The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ใบความรู้-การวางแผนงาน โครงการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by aing-fa-sai, 2021-05-12 01:40:27

ใบความรู้-การวางแผนงาน โครงการ

ใบความรู้-การวางแผนงาน โครงการ

เอกสาร
ใบความรู้

เรือ่ ง
การวางแผน
แผนงาน โครงการ

จดั ทาโดย

นางภทั รภร ณัฐศิษฎางกูร

นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน

สานักงาน กศน.จังหวัดร้อยเอ็ด

การวางแผน

ความหมายเกยี่ วกบั การจดั ทาแผน บริหารแผน นโยบายและโครงการ

การวางแผน หมายถึง วิธกี ารตดั สินใจล่วงหน้าเพ่ืออนาคตขององคก์ ารซึ่ง
เป็นหนา้ ที่ของการจดั การในทางเลือกว่าจะให้ใคร จะทาอะไร ที่ไหน อย่างไร
มขี นั้ ตอนดาเนนิ งานการใชท้ รพั ยากร การบริหาร เพื่อใหบ้ รรลุวตั ถปุ ระสงค์
และเปา้ มายทต่ี อ้ งการ

นโยบาย (Policy) : หลักการที่กาหนดขน้ึ เพื่อเป็นกรอบแนวทางในการ

ปฏบิ ัติ

แผน (Plan) : แนวทางหรอื วธิ กี ารของแผนงานรวม โดยจะรวม

แผนงาน โครงการและกิจกรรมตา่ งๆ ไว้ดว้ ยกัน

แผนงาน (Program) : แผนทร่ี วมนโยบาย วธิ ีการทางาน

มาตรฐานงาน และสว่ นประกอบอน่ื ๆ ที่จาเป็นต่อ

การปฏิบตั ิงานเพื่อให้สาเรจ็ ตามวตั ถุประสงค์

โครงการ (Project) : กลุม่ ของกิจกรรมท่มี ีความเก่ียวขอ้ งสมั พันธก์ นั

อาจเป็นกิจกรรมทเ่ี กิดขน้ึ เฉพาะคราวหรือโอกาส

พิเศษ แตต่ อ้ งมีชว่ งเวลาการดาเนนิ ที่แน่นอน

งาน (Task) : กลมุ่ ของกจิ กรรมทีม่ คี วามเก่ียวข้องสัมพันธ์กนั

มีระยะเวลาสิน้ สุดไม่แน่นอน

กจิ กรรม (Activity) : เป็นการกระทาใดๆ ก็ตามเพ่ือใหเ้ กดิ ผลทีต่ อ้ งการ

ความสาคญั ของการวางแผน

1. ชว่ ยใหม้ กี ารใชท้ รพั ยากรเกิดประโยชนส์ ูงสุด
2. ชว่ ยให้การดาเนินงานบรรลวุ ัตถปุ ระสงคไ์ ด้ง่าย
3. ชว่ ยลดความขัดแยง้
4. ชว่ ยให้สามารถควบคมุ การปฏบิ ตั งิ านได้อยา่ งมีระบบ
5. ช่วยให้การพัฒนาในแตล่ ะฝา่ ยและในแตล่ ะระดบั สอดคลอ้ ง

กนั และเป็น การใช้ทรัพยากร ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
6. ชว่ ยให้ผ้เู กี่ยวข้องสามารถคาดคะเนลว่ งหน้าถึงปัญหาและอุปสรรคที่จะ

เกดิ ขน้ึ ได้
7. ชว่ ยให้ผ้บู รหิ ารมีความเชื่อม่ันในการบริหารมากขึน้ และช่วยให้สามารถ

ตรวจสอบความสาเร็จของเปา้ หมายได้

2

การวางแผน

ประเภทของการวางแผน
1. จาแนกแผนตามระยะเวลา แบง่ ได้เป็น 3 ระยะ ดังนี้
1) แผนระยะส้ัน เป็นแผนงานในรูปของกิจกรรมเฉพาะอย่างที่มุ่งหวัง

ให้เกดิ ขึน้ ในอนาคตอันใกล้ เช่น แผนประจาปี แผนงบประมาณ
2) แผนระยะกลาง เป็นแผนทม่ี รี ะยะเวลาปฏิบัติการมากกวา่ 1 ปี

ตามปกตอิ ย่ใู นระยะ 3-5 ปี เชน่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
มีระยะเวลา 5 ปี

3) แผนระยะยาว เป็นแผนของกิจกรรมขนาดใหญ่ที่มีความเกี่ยวข้อง
กับหน่วยงานหลายฝ่ายหลายสาขา การทางานสลับซับซ้อน เวลานาน
มากกวา่ 5 ปีข้นึ ไป

2. จาแนกตามลาดบั ขัน้ ของแผนในองค์การ แบ่งได้เป็น 2 ชนดิ ดังนี้
1) แผนกลยุทธ์ (Strategic Plan) เป็นแผนท่เี กิดจากผูบ้ ริหาร

ระดบั สงู ขององค์การ ระยะเวลาของแผน่ คอ่ นข้างยาว แผนกลยุทธจ์ ะ
กล่าวถึงวตั ถปุ ระสงค์ หรอื เปา้ หมายสาคัญขององค์การทต่ี ้องการบรรลุ

2) แผนปฏบิ ตั ิการ (Operation Plan) เป็นแผนที่ระบถุ ึงการจดั
ทรพั ยากรขององคก์ าร ในการทจ่ี าดาเนนิ งานให้บรรลุเปา้ หมายหรอื
วตั ถปุ ระสงค์ของแผนกลยุทธ์

3

การวางแผน

การวางแผนทด่ี ี

การปฏิบัติงานใดๆ มีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ีต้องวางแผนไว้ล่วงหน้า
เพ่ือใหผ้ ู้ปฏบิ ตั มิ องเห็นภาพรวมของงานท่ตี นปฏบิ ตั ไิ ดช้ ดั เจน

การวางแผนทีด่ ีมีลักษณะดังน้ี

1. ค่าใช้จ่าย ต้องคานึงค่าใช้จ่ายที่ต่ากว่าผลตอบแทน และการใช้

ทรัพยากรขององคก์ ารอย่างมปี ระสิทธิภาพ

2. ความครอบคลุม การวางแผนต้องมีลักษณะการบูรณาการโดย

ครอบคลมุ รวบรวมเอาความสมั พันธ์ในกจิ กรรมตา่ ง เขา้ ไวด้ ้วยกัน

3. ความสอดคล้อง การจัดทาแผนต้องสอดคล้องอยู่ในกรอบของ

วัตถุประสงค์ หรอื เปา้ หมาย และนโยบายขององคก์ าร

4. มีความชัดเจน การจัดทาแผนต้องมีความชัดเจน ให้ทราบว่า ทา

อะไร อยา่ งไร ท่ไี หน เม่อื ไหร่ ใครรบั ผิดชอบ

5. ความมีเหตุมีผล การจัดทาแผนควรจัดทาอย่างมีเหตุมีผล สามารถ

อธิบายทมี่ าทีไ่ ปของแผนได้ชดั เจน

6. ตอ้ งมีระยะเวลาของแผน ควรกาหนดระยะเวลาเริ่มต้นและระยะเวลา

ส้ินสดุ ของแผนให้แน่นอน เพื่อสามารถควบคุมกากับแผนนนั้ ได้

7. เน้นความต่อเน่ือง ต้องคานึงถึงความต่อเนื่องของกระบวนการ

จัดการของแผน

8. ความยืดหยุ่น ต้องมีความยืดหยุ่น หรือมีความคล่องตัว เพื่อที่จะ

สามารถปรบั แตง่ ให้เข้ากบั สภาวะแวดลอ้ มที่มีการเปลย่ี นแปลง

9. เน้นอนาคต โดยกาหนดอนาคตว่าจะทาอย่างไรเพื่อความสาเร็จของ

องคก์ าร

4

โครงการ

องค์ประกอบของโครงการ
1. ชอ่ื แผนงาน
2. ชื่อโครงการ
3. หลักการและเหตุผล
4. วตั ถุประสงค์
5. เปา้ หมาย
6. วิธดี าเนนิ การ
7. ระยะเวลาการดาเนนิ งานโครงการ
8. งบประมาณ
9. ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ
10. การประเมินผล
11. ผลประโยชน์ทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ

การประเมินผลโครงการ
เป็ นขั้นตอนสุดท้ายของการวางแผน ซึ่งต้องมีการประเมินผลแผนการ

ปฏิบตั กิ ารหรือโครงการประจาปี เพ่ือ
1. ใหท้ ราบความก้าวหนา้ และความบกพร่องของโครงการ
2. ประเมนิ วา่ โครงการมปี ระสิทธิภาพหรือไม่
3. ประเมินว่าโครงการมีผลกระทบต่อกลุ่มเปา้ หมาย พืช สตั ว์ หรือสงิ่ แวดล้อม
หรือไม่
4. ประเมินความสาเรจ็ และความลม้ เหลวของโครงการเมื่อโครงการส้นิ สุด

5

การประเมนิ โครงการ

ประเภทของการประเมินผลโครงการ มดี ังนี้
1. ประเมินผลก่อนมีการปฏิบัติ เช่น มีการประเมินสภาวะแวดล้อม (Context)

ของโครงการ ประเมินปัจจัยนาเขา้ (Input) ทีใช้ในโครงการ
2. ประเมินผลระหว่างการปฏิบัติ เป็นการประเมินกระบวนการ เพ่ือศึกษาปัญหาและ

อปุ สรรคของการดาเนินงาน จะได้หาทางปรับปรงุ แก้ไขต่อไป
3. ประเมินผลหลังจากการปฏิบัติ เป็น การประเมินผลผลิต หรือ ผลลัพธ์ ของ

โครงการว่าสาเร็จตามวัตถุประสงค์ หรือไม่ ประการใด ผลการดาเนินงานคุ้มค่า
หรือไม่
ผู้ที่ทาหน้าท่ีประเมินผลโครงการต้องมีเกณฑ์ในการประเมินผล ซึ่งโดยท่ัวไปจะ
ใช้เกณฑ์
ประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิผล(Effectiveness) ความเพียงพอ
(Adequacy) ความเสมอภาค (Equality) ความเป็นธรรม (Equity) และความพึง
พอใจ (Satisfaction)

ส่วนเคร่ืองมอื ที่ใชใ่ นการประเมนิ ผลโครงการนน้ั จะต้องมีความแม่นตรง และ
เชื่อถือได้ ซ่ึงอาจเป็น แบบประเมิน แบบสัมภาษณ์ การสังเกต โดยประเมินจาก
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับโครงการนั้นๆ ทั้งการประเมินเชิงปริมาณ และการประเมินเชิง
คณุ ภาพ

ผลการประเมินโครงการทกุ โครงการย่อมสะทอ้ นให้เหน็ ถึงความสาเร็จหรือความ
ลม้ เหลวของแผนงาน นโยบาย หรอื แผนกลยทุ ธ์ได้

ท่ีมา : โดย อ.จีระ งอกศลิ ป์
นายประพันธ์ เวารัมย์

6

ขอขอบคณุ


Click to View FlipBook Version