The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้-การฉีดวัคซีนโควิด19-up2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aing-fa-sai, 2021-05-22 06:30:25

ใบความรู้-การฉีดวัคซีนโควิด19-up2

ใบความรู้-การฉีดวัคซีนโควิด19-up2

เอกสารความรู้

เร่อื ง การฉีดวคั ซนี โควดิ 19

กลมุ่ ยุทธศาสตรแ์ ละการพัฒนา 1

สานักงาน กศน.จังหวัดร้อยเอ็ด

การฉดี วัคซีนโควิด 19 ในประเทศไทย

Q : 1. บุคคลกลมุ่ ใดบา้ งทีค่ วรได้รบั วคั ซนี โควดิ 19

A : ประชาชนทุกคนควรไดร้ ับวคั ซนี แตใ่ นช่วงท่ีวัคซีนเร่ิมมใี ช้จะมีจานวนจากัด กรม
ควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข จึงได้กาหนดใหว้ คั ซีนในบคุ คลกลมุ่ เสี่ยงกอ่ น ไดแ้ ก่
1.บคุ ลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุขด่านหนา้ ท้ังภาครัฐและเอกชน
2. ผู้ทม่ี ีโรคประจาตัว เชน่ โรคทางเดนิ หายใจเรือ้ รัง โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด โรคไตวาย

เรื้อรงั ระยะ 5 โรคหลอดเลอื ดสมอง โรคเบาหวาน โรคมะเรง็ ทกุ ชนิดทอ่ี ยู่ระหว่างการ
รกั ษาดว้ ยเคมบี าบัด รังสีบาบดั และภูมิค้มุ กันบาบัด
3. ผทู้ ี่มีอายุ 60 ปขี ้นึ ไป
4. เจ้าหนา้ ท่ที ่ีเก่ียวข้องกับการควบคุมโรคโควดิ 19 เชน่ อสม./อสต. ทหาร ตารวจ
จะต้องคดั กรองผู้ท่เี ข้ามาจากต่างประเทศและในพน้ื ท่ีทม่ี ีการระบาดสาหรบั กลุ่มอื่นๆ ให้
รอประกาศจากกระทรวงสาธารณสุขในระยะถัดไปๆ

2

Q : 2. กรณกี ลมุ่ เสี่ยงทมี่ โี รคประจาตัว แต่มอี ายตุ ่ากว่า 18 ปี หรอื เป็นหญงิ ตัง้ ครรภ์
หญิงให้นมบุตร สามารถรบั การฉดี วคั ซนี โควิด 19 ไดห้ รอื ไม่
A : ขณะนี้ยงั ไมม่ ีข้อมูลการศกึ ษารองรับเกีย่ วกับการให้วัคซีนโควิด 19 ในประชากรที่
อายุน้อยกว่า18 ปี กลมุ่ หญงิ ตั้งครรภ์ หญิงใหน้ มบุตร กลมุ่ เสี่ยงทมี่ โี รคประจาตัว จงึ
ยงั ไมไ่ ดม้ ีการแนะนาใหฉ้ ดี วคั ซนี โควิด 19 ในช่วงน้ี เว้นแตค่ วามเสีย่ งต่อการเกดิ โรคสูง
และแพทย์ประเมนิ แล้วว่าวัคซีนให้ประโยชนม์ ากกวา่ ความเสีย่ ง

Q : 3. ผูส้ ูงอายุ ฉีดวัคซีนใดได้บ้าง
A : ขณะนีม้ ีการศกึ ษาวัคซีน AstraZeneca ในผ้สู งู อายแุ ล้ว องค์การอนามยั โลกและ
ไทย จึงรบั รองให้ใชใ้ นผ้สู ูงอายุได้ สาหรบั วคั ซีนของ Sinovac ยงั ไมม่ ีการศึกษาใน
ผสู้ งู อายทุ ีม่ ากเพยี งพอ จึงควรฉีดให้กบั ผทู้ ีม่ ีอายุ 18-59 ปี ตามคาแนะนาของ
บรษิ ัทผผู้ ลิตวัคซนี

3

Q : 4. ผู้ทมี่ ีภมู ิค้มุ กนั บกพร่องควรรบั วัคซีนชนดิ ใด 4
A : จนถงึ ปจั จบุ นั ยงั ไม่มีการศึกษาวัคซนี ใดท่ีทาในผู้ท่มี ีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
อยา่ งไรก็ดีการให้วัคซนี ในผ้ปู ว่ ยกล่มุ นี้ท่ีมคี วามเส่ียงต่อโรคโควิด 19 รนุ แรง อาจต้อง
เปรยี บเทยี บประโยชนแ์ ละความเส่ยี งทอี่ าจเกิดการติดเชอื้ หากพจิ ารณาแล้ววา่ ประโยชน์
น่าจะมากกว่า กส็ ามารถใหว้ ัคซนี ได้ โดยให้แพทย์ประจาตัวเปน็ ผู้พจิ ารณาเลอื กชนดิ ของ
วัคซนี

Q : วคั ซนี โควดิ 19 ทม่ี ีใหบ้ ริการในประเทศไทย มี 2 ชนิด คอื

A : วัคซีนปอ้ งกนั โควดิ 19 แอสตรา้ เซนเนกา (COVID-19 Vaccine AstraZeneca) โดยให้
ในในผู้ทม่ี อี ายุ 18 ปีข้นึ ไป โดยต้องไดร้ บั วคั ซีนทงั้ หมด 2 ครง้ั ห่างกัน 10 – 12 สปั ดาห์
วัคซีนโคโรนาแวค หรือ ซิโนแวด (CoronaVac หรอื Sinovac COVID-19 vaccine) เป็น
วคั ซนี เช้ือตาย ซึ่งขณะนีก้ าหนดให้ในผ้ทู ม่ี ีอายุ 18 – 59 ปี โดยตอ้ งไดร้ บั วคั ซีนท้งั หมด
2 คร้ัง ห่างกัน 2 – 4 สปั ดาห์

อาการข้างเคยี งท่เี กิดจากการรบั วคั ซนี

Q : หลงั ฉีดวคั ซีนโควดิ 19 จะมีผลข้างเคียงอะไรบ้าง
A : จากการศึกษาวิจัยวัคซนี โควิด 19 แตล่ ะชนิด มกั พบเปน็ ปฏิกิรยิ า
เฉพาะท่ี เชน่ อาการปวด บวม แดงบรเิ วณท่ีฉดี วคั ซีน ซ่งึ สว่ นใหญม่ ี
อาการไม่รุนแรงและสามารถหายไดเ้ องโดยไมต่ ้องใชย้ า แตก่ ารฉีดวคั ซีน
เหล่าน้กี ย็ งั สามารถทาใหเ้ กิดอาการแพร้ นุ แรงได้ในอตั ราทแี่ ตกต่างกนั จงึ
จาเป็นตอ้ งสังเกตอาการหลังการฉีดอยา่ งนอ้ ย 30 นาทใี นสถานพยาบาล
เสมอ หากผูร้ บั วคั ซนี เกิดอาการไม่พึงประสงค์หรอื ไม่มั่นใจว่าอาการ
ดังกล่าวเกดิ จากวคั ซนี หรือไม่ ควรแนะนาให้ผรู้ ับวคั ซนี ปรึกษาแพทย์
เพมิ่ เตมิ

5

คาแนะนาในการปฏิบตั ิตนของผู้รบั วัคซีน โควิด 19 6

ให้บริการฉีดวคั ซนี ควรเน้นยา้ ผมู้ ารับวัคซีนโควดิ 19 วา่ วคั ซีนไมไ่ ด้
ปอ้ งกันการตดิ เช้อื ได้ท้งั หมด แม้จะฉีดวัคซีนแล้วก็ยงั สามารถตดิ เช้ือทั้งที่
มีหรอื ไม่มีอาการได้ แตว่ ัคซีนจะปอ้ งกนั การตดิ เชอื้ แบบรุนแรงไดด้ ี

ดังนน้ั นอกเหนือไปจากการทีใ่ ห้ผรู้ ับวคั ซีนรับทราบข้อมูลของวคั ซีน
ผลขา้ งเคียง และอาการท่ตี อ้ งมาพบแพทยแ์ ลว้ ผู้รบั วัคซนี ยังคงต้อง
ปฏิบตั ติ นตามมาตรการป้องกันต่างๆ ทใ่ี ช้ในปัจจุบัน ไดแ้ ก่ การสวม
หนา้ กากอนามัย การลา้ งมอื การรกั ษาระยะห่างทางสังคม และการ
กกั ตัวอย่างเครง่ ครัด หากมีประวัตสิ ัมผัสใกลช้ ิดผปู้ ว่ ยโรคโควิด-19
และควรมาพบแพทย์เพม่ิ เติมเพ่อื ตรวจวินจิ ฉยั หรือทาการรักษาอยา่ ง
เหมาะสมตอ่ ไป

สาหรบั ผทู้ ่เี คยมปี ระวตั ิเปน็ โรคโควดิ 19 มาก่อน
ยงั จาเป็นต้องได้รับวัคซีนโควดิ 19 หรือไม่

สาหรับผ้ทู ่เี คยมีประวตั เิ ปน็ โรคโควดิ 19 มาก่อน แม้จะมีภูมิคมุ้ กนั ตอ่
เช้อื ไวรัสโควดิ 19 ในรา่ งกาย แตใ่ นปจั จบุ ันยังไมม่ ขี ้อมูลเกยี่ วกับ
ระยะเวลาของภมู ิคมุ้ กันในรา่ งกายทีจ่ ะปอ้ งกนั การตดิ เชอ้ื ไวรสั โควดิ 19
คร้งั ต่อไปและยังมีโอกาสตดิ เช้อื ซ้าได้

ดังนัน้ จงึ ควรไดร้ ับวัคซีนโควดิ 19 เสมอแมว้ ่าจะเคยเปน็ โรคโควดิ 19
มากอ่ นก็ตาม โดยเวน้ ระยะห่างจากการตดิ เชือ้ ไปอยา่ งน้อย 3-6 เดอื น
ไมจ่ าเป็นตอ้ งตรวจการตดิ เชื้อกอ่ นฉดี วคั ซนี เพราะแม้จะเคยเป็นมาก่อน
กไ็ มท่ าใหม้ ีอนั ตรายจากการฉีดวคั ซนี โดยอาจพจิ ารณาใหฉ้ ีดเพยี ง 1 เขม็

7

สามารถฉดี วคั ซนี อนื่ เชน่ วคั ซีนไขห้ วัดใหญ่ วคั ซนี พษิ สนุ ขั บ้า วคั ซนี รวม
คอตีบ-บาดทะยกั วคั ซนี รวมหัด-หดั เยอรมัน พรอ้ มกบั การฉีดวคั ซีน
โควิด 19 ในคราวเดยี วกันได้หรอื ไม่
หากไมส่ ามารถใหพ้ รอ้ มกันได้ ควรเวน้ ระยะหา่ งนานเท่าไหร่

เนือ่ งจากวคั ซนี โควิด 19 เป็นวคั ซีนทีผ่ ลติ ออกมาไมน่ าน และยงั ไม่มขี ้อมูล
เกี่ยวกับการใหว้ ัคซนี นคี้ วบคู่กับวัคซีนอ่ืน จงึ แนะนาใหเ้ ลีย่ งการรับวัคซีนโควดิ
19 และวัคซนี ชนดิ อ่ืนเป็นระยะเวลาอย่างนอ้ ย 2-4 สัปดาห์ ขน้ึ อยู่กับชนิดของ
วคั ซนี โควิดและวัคซีนที่ตอ้ งการใช้ร่วมเพื่อหลีกเลี่ยงการเกิดปฏกิ ิรยิ าจากการ
ฉีดวคั ซนี พร้อมกันและการรบกวนการสร้างภมู ิคุ้มกัน อยา่ งไรก็ดีวัคซนี ทม่ี ี
ความจาเปน็ เช่น เมอ่ื ถูกสตั วก์ ดั ใหฉ้ ีดวัคซนี พษิ สุนัขบา้ ได้เลยโดยไม่จาเป็นต้อง
ทงิ้ ช่วงเวลาเนอื่ งจากความเสี่ยงต่อโรคพิษสุนัขบ้ามคี วามสาคัญกว่า

8

หากฉดี วัคซนี โควดิ 19 ไปแล้ว แตม่ าทราบภายหลังว่าเพง่ิ ไดร้ ับวัคซนี อ่นื 9
ไปกอ่ นหนา้ นภี้ ายในช่วง 14 วันทผ่ี า่ นมา ตอ้ งทาอย่างไร

สามารถนับการไดว้ ัคซีนโควดิ 19 ครั้งนั้นเป็นครง้ั แรกได้ และให้วัคซีนโค
วิด 19 ครั้งถดั ไป ตามระยะเวลาที่เหมาะสมตามชนดิ ของวัคซีนทีฉ่ ีด

วัคซนี ฉีดแล้วสามารถปอ้ งกันไวรัสกลายพนั ธ์ไุ ด้หรอื ไม่

วัคซนี ท่ผี ลิตในปัจจบุ ันพัฒนามาจากไวรัสทรี่ ะบาดในช่วงแรก จึงอาจทาให้
ประสิทธภิ าพ ในการปอ้ งกนั ไวรสั กลายพันธไ์ุ ด้ลดลง อย่างไรกด็ ผี ลกระทบ
ของไวรัสกลายพันธุต์ อ่ ประสิทธิภาพของวคั ซีนแต่ละชนิดจาเป็นตอ้ งมี
การศกึ ษาต่อไป อาจเปน็ ไปได้วา่ ต้องมีการฉีดวคั ซีนต่อไวรัสท่ีกลายพันธุ์ซ้า
ในอนาคต

เมื่อฉีดวัคซนี แล้วจะทาใหเ้ มือ่ เปน็ โรคมีอาการรนุ แรงนอ้ ยลงหรือไม่

วัคซนี อาจไมส่ ามารถปอ้ งกันการติดเช้อื ได้ทั้งหมด แต่ปอ้ งกนั โรครนุ แรง
ได้เกอื บทงั้ หมด ดงั น้ันผูท้ ี่ฉีดวัคซนี แลว้ อาจติดเช้ือแบบไม่มีอาการหรือมีอาการ
นอ้ ยมากได้ จงึ ยังจาเปน็ ต้องรกั ษามาตรการในการปอ้ งกนั เชือ้ ในชมุ ชน ไดแ้ ก่
การสวมหน้ากากอนามยั เว้นระยะห่างทางกายภาพ และลา้ งมือบ่อย ๆ ต่อไป

ที่มา : กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
https://ddc.moph.go.th/vaccine-covid19/

10

ขอขอบคณุ

ทปี่ รึกษา

นายสรุ ัติ วภิ กั ด์ิ
นายสัญญา ยุบลชติ

จดั ทาโดย

นางภัทรภร ณัฐศิษฎางกรู
นายกฤตลกั ษณ์ ชาวัตร

สานกั งาน กศน.จงั หวดั รอ้ ยเอด็

11


Click to View FlipBook Version