเมอร์การเกิดปฏิกิริยาเคมีปัจจยั ท่ีมีผลต่ออตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและการเขียน
สมการเคมี

4. เขา้ ใจปริมาณที่เกี่ยวกบั การเคลื่อนที่ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งแรง มวลและความเร่งผล
ของความเร่งท่ีมีต่อการเคลื่อนท่ีแบบต่าง ๆ ของวตั ถุ แรงโนม้ ถ่วง แรงแม่เหลก็
ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสนามแม่เหลก็ และกระแสไฟฟ้า และแรงภายในนิวเคลียส

5. เขา้ ใจพลงั งานนิวเคลียร์ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งมวลและพลงั งาน การเปล่ียนพลงั งาน
ทดแทนเป็นพลงั งานไฟฟ้า เทคโนโลยดี า้ นพลงั งาน การสะทอ้ น การหกั เห การเล้ียวเบน
และการรวมคล่ืน การไดย้ นิ ปรากฏการณ์ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เสียง สีกบั การมองเห็นสีคล่ืน
แม่เหลก็ ไฟฟ้า และประโยชน์ของคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า

6. เขา้ ใจการแบ่งช้นั และสมบตั ิของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคล่ือนที่ของ
แผน่ ธรณีท่ีสมั พนั ธ์กบั การเกิดลกั ษณะธรณีสณั ฐาน สาเหตุกระบวนการเกิดแผน่ ดินไหว
ภูเขาไฟ ระเบิด สึนามิผลกระทบแนวทางการเฝ้าระวงั และการปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภยั
7. เขา้ ใจผลของแรงเน่ืองจากความแตกต่างของความกดอากาศ แรงคอริออลิส ที่มีต่อการ
หมุนเวียนของอากาศ การหมุนเวียนของอากาศตามเขตละติจูด และผลท่ีมีต่อภูมิอากาศ
ความสมั พนั ธ์ของการหมุนเวยี นของอากาศ และการหมุนเวียนของกระแสน้าํ ผวิ หนา้ ใน
มหาสมุทร และผลต่อลกั ษณะลมฟ้าอากาศ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม ปัจจยั ต่าง ๆ ท่ีมีผล
ต่อการเปล่ียนแปลง ภูมิอากาศโลก และแนวปฏิบตั ิเพอื่ ลดกิจกรรมของมนุษยท์ ่ีส่งผลต่อ
การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลก รวมท้งั การแปลความหมายสญั ลกั ษณ์ลมฟ้าอากาศที่
สาํ คญั จากแผนท่ีอากาศ และขอ้ มูลสารสนเทศ
8. เขา้ ใจการกาํ เนิดและการเปล่ียนแปลงพลงั งาน สสาร ขนาด อุณหภูมิของเอกภพ

หลกั ฐานท่ีสนบั สนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแลก็ ซีโครงสร้างและองคป์ ระกอบ
ของ กาแลก็ ซีทางชา้ งเผอื กกระบวนการเกิดและการสร้างพลงั งาน ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อความ
ส่องสวา่ งของ ดาวฤกษแ์ ละความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความส่องสวา่ งกบั โชติมาตรของดาว
ฤกษค์ วามสมั พนั ธ์ระหวา่ งสีอุณหภูมิผวิ และสเปกตรัมของดาวฤกษว์ ิวฒั นาการและการ
เปล่ียนแปลงสมบตั ิบางประการของ ดาวฤกษก์ ระบวนการเกิดระบบสุริยะ การแบ่งเขต
บริวารของดวงอาทิตยล์ กั ษณะของดาวเคราะห์ที่เอ้ือต่อการดาํ รงชีวติ การเกิดลมสุริยะ
พายสุ ุริยะและผลที่มีต่อโลก รวมท้งั การสาํ รวจอวกาศและ การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี
อวกาศ

9. ระบุปัญหา ต้งั คาํ ถามที่จะสาํ รวจตรวจสอบ โดยมีการกาํ หนดความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ตวั
แปรต่าง ๆสืบคน้ ขอ้ มูลจากหลายแหล่ง ต้งั สมมติฐานท่ีเป็นไปไดห้ ลายแนวทาง ตดั สินใจ
เลือก ตรวจสอบสมมติฐานที่เป็นไปได้

10. ต้งั คาํ ถามหรือกาํ หนดปัญหาท่ีอยบู่ นพ้ืนฐานของความรู้และความเขา้ ใจทาง
วทิ ยาศาสตร์ท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงการใชค้ วามคิดระดบั สูงที่สามารถสาํ รวจตรวจสอบหรือ
ศึกษาคน้ ควา้ ไดอ้ ยา่ งครอบคลุมและเชื่อถือไดส้ ร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับหรือ
คาดการณ์สิ่งท่ีจะพบ เพ่อื นาํ ไปสู่การสาํ รวจตรวจสอบออกแบบวิธีการสาํ รวจตรวจสอบ
ตามสมมติฐานท่ีกาํ หนดไวไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม มีหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เลือกวสั ดุ อุปกรณ์
รวมท้งั วิธีการในการสาํ รวจตรวจสอบอยา่ งถูกตอ้ ง ท้งั ในเชิงปริมาณและคุณภาพ และ
บนั ทึกผลการสาํ รวจตรวจสอบอยา่ งเป็นระบบ

11. วเิ คราะห์ แปลความหมายขอ้ มูล และประเมินความสอดคลอ้ งของขอ้ สรุปเพือ่
ตรวจสอบกบั สมมติฐานที่ต้งั ไวใ้ หข้ อ้ เสนอแนะเพื่อปรับปรุงวิธีการสาํ รวจตรวจสอบ จดั
กระทาํ ขอ้ มูล และนาํ เสนอขอ้ มูลดว้ ยเทคนิควิธีที่เหมาะสม สื่อสารแนวคิด ความรู้จากผล

การสาํ รวจตรวจสอบ โดยการพดู เขียน จดั แสดงหรือใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื ให้
ผอู้ ื่นเขา้ ใจโดยมีหลกั ฐานอา้ งอิง หรือมีทฤษฎีรองรับ

12. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมนั่ รับผดิ ชอบ รอบคอบ และซ่ือสตั ยใ์ นการสืบเสาะหา
ความรู้โดยใชเ้ ครื่องมือและวธิ ีการท่ีใหไ้ ดผ้ ลถูกตอ้ ง เชื่อถือไดม้ ีเหตุผลและยอมรับไดว้ า่
ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์อาจมีการเปล่ียนแปลงได้
13. แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณค่าในการคน้ พบความรู้ พบคาํ ตอบ หรือแกป้ ัญหาได้
ทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ่ืนอยา่ งสร้างสรรคแ์ สดงความคิดเห็นโดยมีขอ้ มูลอา้ งอิงและเหตุผล
ประกอบ เก่ียวกบั ผลของการพฒั นาและการใชว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ยา่ งมี
คุณธรรมต่อสงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม และยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน
14. เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ของความรู้วิทยาศาสตร์ท่ีมีผลต่อการพฒั นาเทคโนโลยปี ระเภท
ต่าง ๆ และพฒั นาเทคโนโลยที ่ีส่งผลใหม้ ีการคิดคน้ ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ที่กา้ วหนา้ ผล
ของเทคโนโลยตี ่อชีวิต สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม
15.ตระหนกั ถึงความสาํ คญั และเห็นคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที ี่ใชใ้ น
ชีวติ ประจาํ วนั ใชค้ วามรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นการ
ดาํ รงชีวติ และการประกอบอาชีพ แสดงความช่ืนชม ภูมิใจ ยกยอ่ ง อา้ งอิงผลงาน ชิ้นงาน
ที่เป็นผลมาจาก ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น และการพฒั นาเทคโนโลยที ่ีทนั สมยั ศึกษาหาความรู้
เพิม่ เติม ทาํ โครงงานหรือ สร้างชิ้นงานตามความสนใจ

16. แสดงความซาบซ้ึง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกบั การใชแ้ ละรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งรู้คุณค่า เสนอตวั เองร่วมมือปฏิบตั ิกบั ชุมชนในการป้องกนั ดูแล
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มของทอ้ งถิ่น
17.วเิ คราะห์แนวคิดหลกั ของเทคโนโลยไี ดแ้ ก่ ระบบทางเทคโนโลยที ี่ซบั ซอ้ น การ

เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยคี วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเทคโนโลยกี บั ศาสตร์อ่ืน โดยเฉพาะ

วทิ ยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์วเิ คราะห์เปรียบเทียบ และตดั สินใจเพือ่ เลือกใชเ้ ทคโนโลยี

โดยคาํ นึงถึงผลกระทบ ต่อชีวิต สงั คม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดลอ้ ม ประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้

ทกั ษะ ทรัพยากรเพ่อื ออกแบบ สร้างหรือพฒั นาผลงาน สาํ หรับแกป้ ัญหาที่มีผลกระทบต่อ

สงั คม โดยใชก้ ระบวนการออกแบบ เชิงวศิ วกรรม ใชซ้ อฟตแ์ วร์ช่วยในการออกแบบและ

นาํ เสนอผลงาน เลือกใชว้ สั ดุอุปกรณ์และ เครื่องมือไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง เหมาะสม ปลอดภยั

รวมท้งั คาํ นึงถึงทรัพยส์ ินทางปัญญา 18. ใชค้ วามรู้ทางดา้ นวิทยาการ

คอมพวิ เตอร์ สื่อดิจิทลั เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อรวบรวมขอ้ มูลในชีวิต

จริงจากแหล่งต่าง ๆ และความรู้จากศาสตร์อ่ืน มาประยกุ ตใ์ ชส้ ร้างความรู้ใหม่ เขา้ ใจการ

เปล่ียนแปลงของเทคโนโลยที ี่มีผลต่อการดาํ เนินชีวติ อาชีพ สงั คม วฒั นธรรม และใช้

อยา่ งปลอดภยั มีจริยธรรม

1. เขา้ ใจธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต การศึกษาชีววทิ ยาและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ สาร
ท่ีเป็นองคป์ ระกอบของสิ่งมีชีวิต ปฏิกิริยาเคมีในเซลลข์ องสิ่งมีชีวิต กลอ้ งจุลทรรศน์

โครงสร้างและ หนา้ ที่ของเซลลก์ ารลาํ เลียงสารเขา้ และออกจากเซลลก์ ารแบ่งเซลล์
และการหายใจระดบั เซลล์
2. เขา้ ใจการถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรม การถ่ายทอดยนี บนโครโมโซม สมบตั ิ
และหนา้ ที่ของสารพนั ธุกรรม การเกิดมิวเทชนั เทคโนโลยที างดีเอน็ เอ หลกั ฐาน
ขอ้ มูลและแนวคิด เกี่ยวกบั วิวฒั นาการของสิ่งมีชีวติ ภาวะสมดุลของฮาร์ดี-ไวน์
เบิร์ก การเกิดสปี ชีส์ใหม่ความหลากหลาย ทางชีวภาพ กาํ เนิดของสิ่งมีชีวิตความ
หลากหลายของสิ่งมีชีวิต และอนุกรมวธิ าน รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
3. เขา้ ใจส่วนประกอบของพืช การแลกเปลี่ยนแกส๊ และคายน้าํ ของพืช การลาํ เลียง
ของพชื การสงั เคราะห์ดว้ ยแสง การสืบพนั ธุข์ องพืชดอกและการเจริญเติบโต และ
การตอบสนอง ของพืช รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
4. เขา้ ใจการยอ่ ยอาหารของสตั วแ์ ละมนุษยก์ ารหายใจและการแลกเปลี่ยนแกส๊ การ
ลาํ เลียงสารและการหมนุ เวยี นเลือด ภูมิคุม้ กนั ของร่างกาย การขบั ถ่าย การรับรู้และ
การตอบสนอง การเคล่ือนท่ีการสืบพนั ธุแ์ ละการเจริญเติบโต ฮอร์โมนกบั การรักษา
ดุลยภาพ และพฤติกรรม ของสตั วร์ วมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

5. เขา้ ใจแนวคิดเกี่ยวกบั ระบบนิเวศ กระบวนการถ่ายทอดพลงั งานและการหมนุ เวยี น
สารในระบบนิเวศ ความหลากหลายของไบโอม การเปล่ียนแปลงแทนที่ของสิ่งมีชีวิต
ในระบบนิเวศ ประชากรและรูปแบบการเพิ่มของประชากร ทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่ิงแวดลอ้ ม ปัญหาและ ผลกระทบท่ีเกิดจากการใชป้ ระโยชน์และแนวทางการแกไ้ ข
ปัญหา

1. เขา้ ใจโครงสร้างอะตอม การจดั เรียงธาตุในตารางธาตุ สมบตั ิของธาตุ พนั ธะเคมีและ
สมบตั ิของสาร แก๊สและสมบตั ิของแก๊ส ประเภทและสมบตั ิของสารประกอบอินทรีย์
และพอลิเมอร์รวมท้งั การนาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
2. เขา้ ใจการเขียนและการดุลสมการเคมีปริมาณสมั พนั ธใ์ นปฏิกิริยาเคมีอตั ราการเกิด
ปฏิกิริยาเคมีสมดุลในปฏิกิริยาเคมีสมบตั ิและปฏิกิริยาของกรด-เบส ปฏิกิริยารีดอกซ์
และเซลลเ์ คมีไฟฟ้า รวมท้งั การนาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
3. เขา้ ใจหลกั การทาํ ปฏิบตั ิการเคมีการวดั ปริมาณสาร หน่วยวดั และการเปล่ียนหน่วย
การคาํ นวณปริมาณของสาร ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย รวมท้งั การบูรณาการความรู้
และทกั ษะ ในการอธิบายปรากฏการณ์ในชีวิตประจาํ วนั และการแกป้ ัญหาทางเคมี

สาระฟิ สิกส์

1. เขา้ ใจธรรมชาติทางฟิ สิกส์ ปริมาณและกระบวนการวดั การเคล่ือนที่แนวตรง
แรงและกฎการเคล่ือนที่ของนิวตนั กฎความโนม้ ถ่วงสากล แรงเสียดทานสมดุล
กลของวตั ถุงานและกฎการอนุรักษพ์ ลงั งานกลโมเมนตมั และกฎการอนุรักษ์
โมเมนตมั การเคล่ือนที่แนวโคง้ รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
2. เขา้ ใจการเคลื่อนท่ีแบบฮาร์มอนิกส์อยา่ งง่าย ธรรมชาติของคลื่น เสียงและ
การไดย้ นิ ปรากฏการณ์ที่เก่ียวขอ้ งกบั เสียง แสงและการเห็น ปรากฏการณ์ที่
เกี่ยวขอ้ งกบั แสง รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
3. เขา้ ใจแรงไฟฟ้าและกฎของคูลอมบส์ นามไฟฟ้า ศกั ยไ์ ฟฟ้า ความจุไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า และกฎของโอห์ม วงจรไฟฟ้ากระแสตรง พลงั งานไฟฟ้าและ

กาํ ลงั ไฟฟ้า การเปล่ียนพลงั งานทดแทน เป็นพลงั งานไฟฟ้าสนามแม่เหลก็ แรง
แม่เหลก็ ที่กระทาํ กบั ประจุไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า การเหน่ียวนาํ แม่เหลก็ ไฟฟ้า
และกฎของฟาราเดยไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้าและการส่ือสาร
รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์
4. เขา้ ใจความสมั พนั ธข์ องความร้อนกบั การเปล่ียนอุณหภูมิและสถานะของ
สสาร สภาพยดื หยนุ่ ของวสั ดุและมอดุลสั ของยงั ความดนั ในของไหล แรงพยงุ
และหลกั ของอาร์คิมีดีส ความตึงผวิ และแรงหนืดของของเหลว ของไหลอุดมคติ
และสมการแบร์นูลลีกฎของแกส๊ ทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ อุดมคติและพลงั งานใน
ระบบ ทฤษฎีอะตอมของโบร์ปรากฏการณ์โฟโตอิเลก็ ทริก ทวภิ าวะ ของคลื่น
และอนุภาค กมั มนั ตภาพรังสีแรงนิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์พลงั งานนิวเคลียร์
ฟิ สิกส์อนุภาค รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

1.เขา้ ใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ธรณีพบิ ตั ิภยั และผลต่อสิ่งมีชีวติ
และสิ่งแวดลอ้ มรวมท้งั การศึกษาลาํ ดบั ช้นั หิน ทรัพยากรธรณีแผนท่ี และการ
นาํ ไปใชป้ ระโยชน์
2. เขา้ ใจสมดุลพลงั งานของโลก การหมุนเวยี นของอากาศบนโลก การ
หมุนเวยี นของน้าํ ในมหาสมุทรการเกิดเมฆ การเปล่ียนแปลงภูมิอากาศโลกและ
ผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอ้ ม รวมท้งั การพยากรณ์อากาศ
3. เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ
กาแลก็ ซีดาวฤกษแ์ ละระบบสุริยะ ความสมั พนั ธข์ องดาราศาสตร์กบั มนุษยจ์ าก

การศึกษาตาํ แหน่ง ดาวบนทรงกลมฟ้าและปฏิสมั พนั ธภ์ ายในระบบสุริยะ
รวมท้งั การประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ ในการดาํ รงชีวติ

1.เขา้ ใจวธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ในการคน้ หาคาํ ตอบเก่ียวกบั สิ่งมีชีวติ สารที่เป็น
องคป์ ระกอบของสิ่งมีชีวติ และปฏิกิริยาเคมีภายในเซลล์ การใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์
โครงสร้าง และหนา้ ที่ของเซลล์ การลาํ เลียงสารเขา้ และออกจากเซลล์ การแบ่งเซลล์ และ
การหายใจระดบั เซลล์
2. เขา้ ใจหลกั การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธุกรรมของสิ่งมีชีวิต การถ่ายทอดยนี บนออโต
โซมและโครโมโซมเพศ โครงสร้างและองคป์ ระกอบทางเคมีของดีเอน็ เอ การจาํ ลองดี
เอน็ เอ กระบวนการสงั เคราะห์โปรตีน การเกิดมิวเทชนั ในสิ่งมีชีวติ หลกั การและการ
ประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี ทางดีเอน็ เอ หลกั ฐานและขอ้ มูลที่ใชใ้ นการศึกษาวิวฒั นาการของ
ส่ิงมีชีวติ แนวคิดเก่ียวกบั วิวฒั นาการของสิ่งมีชีวิต เง่ือนไขของภาวะสมดุลของฮาร์ดี-
ไวนเ์ บิร์ก กระบวนการเกิดสปี ชีส์ใหม่ ของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ กาํ เนิด
ของสิ่งมีชีวิตลกั ษณะสาํ คญั ของสิ่งมีชีวติ กลุ่มแบคทีเรีย โพรทิสตพ์ ืช ฟังไจ และสตั ว์ การ
จาํ แนกสิ่งมีชีวติ ออกเป็นหมวดหมู่และวธิ ีการเขียน ช่ือวทิ ยาศาสตร์
3. เขา้ ใจโครงสร้างและส่วนประกอบของพืชท้งั ราก ลาํ ตน้ และใบ การแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้าํ การลาํ เลียงน้าํ และธาตุอาหาร การลาํ เลียงอาหาร การสงั เคราะห์ดว้ ยแสงของ
พชื กระบวนการสร้างเซลลส์ ืบพนั ธุแ์ ละการปฏิสนธิของพืชดอก การเกิดผลและเมลด็

บทบาทของสาร ควบคุมการเจริญเติบโตของพชื และการประยกุ ตใ์ ชแ้ ละการตอบสนอง
ของพืช

4. เขา้ ใจกลไกการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต โครงสร้าง หนา้ ที่ และกระบวนการ ต่าง ๆ

ของสตั วแ์ ละมนุษย์ ไดแ้ ก่ การยอ่ ยอาหาร การแลกเปล่ียนแกส๊ การเคล่ือนท่ี การกาํ จดั ของ
เสีย ออกจากร่างกายของสิ่งมีชีวติ ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบภูมิคุม้ กนั ในร่างกายของ
มนุษย์ การทาํ งาน ของระบบประสาทและอวยั วะรับความรู้สึก ระบบสืบพนั ธุ์ การ
ปฏิสนธิ การเจริญเติบโต ฮอร์โมนและพฤติกรรมของสตั ว์

5. เขา้ ใจกระบวนการถ่ายทอดพลงั งานและการหมุนเวียนสารในระบบนิเวศ ความ
หลากหลายของไบโอม การเปลี่ยนแปลงแทนท่ีแบบต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การ
เปลี่ยนแปลง จาํ นวนประชากรมนุษยใ์ นระดบั ทอ้ งถิ่น ระดบั ประเทศ และระดบั โลก แนว
ทางการป้องกนั และแกไ้ ข ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม

6. เขา้ ใจการศึกษาโครงสร้างอะตอมของนกั วิทยาศาสตร์การจดั เรียงอิเลก็ ตรอนในอะตอม
สมบตั ิบางประการของธาตุและการจดั เรียงธาตุในตารางธาตุ พนั ธะเคมีสมบตั ิของสารที่มี
ความสมั พนั ธก์ บั พนั ธะเคมีกฎต่าง ๆ ของแกส๊ และสมบตั ิของแกส๊ ประเภทและสมบตั ิ
ของ สารประกอบอินทรียแ์ ละประเภทและสมบตั ิของพอลิเมอร์

7.เขา้ ใจการเขียนและการดุลสมการเคมีการคาํ นวณปริมาณสารต่างๆที่เกี่ยวขอ้ งกบั
ปฏิกิริยาเคมี อตั ราการเกิดปฏิกิริยาเคมีและปัจจยั ที่มีผลต่อสมดุลเคมี ทฤษฎีกรด-เบส
สมบตั ิและปฏิกิริยาของกรด-เบส สารละลายบฟั เฟอร์ปฏิกิริยารีดอกซแ์ ละเซลลเ์ คมีไฟฟ้า

8. เขา้ ใจขอ้ ปฏิบตั ิเบ้ืองตน้ เก่ียวกบั ความปลอดภยั ในการทาํ ปฏิบตั ิการเคมีการเลือกใช้
อุปกรณ์หรือเคร่ืองมือในการทาํ ปฏิบตั ิการ หน่วยวดั และการเปล่ียนหน่วยวดั ดว้ ยการ ใช้

แฟกเตอร์เปล่ียนหน่วย การคาํ นวณเกี่ยวกบั มวลอะตอม มวลโมเลกลุ และมวลสูตร
ความสมั พนั ธข์ องโมเลกลุ จาํ นวนอนุภาค มวล และปริมาตรของแก๊สที่ STP การคาํ นวณ
สูตรอยา่ งง่ายและสูตร โมเลกลุ ของสาร ความเขม้ ขน้ ของสารละลาย การเตรียมสารละลาย
และการบูรณาการความรู้และ ทกั ษะในการอธิบายปรากฏการณ์ในชีวิตประจาํ วนั และการ
แกป้ ัญหาทางเคมี

9. เขา้ ใจธรรมชาติของฟิ สิกส์กระบวนการวดั ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งปริมาณท่ีเก่ียวขอ้ งกบั
การเคลื่อนที่การเคล่ือนท่ีในแนวตรง แรงลพั ธก์ ฎการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน กฎความ
โนม้ ถ่วง สากล สนามโนม้ ถ่วง งาน กฎการอนุรักษพ์ ลงั งานกล สมดุลกลของวตั ถุ
เคร่ืองกลอยา่ งง่าย โมเมนตมั และการดล กฎการอนุรักษโ์ มเมนตมั การชน และการ
เคลื่อนท่ีในแนวโคง้

10. เขา้ ใจการเคลื่อนท่ีแบบคล่ืน ปรากฏการณ์คลื่อ การสะทอ้ น การหกั เห การเล้ียวเบน
และการแทรกสอด หลกั การของฮอยเกนส์การเคล่ือนที่ของคล่ือนเสียง ปรากฏการณ์ท่ี
เกี่ยวขอ้ งกบั เสียง ความเขม้ เสียงและระดบั เยงการไดย้ นิ ภาพท่ีเกิดจากกระจกเงาและ
เลนส์ ปรากฏการณ์ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั แสงและการมองเห็นแสงสี

11.เขา้ ใจสนามไฟฟ้า แรงไฟฟ้า กฎของคูลอมบศ์ กั ยไ์ ฟฟ้า ตวั เกบ็ ประจุตวั ตา้ นทานและ
กฎของโอห์ม พลงั งานไฟฟ้า การเปลี่ยนพลงั งานทดแทนเป็นพลงั งานไฟฟ้า เทคโนโลยี
ดา้ น พลงั งาน สนามแม่เหลก็ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสนามแม่เหลก็ กบั กระแสไฟฟ้า การ
เหน่ียวนาํ แม่เหลก็ ไฟฟ้า ไฟฟ้ากระแสสลบั คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า และประโยชน์ของคล่ืน
แม่เหลก็ ไฟฟ้า

12. เขา้ ใจผลของความร้อนต่อสสาร สภาพยดื หยนุ่ ความดนั ในของไหล แรงพยงุ ของ
ไหลอุดมคติทฤษฎีจลนข์ องแกส๊ แนวคิดควอนตมั ของพลงั งาน ทฤษฎีอะตอมของโบร์

ปรากฏการณ์โฟโตอิเลก็ ทริก ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค การสลายของนิวเคลียส
กมั มนั ตรังสีกมั มนั ตภาพ ปฏิกิริยานิวเคลียร์ พลงั งาน นิวเคลียร์ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งมวล
และพลงั งาน แรงภายในนิวเคลียส และการคน้ ควา้ วิจยั ดา้ นฟิ สิกส์อนุภาค

13.เขา้ ใจการแบ่งช้นั และสมบตั ิของโครงสร้างโลก สาเหตุ และรูปแบบการเคลื่อนที่ของ
แผน่ ธรณีที่สมั พนั ธ์กบั การเกิดลกั ษณะธรณีสณั ฐานและธรณีโครงสร้างแบบต่าง ๆ
หลกั ฐาน ทางธรณีวทิ ยาท่ีพบในปัจจุบนั และการลาํ ดบั เหตุการณ์ทางธรณีวทิ ยาในอดีต
สาเหตุกระบวนการ เกิดแผน่ ดินไหว ภูเขาไฟระเบิด สึนามิผลกระทบ แนวทางการเฝ้า
ระวงั และการปฏิบตั ิตนใหป้ ลอดภยั สมบตั ิและการจาํ แนกชนิดของแร่กระบวนการเกิด
และการจาํ แนกชนิดหิน กระบวนการเกิดและการสาํ รวจแหล่งปิ โตรเลียมและถ่านหิน
การแปลความหมายจากแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ ธรณีวิทยา และการนาํ ขอ้ มูลทาง
ธรณีวิทยาไปใชป้ ระโยชน์

14.เขา้ ใจปัจจยั สาํ คญั ที่มีผลต่อการรับและปลดปล่อยพลงั งานจากดวงอาทิตยก์ ระบวนการ
ที่ทาํ ใหเ้ กิดสมดุลพลงั งานของโลก ผลของแรงเนื่องจากความแตกต่างของความกดอากาศ
แรงคอริออลิส แรงสู่ศูนยก์ ลางและแรงเสียดทานที่มีต่อการหมุนเวยี นของอากาศ การ
หมุนเวียน ของอากาศตามเขตละติจูด และผลท่ีมีต่อภูมิอากาศ ปัจจยั ท่ีทาํ ใหเ้ กิดการแบ่ง
ช้นั น้าํ และการหมุนเวียน ของน้าํ ในมหาสมุทร รูปแบบการหมุนเวยี นของน้าํ ใน
มหาสมุทร และผลของการหมุนเวียนของน้าํ ในมหาสมุทรที่มีต่อลกั ษณะลมฟ้าอากาศ
ส่ิงมีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งเสถียรภาพ อากาศและการเกิดเมฆ การ
เกิดแนวปะทะอากาศแบบต่าง ๆ และลกั ษณะลมฟ้าอากาศท่ีเกี่ยวขอ้ ง ปัจจยั ต่าง ๆ ที่มีผล
ต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศของโลกรวมท้งั การแปลความหมายสญั ลกั ษณ์ลมฟ้าอากาศ
และการพยากรณ์ลกั ษณะลมฟ้าอากาศเบ้ืองตน้ จากแผนท่ีอากาศและขอ้ มูลสารสนเทศ

15. เขา้ ใจการกาํ เนิดและการเปลี่ยนแปลงพลงั งาน สสาร ขนาดอุณหภูมิของเอกภพ
หลกั ฐานที่สนบั สนุนทฤษฎีบิกแบง ประเภทของกาแลก็ ซีโครงสร้างและองคป์ ระกอบ
ของกาแลก็ ซีทางชา้ งเผอื กกระบวนการเกิดดาวฤกษ์ และการสร้างพลงั งานของดาวฤกษ์
ปัจจยั ที่ส่งผลต่อ ความส่องสวา่ งของดาวฤกษแ์ ละความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความส่องสวา่ ง
กบั โชติมาตรของดาวฤกษค์ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสีอุณหภูมิผวิ และสเปกตรัมของดาวฤกษ์
วธิ ีการหาระยะทางของดาวฤกษด์ ว้ ยหลกั การแพรัลแลกซ์วิวฒั นาการและการ
เปล่ียนแปลงสมบตั ิบางประการของดาวฤกษก์ ระบวนการเกิดระบบสุริยะ

การแบ่งเขตบริวารของดวงอาทิตยล์ กั ษณะของดาวเคราะห์ท่ีเอ้ือต่อการ ดาํ รงชีวิต การ
โคจรของดาวเคราะห์รอบดวงอาทิตยด์ ว้ ยกฎเคพเลอร์และกฎความโนม้ ถ่วงของนิวตนั
โครงสร้างของดวงอาทิตยก์ ารเกิดลมสุริยะ พายสุ ุริยะและผลท่ีมีต่อโลก การระบุพิกดั ของ
ดาว ในระบบขอบฟ้าและระบบศูนยส์ ูตร เส้นทางการข้ึนการตกของดวงอาทิตยแ์ ละดาว
ฤกษเ์ วลาสุริยคติและการเปรียบเทียบเวลาของแต่ละเขตเวลาบนโลก การสาํ รวจอวกาศ
และการประยกุ ตใ์ ช้

1. ระบุปัญหา ต้งั คาํ ถามที่จะสาํ รวจตรวจสอบ โดยมีการกาํ หนดความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง ตวั
แปรต่าง ๆสืบคน้ ขอ้ มูลจากหลายแหล่ง ต้งั สมมติฐานที่เป็นไปไดห้ ลายแนวทาง ตดั สินใจ
เลือก ตรวจสอบสมมติฐานท่ีเป็นไปได้

2. ต้งั คาํ ถามหรือกาํ หนดปัญหาที่อยบู่ นพ้ืนฐานของความรู้และความเขา้ ใจทาง
วทิ ยาศาสตร์ ที่แสดงใหเ้ ห็นถึงการใชค้ วามคิดระดบั สูงท่ีสามารถสาํ รวจตรวจสอบหรือ
ศึกษาคน้ ควา้ ไดอ้ ยา่ งครอบคลุมและเช่ือถือไดส้ ร้างสมมติฐานท่ีมีทฤษฎีรองรับหรือ
คาดการณ์สิ่งที่จะพบ เพื่อนาํ ไปสู่ การสาํ รวจตรวจสอบออกแบบวิธีการสาํ รวจตรวจสอบ
ตามสมมติฐานที่กาํ หนดไวไ้ ดอ้ ยา่ งเหมาะสม มีหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ เลือกวสั ดุ อุปกรณ์
รวมท้งั วธิ ีการในการสาํ รวจตรวจสอบอยา่ งถูกตอ้ ง ท้งั ในเชิงปริมาณและคุณภาพ และ
บนั ทึกผลการสาํ รวจตรวจสอบอยา่ งเป็นระบบ

3.วเิ คราะห์ แปลความหมายขอ้ มูล และประเมินความสอดคลอ้ งของขอ้ สรุปเพ่อื
ตรวจสอบกบั สมมติฐานท่ีต้งั ไวใ้ หข้ อ้ เสนอแนะเพ่ือปรับปรุงวธิ ีการสาํ รวจตรวจสอบ จดั
กระทาํ ขอ้ มูลและนาํ เสนอขอ้ มูลดว้ ยเทคนิควธิ ีท่ีเหมาะสม สื่อสารแนวคิด ความรู้จากผล

การสาํ รวจ ตรวจสอบ โดยการพดู เขียน จดั แสดงหรือใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อให้
ผอู้ ื่นเขา้ ใจ โดยมีหลกั ฐาน อา้ งอิงหรือมีทฤษฎีรองรับ

4. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมนั่ รับผดิ ชอบ รอบคอบ และซ่ือสตั ยใ์ นการสืบเสาะหาความรู้
โดยใชเ้ คร่ืองมือ และวิธีการท่ีใหไ้ ดผ้ ลถูกตอ้ ง เช่ือถือไดม้ ีเหตุผลและยอมรับไดว้ า่ ความรู้
ทางวทิ ยาศาสตร์อาจมีการเปล่ียนแปลงได้

5. แสดงถึงความพอใจและเห็นคุณคา่ ในการคน้ พบความรู้พบคาํ ตอบ หรือแกป้ ัญหาได้
ทาํ งานร่วมกบั ผอู้ ื่นอยา่ งสร้างสรรคแ์ สดงความคิดเห็นโดยมีขอ้ มูลอา้ งอิงและเหตุผล
ประกอบ เก่ียวกบั ผลของการพฒั นาและการใชว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ยา่ งมี
คุณธรรมต่อสงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม และยอมรับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน

6. เขา้ ใจความสมั พนั ธข์ องความรู้วิทยาศาสตร์ท่ีมีผลต่อการพฒั นาเทคโนโลยปี ระเภทต่าง

ๆ และการพฒั นาเทคโนโลยที ี่ส่งผลใหม้ ีการคิดคน้ ความรู้ทางวทิ ยาศาสตร์ท่ีกา้ วหนา้ ผล
ของเทคโนโลยตี ่อชีวิต สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม

7. ตระหนกั ถึงความสาํ คญั และเห็นคุณคา่ ของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยที ี่ใชใ้ น
ชีวติ ประจาํ วนั ใชค้ วามรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยใี นการ
ดาํ รงชีวิต และการประกอบอาชีพ แสดงความช่ืนชม ภูมิใจ ยกยอ่ ง อา้ งอิงผลงาน ชิ้นงาน
ที่เป็นผลมาจาก ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่นและการพฒั นาเทคโนโลยที ่ีทนั สมยั ศึกษาหาความรู้
เพิม่ เติม ทาํ โครงงาน หรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ

8. แสดงความซาบซ้ึง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกบั การใชแ้ ละรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอ้ มอยา่ งรู้คุณค่า เสนอตวั เองร่วมมือปฏิบตั ิกบั ชุมชนในการป้องกนั ดูแล
ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มของทอ้ งถิ่น





เรียนรู้อะไรในวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวงั ใหผ้ เู้ รียน ไดเ้ รียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีเนน้ การ
เชื่อมโยงความรู้กบั กระบวนการ มีทกั ษะสาํ คญั ในการคน้ ควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ โดยใช้
กระบวนการในการสืบเสาะหาความรู้ และการแกป้ ัญหาที่หลากหลาย ใหผ้ เู้ รียนมีส่วน
ร่วมในการเรียนรู้ทุกข้นั ตอน มีการทาํ กิจกรรมดว้ ยการลงมือปฏิบตั ิจริงอยา่ งหลากหลาย
เหมาะสมกบั ระดบั ช้นั โดยไดก้ าํ หนด

สาระสาํ คญั ไวด้ งั นี้

สิ่งมีชีวิตกบั กระบวนกาํ รดาํ รงชีวติ สิ่งมีชีวิต หน่วยพ้นื ฐานของสิ่งมีชีวติ
โครงสร้าง
และหนา้ ที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวติ และกระบวนการดาํ รงชีวิต ความหลากหลาย
ทางชีวภาพการถ่ายทอดทางพนั ธุกรรม การทาํ งานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวติ
ววิ ฒั นาการและความหลากหลายของสิ่งมีชีวติ และเทคโนโลยชี ีวภาพชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม
ส่ิงมีชีวติ ท่ีหลากหลายรอบตวั ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งมีชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ความสมั พนั ธ์
ของสิ่งมีชีวติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสาํ คญั ของทรัพยากรธรรมชาติ การใชแ้ ละจดั การ
ทรัพยากรธรรมชาติ ในระดบั ทอ้ งถิ่น ประเทศ และโลก ปัจจยั ที่มีผลต่อการอยรู่ อดของ
ส่ิงมีชีวติ ในสภาพแวดลอ้ มต่าง ๆสาํ หรับและสมบตั ิของสาํ ร สมบตั ิของวสั ดุและสาร แรง

ยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาค การเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ของสาร สมการเคมี และการแยกสาร แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรง
แม่เหลก็ ไฟฟ้า แรงโนม้ ถ่วง แรงนิวเคลียร์ การออกแรงกระทาํ ต่อวตั ถุ การเคลื่อนท่ีของ
วตั ถุ แรงเสียดทาน โมเมนตก์ ารเคล่ือนท่ีแบบต่าง ๆ ในชีวิตประจาํ วนั พลงั งาน พลงั งาน
กบั การดาํ รงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลงั งาน สมบตั ิและปรากฏการณ์ของแสง เสียง และ
วงจรไฟฟ้า คล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟ้า กมั มนั ตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิสมั พนั ธ์
ระหวา่ งสารและพลงั งานการอนุรักษพ์ ลงั งาน ผลของการใชพ้ ลงั งานต่อชีวิตและ
ส่ิงแวดลอ้ มกระบวนกาํ รเปล่ียนแปลงของโลก โครงสร้างและองคป์ ระกอบของโลก
ทรัพยากรทางธรณี สมบตั ิทางกายภาพของดิน หิน น้ า อากาศ สมบตั ิของผวิ โลก และ
บรรยากาศ กระบวนการเปล่ียนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปัจจยั ที่มีผล
ต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศดาราศาสตร์และอวกาศ วิวฒั นาการของระบบสุริยะ
กาแลก็ ซี เอกภพ ปฏิสมั พนั ธแ์ ละผลต่อสิ่งมีชีวติ บนโลก ความสมั พนั ธข์ องดวงอาทิตย์
ดวงจนั ทร์ และโลก ความสาํ คญั ของเทคโนโลยอี วกาศธรรมชาติของวทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การแกป้ ัญหา และจิต
วิทยาศาสตร์

ธรรมชาติของความรูว้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

วิทยาศาสตร์ เป็นความรู้ท่ีไดจ้ ากการศึกษาปรากฏการณ์ต่างๆที่เกิดข้ึนในธรรมชาติ ซ่ึง
ความรู้ต่างๆ เหล่าน้ีมีอยอู่ ยา่ งมากมาย ดงั น้นั เพอ่ื ความเป็นระเบียบจึงตอ้ งมีการจดั ความรู้
ต่างๆ ออกเป็นหมวดหมู่ตามแต่ละสาขา เช่น ถา้ เป็นความรู้เกี่ยวกบั สิ่งมีชีวติ จาํ พวกพชื
หรือพรรณไมต้ ่างๆ จดั อยใู่ นสาขาพฤกษาศาสตร์ ส่วนเรื่องท่ีเก่ียวกบั สิ่งมีชีวติ ขนาดเลก็
เช่น สตั วเ์ ซลลเ์ ดียวหรือเช้ือจุลินทรีย์ จดั อยใู่ นสาขาจุลชีววิทยา เป็นตน้ อยา่ งไรกต็ าม
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ไดแ้ บ่งออกอยา่ งกวา้ งๆ เป็น 2 ประเภท ตามจุดประสงคข์ องการ
แสวงหาความรู้ คือ

1) วทิ ยาศาสตร์บริสุทธ์ิ (Pure Science) หรือวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ คือ ความรู้ทาง
วทิ ยาศาสตร์ที่บรรยายถึงความเป็นไปของปรากฏการณ์ต่างๆ ในธรรมชาติ อนั ประกอบ
ไปดว้ ย ขอ้ เทจ็ จริง หลกั การ ทฤษฏี กฎ และสูตรต่างๆ เป็นความรู้พ้ืนฐานของ
นกั วทิ ยาศาสตร์ ซ่ึงไดม้ าเพื่อสนองความตอ้ งการอยากรู้อยากเห็น โดยไม่คาํ นึงถึง
ประโยชน์ของการคน้ หา สามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มยอ่ ยไดอ้ ีก 3 แขนง คือ

(1) วทิ ยาศาสตร์กายภาพ (Physical Science) คือ วิทยาศาสตร์ท่ีวา่ ดว้ ยเรื่องราวต่างๆ
ของสิ่งไม่มีชีวติ เช่น เคมี ฟิ สิกส์ คณิตศาสตร์ ดาราศาสตร์ (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2542)
รวมถึงอุตุนิยมวทิ ยา และธรณีวทิ ยา เป็นตน้

(2) วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ (Biological Science) คือ วิทยาศาสตร์ท่ีวา่ ดว้ ยเร่ืองราว
ต่างๆ ของสิ่งมีชีวติ เช่น สตั ววทิ ยา พฤกษศาสตร์ (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2542) จุลชีววิทยา
เป็ นตน้

(3) วทิ ยาศาสตร์สังคม เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาหาความรู้ เพอ่ื จดั ระบบใหม้ นุษยม์ ีการ
ดาํ รงชีวติ อยดู่ ว้ ยกนั อยา่ งมีแบบแผน เพื่อความสงบสุขของสงั คม ประกอบดว้ ย วชิ า
จิตวทิ ยา วิชาการศึกษา วชิ ารัฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ เป็นตน้

2) วทิ ยาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Science) วิทยาศาสตร์ประยกุ ต์ คือ วิทยาศาสตร์ท่ีวา่
ดว้ ยเรื่องราวต่างๆท่ีมุ่งประโยชน์ในทางปฏิบตั ิยงิ่ กวา่ ทฤษฏี เช่นแพทยศ์ าสตร์
วศิ วกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ (ราชบณั ฑิตยสถาน, 2542)

วทิ ยาศาสตร์ประยกุ ตเ์ ป็นวิทยาศาสตร์ที่นาํ เอาความรู้จากวิทยาศาสตร์บริสุทธ์ิ มา
ประยกุ ตเ์ พื่อใหเ้ กิดประโยชน์ต่อสงั คมสนองความตอ้ งการของมนุษยใ์ นดา้ นต่างๆ เช่น
การแพทย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม ทาํ ใหเ้ กิดสาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์สาขาใหม่ เช่น
แพทยศ์ าสตร์ สตั วแพทยศ์ าสตร์ เกษตรศาสตร์ วศิ วกรรม และโภชนาการ เป็นตน้

หากเราพิจารณาในสาขาวชิ าแพทยศาสตร์ ซ่ึงเป็นวิทยาศาสตร์ประยกุ ตส์ าขาหน่ึง
น้นั จะพบวา่ เป็นการผสมผสานความรู้จากสาขาวชิ าวทิ ยาศาสตร์บริสุทธ์ิหลายสาขา
ประกอบกนั เพ่อื ประโยชน์ในการรักษาโรค โดยไม่ไดใ้ ชค้ วามรู้ในวทิ ยาศาสตร์บริสุทธ์ิ
สาขาน้นั ท้งั หมด ยกตวั อยา่ งเช่น ความรู้ทางดา้ นชีววทิ ยาใชเ้ ฉพาะท่ีเก่ียวกบั เร่ืองการ
ทาํ งานของอวยั วะและระบบต่างๆ ของร่างกาย ความรู้ทางดา้ นฟิ สิกส์ใชใ้ นส่วนท่ีเป็น
เรื่องเกี่ยวกบั โครงสร้างของร่างกายและการเคลื่อนไหว ใชค้ วามรู้ทางดา้ นเคมี เช่น
คุณสมบตั ิของสารเคมีต่างๆ ท่ีสามารถนาํ มาทาํ ยารักษาโรค ทางดา้ นจุลชีววทิ ยา
ไดแ้ ก่ ความรู้ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั เช้ือจุลินทรีย์ และเช้ือโรคต่างๆ เป็นตน้ จะเห็นไดว้ า่

สาขาวิชาแพทยศ์ าสตร์น้นั เป็นการดึงเอาความรู้บางส่วนที่เก่ียวขอ้ งกบั การทาํ งานของ
ร่างกายมนุษย์ และ การบาํ บดั รักษาโรคภยั ไขเ้ จบ็ จากสาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์บริสุทธ์ิ
หลายๆแขนงมาประยกุ ตร์ วมกนั เพือ่ ประโยชนท์ างดา้ นใดดา้ นหน่ึงเท่าน้นั

โดยสรุป คือ วทิ ยาศาสตร์บริสุทธ์ิเป็นความรู้ในเร่ืองต่างๆ ซ่ึงมกั เป็นสาขา
วทิ ยาศาสตร์พ้ืนฐาน ที่มีลกั ษณะเป็นทฤษฏี หลกั การ กฎ หรือสูตรต่างๆ เช่น ฟิ สิกส์ เคมี
ชีววทิ ยา เป็นตน้ ส่วนวทิ ยาศาสตร์ประยกุ ตเ์ ป็นการใชค้ วามรู้เพือ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ โดย
เนน้ ในทางปฏิบตั ิมากกวา่ ทฤษฎี และมกั เป็นสาขาวชิ าเฉพาะทาง เช่น แพทยศ์ าสตร์
วศิ วกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์สิ่งแวดลอ้ ม เป็นตน้

เป้าหมายสาํ คัญของการจัดการเรียนการสอน
วทิ ยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์เป็นเรื่องของการเรียนรู้เก่ียวกบั ธรรมชาติโดยมนุษยใ์ ชก้ ระบวนการสงั เกต
สาํ รวจ และการทดลองเก่ียวกบั ปรากฏการณ์ธรรมชาติและนาํ ผลมาจดั ระบบ หลกั การ
แนวคิด และทฤษฎี ดงั น้นั การเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์จึงมุ่งเนน้ ใหผ้ เู้ รียนไดเ้ ป็นผเู้ รียนรู้และคน้ พบดว้ ยตนเองมากท่ีสุด นนั่ คือให้
ไดท้ ้งั กระบวนการและองคค์ วามรู้ ต้งั แต่วยั แรกเริ่มก่อนเขา้ เรียน เม่ืออยใู่ นสถานศึกษา
และเมื่อออกจากสถานศึกษาไปประกอบ
อาชีพแลว้ การจดั การเรียนการสอนวทิ ยาศาสตร์ในสถานศึกษามี



แนวการสร้างการรู้วิทยาศาสตรส์ าํ หรับหลักสูตรนักเรียนระดบั
ประถมศกึ ษา

ในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์การไดล้ งมือปฏิบตั ิกิจกรรม และการทดลองท่ีเช่ือมโยงกบั
เน้ือหาที่เรียนเป็นปัจจยั สาํ คญั ที่จะนาํ ผเู้ รียนไปสู่การพฒั นาตนเองใหเ้ ป็นผเู้ รียน
วิทยาศาสตร์ที่ประสบความสาํ เร็จ โดยกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไดจ้ ดั กิจกรรม
การเรียนรู้อยา่ งหลายหลาก เพื่อใหน้ กั เรียนไดม้ ีการสืบเสาะหาความรู้ ใชท้ กั ษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และวิธีทางวิทยาศาสตร์ ไดฝ้ ึกทกั ษะการคิดและการทาํ
กิจกรรมกลุ่ม รวมท้งั ไดฝ้ ึกใชเ้ คร่ืองมือทางวิทยาศาสตร์พ้ืนฐานไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว

ผเู้ รียนวทิ ยาศาสตร์ในทุกระดบั ช้นั ไดเ้ รียนเน้ือหาวทิ ยาศาสตร์ในเร่ืองเดียวกนั แต่มีการ
จดั การเรียนรู้จากง่ายไปหายากในแต่ละบทเรียนทุกช้นั ปี โดยการจดั การเรียนรู้ในลกั ษณะ
น้ีมีส่วนในการส่งเสริมประสิทธิภาพการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ใหก้ บั ผเู้ รียนเป็นอยา่ งมาก
เนื่องจากผเู้ รียนไดม้ ีโอกาสทบทวนความรู้และความเขา้ ใจในบทเรียน รวมถึงต่อยอด และ
ยกระดบั ความรู้ในระดบั ที่สูงข้ึน ซ่ึงทาํ ใหน้ กั เรียนไดใ้ ชค้ วามคิดและทกั ษะในระดบั ท่ี
สูงข้ึนเช่นกนั

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสิ่งไม่มีชีวติ
กบั สิ่งมีชีวติ และความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวติ กบั สิ่งมีชีวติ ต่าง ๆ ในระบบนิเวศการ
ถ่ายทอดพลงั งานการเปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหา
และผลกระทบท่ีมีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มแนวทางในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปัญหาสิ่งแวดลอ้ มรวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบตั ิของสิ่งมีชีวิต หน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวติ การลาํ เลียงสารเขา้
และออกจากเซลล์ ความสมั พนั ธข์ องโครงสร้างและหนา้ ที่ของระบบต่าง ๆของสตั วแ์ ละ
มนุษยท์ ี่ทาํ งานสมั พนั ธ์กนั ความสมั พนั ธ์ของโครงสร้างและหนา้ ท่ีของอวยั วะต่าง ๆ ของ
พชื ที่ทาํ งานสมั พนั ธก์ นั รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสาํ คญั ของการถ่ายทอดลกั ษณะทาง
พนั ธุกรรมสารพนั ธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพนั ธุกรรมท่ีมีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความ
หลากหลายทางชีวภาพและวิวฒั นาการของสิ่งมีชีวิต รวมท้งั นาํ ความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

สาระท่ี2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบตั ิของสสาร องคป์ ระกอบของสสาร ความสมั พนั ธ์ระหวา่ ง
สมบตั ิของสสารกบั โครงสร้างและแรงยดึ เหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติของ
การเปล่ียนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี

มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจ าวนั ผลของแรงท่ีกระท าต่อวตั ถุ
ลกั ษณะการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ของวตั ถุรวมท้งั น าความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

มาตรฐาน ว 2.3 เขา้ ใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลงั งาน
ปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสสารและพลงั งาน พลงั งานในชีวติ ประจ าวนั ธรรมชาติของคล่ืน
ปรากฏการณ์ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั เสียง แสง และคลื่นแม่เหลก็ ไฟฟูารวมท้งั นาํ ความรู้ไปใช้
ประโยชน์

สาระท่ี 3 วทิ ยาศาสตร์โลกและอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.1 เขา้ ใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ฒั นาการของเอกภพ
กาแลก็ ซีดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้งั ปฏิสมั พนั ธภ์ ายในระบบสุริยะที่ส่งผลต่อ
ส่ิงมีชีวิต และการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยอี วกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เขา้ ใจองคป์ ระกอบและความสมั พนั ธ์ของระบบโลก กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงภายในโลกและบนผวิ โลก ธรณีพบิ ตั ิภยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้า
อากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้งั ผลต่อสิ่งมีชีวติ และสิ่งแวดลอ้ ม

สาระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจแนวคิดหลกั ของเทคโนโลยเี พ่อื การดาํ รงชีวติ ในสงั คมท่ีมีการ
เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ใชค้ วามรู้และทกั ษะทางดา้ นวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ
ศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแกป้ ัญหาหรือพฒั นางานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรคด์ ว้ ยกระบวนการ
ออกแบบเชิงวศิ วกรรม เลือกใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคาํ นึงถึงผลกระทบต่อชีวิต
สงั คม และสิ่งแวดลอ้ ม

มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชิงคาํ นวณในการแกป้ ัญหาที่พบในชีวติ จริงอยา่ ง
เป็นข้นั ตอนและเป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้การ
ทาํ งาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทนั และมีจริยธรรมทกั ษะและ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์การศึกษาทางวทิ ยาศาสตร์คือ การศึกษาเก่ียวกบั ทุก ๆ สิ่งท่ี
อยรู่ อบตวั อยา่ งมีระเบียบแบบแผนเพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ สรุปและสามารถนาํ ความรู้ที่ไดม้ าอธิบาย
ปัญหา ต่าง ๆ ซ่ึงการจะตอบหรืออธิบายปัญหาที่สงสยั ไดน้ ้นั จาํ เป็นตอ้ งมีทกั ษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์


Click to View FlipBook Version