The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รักษาด้วยไฟฟ้า

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natcha9247, 2021-09-19 23:19:43

รักษาด้วยไฟฟ้า

รักษาด้วยไฟฟ้า

การรกั ษาดว้ ยไฟฟ้าเป็นการักษาผู้ป่วยจติ เวชวิธีหน่งึ ซง่ึ ให้ผลการ
รกั ษาที่รวดเร็วใช้ส�ำ หรบั รกั ษาผู้ปว่ ยท่มี ีภาวะเร่งด่วนทางจิตเวช การ
รกั ษาดว้ ยไฟฟา้ บางครงั้ มกั จะเรยี กกันว่า “ช็อตไฟฟ้า” ท�ำ ให้นกึ ถงึ ภาพ
การถกู ไฟฟ้าดูดหรอื ไฟฟา้ ช็อตซ่ึงท�ำ ให้เกดิ ความรูส้ กึ กลวั และไม่ตอ้ งการ
ทจ่ี ะทำ�การรกั ษา ปจั จบุ ันหน่วยรกั ษาดว้ ยไฟฟ้าได้เปดิ ให้บริการรักษา
ดว้ ยไฟฟ้าแบบใชย้ านำ�สลบ (Modified Electroconvulsive Ther-
apy) ในการรกั ษาจะมีการให้ยาน�ำ สลบและยาคลายกลา้ มเนือ้ ช่วยลด
ภาวะเส่ียงรนุ แรงเช่นกระดูกหักขอ้ เคลือ่ น ลดการเกรง็ กระตกุ รุนแรง
ทำ�ใหม้ ีความสุขสบายเพม่ิ มากข้นึ และลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยท่ีมา
ทำ�การรกั ษาดว้ ยไฟฟ้า
หน่วยรกั ษาด้วยไฟฟา้ โรงพยาบาลสวนสราญรมยจ์ ึงจัดทำ�ค่มู อื
เลม่ น้ขี ้นึ เพอื่ เผยแพรค่ วามรู้เกย่ี วกบั การรกั ษาดว้ ยไฟฟา้ ม่งุ หวังให้บุคคล
ทว่ั ไป ญาต/ิ ผูป้ ว่ ยมคี วามรู้ความเขา้ ใจที่ถกู ตอ้ งมีทัศนคติท่ีดตี ่อการรักษา
คณะผูจ้ ดั ทำ�
กันยายน 2564

สารบญั



การรกั ษาดว้ ยไฟฟา้ แบบใชย้ าน�ำ สลบ (Modified Electro-
convulsive Therapy) เป็นวิธกี ารรกั ษาอย่างหนง่ึ สำ�หรับผู้ป่วยจติ เวช
โดยใหร้ ะแสไฟฟ้าที่มีความเขม้ ขน้ ต�ำ่ ผา่ นสมองเป็นระยะเวลาสนั้ ๆ เพ่ือให้
คลนื่ สมองเกิดการชัก โดยจะมีการให้ยาน�ำ สลบและยาคลายกล้ามเนื้อผ่าน
หลอดเลือดดำ�บรเิ วณมอื ซ่งึ จะสง่ ผลดีตอ่ ผปู้ ่วย ทำ�ให้อาการทางจิตดขี ้นึ
หรือหายได้

การรกั ษาด้วยไฟฟา้ แบบใช้ยาน�ำ สลบช่วยใหอ้ าการทางจิตของ
ผู้ปว่ ยทุเลาลงอย่างรวดเรว็ ลดความเสยี่ งการเป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อ่นื
และคงสภาพอาการทางจติ ไม่ใหก้ ำ�เรบิ (เฉพาะผ้ปู ว่ ยบางรายที่รักษาด้วยยา
อยา่ งเดียวไมไ่ ด้ผล)

การรักษาด้วยไฟฟ้าแบบใช้ยาน�ำ สลบจะเหนย่ี วน�ำ ให้คลน่ื สมองมี
การเปล่ยี นแปลงที่เรียกวา่ การ “คล่ืนสมองมกี ารชกั ” จะทำ�ให้เกิดความ
สมดุลของสารสอื่ ประสาททีจ่ �ำ เปน็ ตอ้ งใชใ้ นกระบวนการท�ำ งานของสมอง
ซึ่งผลการเปล่ยี นแปลงระดบั สารสอ่ื ประสาทนี้เอง ท�ำ ใหเ้ ซลล์สมองของผู้
ปว่ ยทำ�งานไดด้ ีขึ้น

การรกั ษาดว้ ยไฟฟา้ แบบใช้ยาน�ำ สลบใหก้ ารรกั ษาท่ีรวดเร็วมากกวา่ การ
รักษาวธิ อี ืน่ ดงั นน้ั การรกั ษาวธิ ีนี้จึงเหมาะกบั ผปู้ ว่ ยทมี่ อี าการทางจิตรุนแรง ท่ี
จำ�เปน็ ต้องได้รบั การรักษาเร่งด่วนเพ่อื ควบคมุ อาการของผูป้ ่วย ให้สงบลงอยา่ ง
รวดเร็ว เช่น ผปู้ ่วยกา้ วรา้ วรุนแรง คลุ้มคลงั่ เป็นอนั ตราย หรอื ผ้ปู ว่ ยที่มีอาการ
ซมึ เศรา้ รนุ แรง มคี วามคิดฆา่ ตวั ตาย / พยายามฆ่าตัวตายตลอดเวลา หากรอให้
ยาออกฤทธ์ใิ นการรักษาอาจไมท่ นั กบั ความปลอดภยั ของผปู้ ว่ ย หรือผู้อื่น จึง
จ�ำ เป็นต้องได้รับการรกั ษาด้วยไฟฟ้าเพือ่ ใช้ผลการรักษารวดเร็วมาชว่ ยใหอ้ าการ
ของผ้ปู ่วยดีขึน้

นอกจากผู้ป่วยทจ่ี �ำ เปน็ ตอ้ งได้รบั การรกั ษาเร่งด่วนแลว้ ยังใช้สำ�หรบั
1.ผู้ปว่ ยรกั ษาดว้ ยยาไมไ่ ด้ผล อาการไมด่ ีข้ึนแม้ว่าแพทย์พยายามปรบั
ยาหรือเปลี่ยนกลมุ่ ยาหลายคร้ัง
2.ผปู้ ว่ ยทไี่ มส่ ามารถทนฤทธิข์ ้างเคยี งของยาได้ (ได้รับยาเพยี งเล็ก
นอ้ ยเกดิ ผลข้างเคยี งของยารุนแรง)
3.ผปู้ ว่ ยทีต่ อบสนองดตี อ่ การรักษาดว้ ยไฟฟ้า

การรกั ษาดว้ ยไฟฟา้ ไม่มีขอ้ หา้ มเดด็ ขาด หากจ�ำ เปน็ ตอ้ งทำ�การรกั ษาวิสญั ญี
พยาบาลร่วมกับแพทย์จะต้องประเมินความเสีย่ งและผลประโยชน์ที่ผปู้ ่วยจะได้
รบั จากการรักษารวมถงึ ตอ้ งระวงั อนั ตรายทอี่ าจเกดิ ข้ึนได้ เชน่ ผูป้ ่วยที่มีประวัติ
แพย้ านำ�สลบ ผ้ปู ่วยท่มี ปี ระวตั ิเป็นโรคกลา้ มเนื้ออ่อนแรง ผู้ปว่ ยมีเนอ้ื งอกในสมอง
ผู้ปว่ ยทีม่ คี วามดันโลหิตสงู รุนแรงทย่ี งั ควบคุมโรคอาการของโรคไม่ดี และผูป้ ่วย
ทเี่ ปน็ โรคหัวใจขาดเลอื ดในระยะเริม่ แรกหรือโรคแทรกซ้อนทางกายอ่นื ๆ

***การพจิ ารณารักษาประเมินจาก........ความเสยี่ งและประโยชนท์ ี่ผปู้ ว่ ยจะได้
รับจากการรกั ษา***

การรักษาด้วยวิธใี ดก็ตาม ลว้ นมคี วามเส่ียงตอ่ การเกดิ ผลข้างเคียงทงั้ สนิ้
การรกั ษาด้วยไฟฟ้าไม่มอี นั ตรายมากไปกว่าการผา่ ตดั เล็ก กอ่ นพิจารณาใหผ้ ู้ปว่ ย
ทำ�การรกั ษาวสิ ญั ญีพยาบาลรว่ มกบั แพทย์จะประเมินความเหมาะสมของผูป้ ่วยเพื่อ
ให้ผปู้ ่วยมคี วามปลอดภัยมากที่สุด รวมท้งั ขณะทำ�การรักษาด้วยไฟฟ้ามีแพทย์
พยาบาลวิสัญญีที่มคี วามเชยี่ วชาญให้การดูแลใกลช้ ิดตลอดเวลา

ไมม่ ีรายงานยนื ยันวา่ สมองถกู ท�ำ ลาย
จากการรกั ษา เคยมผี ทู้ ดลองตรวจ
การทำ�งานของสมองด้วยวิธีตรวจ
คลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ (MRI) ซงึ่ ไม่พบการ
เปลีย่ นแปลงโครงสร้างสมองหลงั การรักษา
ด้วยไฟฟ้า

โดยทว่ั ไปจะท�ำ การรักษาสัปดาห์ละ 3 ครั้ง จำ�นวนคร้งั ของการรักษา
ประมาณ 6-12 คร้งั ซึ่งจ�ำ นวนครงั้ ของการรักษาอาจมากหรอื น้อยกวา่ นี้
ขึน้ อยู่กับผลของการรกั ษา และดลุ พนิ จิ ของแพทย์

ภายหลังการรกั ษาอาจเกดิ ผลข้างเคียงตา่ งๆได้เช่นกนั โดยอาจมอี าการ
ปวดศรี ษะ ปวดเมอ่ื ยกลา้ มเนือ้ ไมส่ บายตัว สับสน สญู เสียความจ�ำ ชัว่ คราว
ผลข้างเคียงท่ีรุนแรงได้แก่ การสดู ส�ำ ลักเอาเศษอาหารลงปอด จากการงด
น้ำ�งดอาหารไม่ถกู ต้อง ผลขา้ งเคยี งระบบหลอดเลือดและหวั ใจเช่นเกดิ กล้าม
เนอ้ื หัวใจตายเฉียบพลัน ผลขา้ งเคยี งทีร่ ุนแรงอาจพบไดใ้ นผู้ปว่ ยที่มีโรคร่วม
ทางกายรนุ แรงร่วมกบั การรกั ษา เช่น โรคหวั ใจรนุ แรง โรคเกย่ี วกบั สมอง
เปน็ ต้น

การปฏิบตั ติ วั ในการรักษาดว้ ยไฟฟ้าแบบใชย้ าน�ำ สลบ
1.ทำ�ความสะอาดรา่ งกาย สระผม ตดั เล็บใหส้ ัน้ ไมท่ าเล็บมือเล็บเทา้
2.งดนำ�้ อาหารหลังเที่ยงคนื จนเสรจ็ สน้ิ การรักษา
3.นอนหลบั ให้เพยี งพออย่างนอ้ ย 6-8 ช่วั โมง
4.พยาบาลวสิ ัญญี ตรวจเย่ียม หากมอี าการเจ็บป่วยทางกายกรุณาแจง้
พยาบาลวสิ ญั ญที ไี่ ปตรวจเย่ยี ม
การปฏิบัตติ ัวขณะเขา้ ทำ�การรกั ษา
1.สวมเส้อื ผา้ สะอาด ผมแห้งไมท่ าแปง้ บริเวณใบหนา้ และลำ�ตัว
2.ไมส่ วมเคร่อื งประดับหรอื ของมคี ่าตดิ ตวั
3.ถอดฟนั ปลอม (ถ้ามี) และหากมีปัญหาฟันผุ ฟนั โยกแจ้งใหพ้ ยาบาล
ทราบ
4.ปัสสาวะกอ่ นท�ำ การรักษา
5.ให้ความรว่ มมือในการปฏบิ ัติตามค�ำ แนะน�ำ
***แพทย์ วสิ ัญญพี ยาบาลและทมี เจา้ หน้าที่ใหก้ ารดแู ลใกลช้ ิด
ตลอดระยะเวลาการรักษา***

หลังการรักษาผ้ปู ว่ ยบางรายอาจมีผลข้างเคยี งเกิดข้นึ ได้แก่
1.ปวดศรี ษะ ให้ประคบเย็นและนอนพัก 1 - 2 ชวั่ โมงหากไมด่ ขี ึน้ ให้รบั
ประทานยาแก้ปวดบรรเทาอาการ
2.คล่นื ไสอ้ าเจียนแจง้ ใหพ้ ยาบาลทราบ เพื่อให้การรักษาพยาบาลตอ่ ไป
3.อาการหลงลมื ซง่ึ เกดิ ข้นึ ได้อาการจะเป็นชวั่ คราว ความทรงจ�ำ จะ
ค่อยๆกลบั คนื สู่ปกติภายใน 2 สปั ดาห์ - 6 เดอื น
4.หากมีอาการผดิ ปกติอ่ืนๆ เช่น ออ่ นเพลีย หลบั มาก ปวดศีรษะตลอด
เวลา หัวใจเตน้ ผิดจงั หวะ ปรกึ ษาแพทย์



....การรักษาดว้ ยไฟฟ้า....เป็นการรกั ษาท่ไี ดผ้ ลดี....
ใชก้ รณจี �ำ เปน็ ....ไม่นา่ กลัวอย่างทค่ี ิด...

...ท่านสามารถสอบถาม/ตดิ ตอ่ กับเราได้ท.่ี ...
หมายเลขโทรศัพท์ 077-916500

ต่อ 62143

ด้วยความปรารถนาดจี าก
หนว่ ยรักษาด้วยไฟฟ้า โรงพยาบาลสวนสราญรมย์


Click to View FlipBook Version