The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนอาชีพระยะสั้น การทอผ้าขาวม้า ระหว่างวันที่ 1-12 มิถุนายน 2563 ณ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลบ้านโพธิ์ วัดลองตอง ต.บ้านโพธิ์ อ.เมือง จ.นครราชสีมา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mueang, 2022-01-26 01:56:07

รายงานผลการดำเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนอาชีพระยะสั้น การทอผ้าขาวม้า

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนอาชีพระยะสั้น การทอผ้าขาวม้า ระหว่างวันที่ 1-12 มิถุนายน 2563 ณ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลบ้านโพธิ์ วัดลองตอง ต.บ้านโพธิ์ อ.เมือง จ.นครราชสีมา

-1-

รายงานผลการดาเนินงาน

โครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชนอาชพี ระยะสนั้ (กลุม่ สนใจไม่เกนิ ๓๐ ชวั่ โมง)
หลักสูตรการศึกษาตอ่ เนื่องรูปแบบกลมุ่ สนใจ การทอผ้าขาวมา้
ระหวา่ งวนั ที่ ๑ – ๑2 มิถุนายน ๒๕๖๓

ณ ศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชนตำบลบ้านโพธ์ิ วดั ลองตอง ตำบลบา้ นโพธิ์ อำเภอเมอื งนครราชสีมา
จดั ทำโดย

นางอนงค์ ทองพีระ หัวหน้า กศน.ตำบลบ้านโพธิ์

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมอื งนครราชสมี า

สำนักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัดนครราชสมี า

สำนกั งานสง่ เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

กระทรวงศึกษาธิการ ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓

-2-

กติ ตกิ รรมประกาศ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนครราชสีมา โดยกศน.
ตำบลบ้านโพธ์ิ ได้ดำเนินการจัดกิจกรรม โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมอาชีพระยะส้ัน
(กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ช.ม.) วิชาการทอผ้าขาวม้า ซ่ึงเป็นหลักสูตรท่ีสำนักงานการศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัย ได้พัฒนาข้ึนให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสภาพปัญหา และความ
ต้องการของประชาชน เพ่ือเป็นการสร้างอาชีพให้กับประชาชน สร้างความเข้มแข่งให้กับ
ประชาชนพ่ึงตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต ดังนั้น เพ่ือให้ประชาชน มีอาชีพสร้างความเข้มแข่ง
ให้กับประชาชนพ่ึงตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตนั้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอำเภอเมืองนครราชสีมา โดย กศน.ตำบลบ้านโพธ์ิ จึงได้จัดโครงการส่งเสริมศูนย์ฝึก
อาชีพชุมชนกับ กศน.ตำบลบ้านโพธิ์ หลักสูตรการทอผ้าขาวม้า

คณะทำงานหวังเป็นอย่างยิ่งว่าสรุปรายงานผลการประเมินความโครงการเล่มนี้จะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้ที่เกี่ยวข้องต่อไป

ผู้จัดทำ
กศน.ตำบลบ้านโพธิ์

สารบญั -3-

เร่อื ง หน้า

บทที่ 1 บทนำ 1
ความเป็นมาและความสำคญั ของโครงการ 1
วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ 2
ขอบเขตของโครงการ 2
3
บทที่ 2 เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง 3
เอกสารแนวคิด ทฤษฏที ่เี กยี่ วข้องกบั โครงการ 16
16
บทท่ี 3 วธิ ีดำเนนิ การ 25
กจิ กรรมและกระบวนการเรยี นรู้ 26
27
บทที่ 4 ผลการประเมนิ โครงการ 29
เครอื่ งมอื ทใี่ ชป้ ระเมินโครงการ 30
สถติ ิท่ีใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 31
31
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 32
ผลสรุป
อภปิ รายผล
ข้อเสนอแนะ

ภาคผนวก

-4-

บทที่ 1
บทนำ

1. หลักการและเหตุผล
ดว้ ยสำนักงาน กศน.มีนโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งาน ประจำปีงบประมาณ 2563 ยทุ ธศาสตร์ที่

2 ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั
2.1 เร่งปรับหลักสูตรการจัดการศกึ ษาอาฃพี กศน. เพ่ือยกระดับทักษะดา้ นอาชีพของประชาชนเปน็

อาชพี ทรี่ องรับอตุ สาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ (First-S-curve และ New S-curve) โดยบรู ณาการความ
รว่ มมือในการพฒั นาและเสริมทกั ษะใหม่ดา้ นชีอาชพี (Upskill & Reskil) รวมถึงมุ่งเน้นสร้างโอกาส ในการ
สร้างงาน สร้างรายได้ และตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงานทั้งภาคอตุ สาหกรรมและการบริการ
โดยเฉพาะในพ้ืนทท่ี ่ีเขตระเบยี งเศรษฐกิจ และเขตพฒั นาพเิ ศษตามภูมิภาคตา่ ง ๆ ของประเทศสำหรบั ท่ีปกตใิ ห้
พฒั นาอาชพี ท่เี น้นการต่อยอดศกั ยภาพและตามบรบิ ทของพ้นื ท่ี

ดังนั้น ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองนครราชสมี า โดย กศน.ตำบล
บ้านโพธ์ิ จงึ ได้จดั ทำโครงการศูนยฝ์ ึกอาชพี ชุมชน กจิ กรรมอาชพี ระยะสั้น (กลมุ่ สนใจไมเ่ กนิ 30 ช.ม.) ให้แก่
ประชาชนผทู้ ่ีสนใจในพืน้ ทีต่ ำบลบ้านโพธ์ิได้เรยี นรู้และฝึกอาชีพการทอผ้าขาวมา้ เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการ
ของชุมชนโดยยดึ ชุมชนเป็นฐาน และบรู ณาการกิจกรรมให้สอดคล้องกบั วิถีของประชาชน ให้ฝึกทักษะ
จนสามารถนำไปสู่การปฏิบตั ิจรงิ และสามารถประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนนิ ชีวิต และพร้อมทจ่ี ะนำไปประกอบ
อาชีพเพอ่ื สร้างรายไดอ้ ย่างย่งั ยืน
2. วัตถปุ ระสงค์

2.1 เพื่อใหป้ ระชาชนได้เรียนร้แู ละเข้าใจเกย่ี วกบั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาอาชีพไดเ้ หน็ ช่องทางการประกอบ
อาชีพและสามารถพง่ึ พาตนเองได้

2.2 เพือ่ ให้ประชาชนดำรงอยูใ่ นสังคมอย่างมีความสขุ และสอดคลอ้ งตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี งและเปน็ ตัวอยา่ งท่ีดีได้
3. เป้าหมาย

3.1 เชิงปรมิ าณ
3.1.1 ประชาชนทั่วไปในเขตพน้ื ท่ีบรกิ าร กศน.ตำบลบา้ นโพธิ์ อำเภอเมอื งนครราชสมี า 9 คน

3.2 เชงิ คณุ ภาพ
3.2.2 ประชาชนในเขตพ้นื ที่บรกิ าร ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมอื งนคราชสีมา ทีไ่ ด้รับการ

เรียนรู้
อาชีพ สามารถนำความรูม้ าประกอบอาชีพเพ่ือเสรมิ สรา้ งรายได้ให้กับครอบครัวเปน็ ตัวอยา่ งทด่ี ไี ด้

4. วธิ ดี ำเนนิ การ
4.1 ประชุมวางแผนการดำเนนิ งานรว่ มกนั ระหวา่ งผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ครู ครอู าสาสมัคร

ครู กศน.ตำบล และตัวแทนประชาชนและเสนอขออนุมัตโิ ครงการ
4.2 ประสานงานดา้ นวสั ดุวทิ ยากร และพนื้ ท่ีดำเนินการ

-5-

4.3 จัดกจิ กรรมตามโครงการ
4.4 ติดตามและประเมินผลกิจกรรมฯ
4.5 สรปุ ผลและรายผลการจัดกิจกรรมเป็นรปู เล่ม และนำเสนอผู้บรหิ ารตอ่ ไป

5. ระยะเวลาดำเนนิ การ

ในระหวา่ งวนั ท่ี 1 มถิ นุ ายน 2563 ถงึ วันที่ 12 มิถุนายน 2563

6. สถานทด่ี ำเนนิ การ
กศน.ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสมี า

7. วิธีประเมินผล
7.1 สังเกต
7.2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจของผู้เข้ารว่ มกิจกรรม

8. ประโยชน์ท่ีจะได้รบั
ประชาชนทีเ่ ขา้ รบั การฝกึ อาชพี มคี วามรู้ ความเข้าใจด้านอาชีพได้เหน็ ชอ่ งทางการประกอบ

อาชพี สามารถนำความรู้มาประกอบอาชีพเพอ่ื เสริมสร้างรายไดใ้ ห้กับครอบครวั และเป็นตัวอยา่ งท่ีดไี ด้

9. ผ้รู ับผิดชอบโครงการ
9.1 ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมอื งนครราชสมี า
9.2 กศน.ตำบลบา้ นโพธิ์

10. ดัชนีวดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ

10.1 ตวั ช้วี ดั ผลผลติ
- รอ้ ยละ 85 ของประชาขนสามารถเรียนรู้ เหน็ ช่องทางในการประกอบประกอบอาชีพ
เกดิ การพฒั นาดา้ นทกั ษะอาชีพพัฒนาอาชพี และสามารถสรา้ งอาชพี ให้กับตนเองได้

10.2 ตวั ชี้วัดผลลพั ธ์
- ประชาชนทเี่ ข้าร่วมกจิ กรรมไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 5 สามารถนำความรูท้ ่ไี ดไ้ ปพัฒนาตนเอง
และเป็นตัวอย่างทด่ี ใี นตำบลได้

-6-

บทท่ี 2
เอกสารท่ีเกี่ยวข้อง

ผ้าฝ้าย (cotton)
เป็นใยเซลลูโลสได้จากดอกของฝ้าย ผ้าท่ีผลิตจากฝ้ายพันธ์ุดีเส้นใยยาว ผิวของผ้าจะเรียบ

เนียน และทนทาน คุณภาพของผ้าฝ้ายข้ึนอยู่กับพันธุ์ ความยาวและความเรียบของเส้นใย ใยฝ้าย
เองไม่ใคร่แข็งแรงนัก แต่เม่ือนำมาทอเป็นผ้า จะได้ผ้าที่แข็งแรง ย่ิงทอเน้ือหนา-แน่นจะย่ิงแข็งแรง
ทนทาน ดูดความช้ืนได้ดี เหมาะสำหรับทำผ้าเช็ดตัว ผ้าเช็ดหน้า ผ้าฝ้ายเน้ือบางถึงเนื้อหนาปาน
กลาง ใช้เป็นชุดสวมในฤดูร้อนจะรู้สึกเย็นสบาย คุณลักษณะเด่นของผ้าฝ้ายคือ

- ยับง่าย รีดให้เรียบได้ยาก แต่ปัจจุบันมีการตกแต่ง (Finish) ทำให้ผ้าไม่ใคร่ยับและรีดให้
เรียบได้ง่ายข้ึน

- ซักได้ด้วยผงซักฟอก ซักรีดได้ท่ีอุณหภูมิสูง
- แมลงไม่กินแต่จะขึ้นรา
ผ้าฝ้ายผสมกับผ้าใยสังเคราะห์ หรือท่ีเรียกกันท่ัวไปว่าผ้า CVC หรือ T/C หรือ TC เป็น
ผ้าท่ีมีส่วนผสมเป็นใยสังเคราะห์ และนำเน้ือฝ้ายเข้ามาผสมรวมด้วย คุณสมบัติก็จะอยู่กลาง
ระหว่างผ้า cotton และผ้า TK ผ้าชนิดน้ีนิยมทอผ้าให้มีลักษณะเป็นรู เนื่องจากผ้าประเภท TK
และ TC มีสมบัติในการระบายอากาศท่ีไม่ค่อยดีนัก การทอผ้า จึงนิยมทอผ้าให้มีรูเล็กๆ เพื่อช่วย
ระบายอากาศ และเพ่ือความสบายในการสวมใส่เน้ือผ้า จะมีลักษณะความมัน (น้อยกว่า TK)
ผ้าใยสังเคาะห์ หรือที่เรียกกันท่ัวไปว่าผ้า T/K หรือ TK เป็นผ้าที่มีส่วนผสมหลักเป็นใยสังเคราะห์
เน้ือผ้าจะมีลักษณะมัน คุณสมบัติ ท่ัวๆไป คือ ผ้า TK จะไม่ค่อยยับ อยู่ทรง ไม่ย้วย สีไม่ตก แต่
ข้อเสียก็คือเส้ือที่ทำจากผ้า TK ใส่แล้วจะร้อน เน่ืองจากระบายอากาศไม่ดีผ้า TK จึงนิยมทอ ให้มี
ลักษณะเป็นรูเช่นกัน ทนทานหาได้ง่ายและวางขายตามท้องตลาด

ผ้าทอ (woven fabrics)
เป็น ผ้าท่ีเกิดจากกระบวนการทอโดยใช้เคร่ืองทอ (weaving loom) โดยมีเส้นยืน
(warp yarn) และเส้นพุ่ง (filling or weft yarn) ท่ีทอขัดในแนวต้ังฉากกัน และจุดท่ีเส้นทั้งสอง
สอดประสานกัน (interlacing) จะเป็นจุดที่เส้นด้ายเปลี่ยนตำแหน่งจากด้านหน่ึงของผ้าไปด้าน
ตรงข้าม การทอในปัจจุบันมีการพัฒนา จากการทอด้วยมือ (hand looms) ไปเป็นการใช้
เครื่องจักรในการทอ โดยใช้เทคนิคหลากหลายรูปแบบ แตกต่างกัน เช่น Air-jet loom, Rapier
loom, Water-jet loom, Projectile loom, Double-width loom, Multiple-shed loom,
Circular loom, Triaxial loom

-7-

ความเปน็ มาของผา้ ขาวมา้

ความเป็นมาของผ้าขาวม้า

จากการท่ีพระบรมฉายาลักษณ์สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 9
ทรงฉลองพระองค์ด้วยผ้าไหมลายส่ีเหล่ียมสีดำขาว ขณะเสด็จฯไปทรงเยือนประเทศสหรัฐอเมริกา
เมื่อปี พ.ศ.2503 เป็นภาพที่แพร่หลายไปในส่ือหลายแขนงในสหรัฐอเมริกาและหนังสือพิมพ์ใน
นิวยอร์กได้ถวายคำสรรเสริญว่า “ทรงงดงามประดุจเจ้าหญิงในเทพนิยาย ทรงร่าเริง แจ่มใสและ
ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณโดยทรงเป็นกันเองกับ ผู้เข้าเฝ้าฯ ทรงแต่งพระองค์แบบตะวันตกด้วยผ้า
ไหมไทยได้งดงามที่สุด และทรงเป็นพระราชินีจากแดนไกลท่ีสามารถตรัสภาษาอังกฤษและ
ฝรั่งเศสได้คล่องแคล่ว” นอกจากนั้นพระบรมฉายาลักษณ์นี้ยังบ่งบอกว่า “ผ้าไทยลายตาราง
ส่ีเหลี่ยมท่ีคนไทยเรารู้จักกันดีในนาม ลายผ้าขาวม้า น้ัน เมื่อได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จ
พระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ทรงฉลองพระองค์ชุดลายผ้าขาวม้าดังกล่าวใน
ต่างประเทศจนได้รับการช่ืนชมในระดับนานาชาติ ย่อมเป็นการยืนยันว่าลายผ้าขาวม้าท่ีใครๆ อาจ
มองว่าเป็นของชาวบ้าน แท้จริงแล้วเมื่อได้รับการออกแบบและตัดเย็บอย่างประณีตงดงาม ผ้าลาย
ตารางน้ีก็สามารถฉายแววแห่งความงามอันเป็นสากลได้ ดังภาพที่ 1

ภาพที่ 1 ภาพสมเดจ็ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชนิ ีนาถ ในรชั กาลที่ 9 ไดท้ รงฉลองพระองค์ชุดผา้ ขาวมา้
ทม่ี า : นวลจันทร์ ศุภนิมิต, 2560, หนา้ 14

-8-

พระราชกรณียกิจด้านการส่งเสริมอาชีพหัตถกรรมแห่งแรกที่สมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 มีพระราชดำริให้ก่อตั้งขึ้น คือ ที่บ้านเขาเต่า อำเภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีชันธ์ โดยมีพระราชดำริให้ตั้งศูนย์ฝึกอบรมทอผ้าบ้านเขา เต่า เมื่อ พ.ศ.2507
เพ่ือส่งเสริมอาชีพให้แก่ชาวบ้านที่เป็นสตรี เน่ืองจากในช่วงเวลาน้ันพระบาทสมเด็จพระปรมินทร
มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถในรัชกาลที่ 9
ได้เสด็จฯไปทรงเยี่ยมราษฎรท่ีหมู่บ้านแห่งน้ี และพบว่ามีปัญหาเร่ืองแหล่งน้ำ ชลประทาน จึงได้
สร้างอ่างเก็บน้ำเขาเต่าข้ึน และส่งเสริมอาชีพให้แก่แม่บ้าน โดยสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 มีพระราชดำริให้พระราชทานกี่ทอผ้า การย้อมผ้า
การออกแบบลวดลาย และการตัดเย็บให้แก่ชาวบ้าน สร้างความปล้ืมปิติแก่ราษฎรชาวเขาเต่าที่
ได้รับอาชีพพระราชทานจากท้ังสองพระองค์

ในปีพ.ศ.2536 เป็นที่น่าเสียดายท่ีชาวบ้านเขาเต่าได้เลิกทอผ้าไป จนกระท่ังในปี
พ.ศ.2546 เมื่อภาครัฐได้สนับสนุนให้พัฒนาลวดลายตามแนวพระราชดำริ คือ ทอผ้าฝ้ายด้วยก่ี
กระตุก และใช้เส้นฝ้าย 100 เปอร์เซ็นต์ ชาวบ้านจึงได้กลับมาทอผ้าอีกคร้ังด้วยความสำนึกในพระ
มหากรุณาธิคุณว่าจะไม่ทอดท้ิง “อาชีพพระราชทาน” ที่ได้พระราชทานให้แก่ชาวบ้านเขาเต่า

หลังจากพระราชทานอาชีพทอผ้าแก่ชาวบ้านเขาเต่าแล้ว ต่อมาสมเด็จพระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลที่ 9 ได้ทรงสนับสนุนส่งเสริมผ้าทอพื้นเมืองมาโดยตลอด และทรง
ก่อต้ังมูลนิธิศิลปาชีพในสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ข้ึนเม่ือวันที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ.
2519 โดยทรงดำรงตำแหน่งประธานกรรมการบริหารของมูลนิธิ ด้วยมีพระราชประสงค์เพื่อดำรง
รักษาและฟ้ืนฟูงานหัตถกรรมน้ีไว้เป็นภูมิปัญญาอัน ล้ำค่าของชาติท่ีควรดำรงรักษาไว้ชั่วลูกหลาน
และที่สำคัญยิ่งไปกว่าน้ันคือ ทรงฉลองพระองค์ที่ทำจากผ้าไทยในทุกโอกาสให้คนไทยท้ังปวงได้
ประจักษ์ว่าผ้าไทยน้ันสง่างามล้ำค่า มิได้เชยล้าสมัย เป็น”ของบ้านนอกคอกนา” แต่อย่างใด ดังที่
ได้มีพระราชดำรัสในวันเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 4 รอบ เม่ือวันที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2523 ณ
เวทีใหม่สวนอัมพร

หากจะกล่าวถึงผ้าขาวม้า นับว่าเป็นหน่ึงในผ้าทอพื้นเมืองที่มีเอกลักษณ์และอยู่คู่กับ
สังคมไทยมายาวนานในฐานะ “ผ้าสารพัดประโยชน์” ในวิถีชีวิตของคนไทยแต่คร้ังโบราณและ
หากนำผ้าขาวม้าหนึ่งผืนไปวางปะปนกับผ้าทอประเภทอื่น ๆ เช่ือว่าลวดลายตารางของผ้าขาวม้า
จะโดดเด่นในการรับรู้ของผู้ที่มองเห็นและแยกแยะได้ทันทีว่า “นี่คือผ้าขาวม้า”

แม้บางคนไม่เคยใช้ ไม่เคยสัมผัส ก็ต้องรู้จักผ้าลายตารางน้ี ผ้าขาวม้าอยู่ในวิถีชีวิต
ของคนไนสังคมมายาวนานเท่าไรและอย่างไร เหตุใดลวดลายนี้จึงเป็นเอกลักษณ์และในความทรง
จำของคนในสังคมไทย คำถามเหล่านี้จะนำไปสู่การค้นหาเร่ืองราวของผ้าขาวม้าในหลากหลาย
แง่มุม ด้วยความเชื่อท่ีว่า ในผ้าขาวม้าทุกผืนมี “รหัสวัฒนธรรม” บางประการซ่อนอยู่

ผ้าขาวม้ามีความผูกพันและอยู่ร่วมกับวิถีชีวิตของคนไทยมาช้านาน จนทำให้หลายคน
เชื่อว่าผ้าขาวม้าน้ันเป็นของคนไทยมาแต่โดยกำเนิด แต่หากสืบค้นข้อมูลทางประวัติศาสตร์ท่ี
เกี่ยวกับผ้าที่มนุษย์เราใช้สอยมาแต่โบราณแล้วจะพบว่าผ้าขาวม้ามีสมมติ ฐานท่ีมาหลากหลาย
แตกต่างกัน ดังนี้

-9-

1. ญ่ีปุ่น ข้อมูลจากอาจารย์สมภพ จันทรประภา ได้อธิบายถึงท่ีมาของผ้าขาวม้าใน
หนังสือ “อยุธยาอาภรณ์” ว่ามาจากผ้านุ่งชั้นในของชาวญ่ีปุ่นท่ีเรียกว่า “หักขะม้า” และอาจารย์
จิราภรณ์ อรัณยะนาค อดีตผู้เช่ียวชาญด้านการอนุรักษ์โบราณวัตถุของกรมศิลปากร ที่กล่าวว่าได้
มีการพบผ้าขาวม้าท่ีเก่าแก่ที่สุดในประเทศญ่ีปุ่น ผ้าผืนน้ีสันนิษฐานว่าทอขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา
มีลวดลายเป็นตารางหมากรุก ชาวญ่ีปุ่นเรียกผ้าผืนน้ันว่า “ผ้าก่าม่า” (สมภพ จันทรประภา ,
2526) ผ้าก่าม่ามีลักษณะการนุ่งร่วมกัน “ฮากามะ” (Hakama) ที่เป็นกางเกงขายาวอัดพลีทบาน
คล้ายกระโปรง ส่วนผ้านุ่งพันแบบกางเกงช้ันใน คล้ายนุ่งเค็ดม่ำของคนล้านนา พม่าและถกเขมร
เปิดแก้มก้นคล้ายนักมวยปล้ำซูโม่นุ่งกัน เรียกว่า ฟุนโดชิ (Fundoshi)
(เพ็ญสุภา สุขคตะ, 2559)

2. กัมพูชา ข้อมูลในหนังสือ ผ้าทออีสาน ฉบับเชิดชูเกียรติแม่ครูช่างแถบอีสานใต้
และได้รับอ้างอิงในบทความ “เขม้นมอง ผ้าขาวม้า ไทยหรือเทศ”ท่ีเขียนโดย เพ็ญสุภา สุขคตะ
(2559) ท่ีตีพิมพ์ในคอลัมน์ปริศนาโบราณคดี นิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ กล่าวว่า คำว่า
“ผ้าขาวม้า” หรือ “ผ้าขะม้า” มักได้ยินคนไทยส่วนใหญ่อ้างว่าเป็นหน่ึงในอัตลักษณ์ที่สะท้อนถึง
ความเป็นไทย มีจิตวิญญาณ ไทยแท้ เสียย่ิงกว่าภาพลักษณ์ของ “ตุ๊กตุ๊ก” และ “สุวรรณเจดีย์”
เสียอีก ซึ่งแนวคิดน้ีสอดคล้องกับข้อมูลในหนังสือ เร่ือง “ผ้าทออีสาน ฉบับ เชิดชูเกียรติแม่ครูช่าง
แถบอิสานใต้” ว่า ในกัมพูชาเรียกผ้าขาวม้าว่า “ผ้ากรรมา” ซ่ึงเป็นผ้าที่มอบให้ผู้ใหญ่เพื่อขอล้าง
กรรม ซ่ึงเป็นไปได้หรือไม่ว่าไทยเรารับเอาผ้าขาวม้ามาจากกัมพูชาและต่อมาจึงกลายเป็นผ้ากำม้า
ผ้าขะม้า และผ้าขาวม้า

3. ประเทศไทย ผ้าขาวม้ามาจากคำว่า “ผ้าขอขมา” ซ่ึงในเทศกาลสงกรานต์เป็น
ประเพณีที่คนไทยจะต้องนำไปไหว้ เพ่ือกราบขอขมาลาโทษและรดน้ำดำหัวผู้อาวุโส (ชาย)
เน่ืองจากคำว่า “ขมา” น้ีมี ความใกล้เคียงกับคำว่า “ขะม้า” และใช้เป็นผ้าไหว้ในพิธีแต่งงานกับ
โอกาสต่าง ๆ ที่จะ ขอขมาผู้ใหญ่ ด้วยเป็นของหาง่ายและใช้ในชีวิตปร ะจำวัน

4. อิหร่าน รศ.ดร.อาภรณ์พันธ์ จันทร์สว่าง จากคณะสังคมสงเคราะห์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ อธิบายว่า คำว่า “ขาวม้า” เพ้ียนมาจากภาษาอิหร่านท่ีใช้ในสเปน ซึ่ง
เข้าใจว่าสเปนได้นำเอาภาษาแขกไปใช้ คือ คำว่า คามาร์ บันด์ ( Kamar Band) โดยท่ี “คามาร์”
หมายถึง เอว หรือ ท่อนล่างของร่างกาย “บันด์” แปลว่า พัน รัด หรือคาด เมื่อนำทั้งสองคำมา
รวมกัน จึงหมายถึง เข็มขัด ผ้าพันหรือคาดสะเอว ผ้าคาดเอว เพราะในประวัติศาสตร์ประเทศทั้ง
สองมีการติดต่อกันมาช้านาน ดังปรากฏในผลงานวิจัยเรื่อง “ผ้าขาวม้าเอกลักษณ์ไทย” คำว่ า คา
มาร์บันด์ หรือ คัมเมอร์บันด์ (Commer band) หมายถึง ผ้ารัดเอว ในชุดทัคซิโด้ (Tuxedo) ซ่ึง
เป็นชุดสำหรับออกงานราตรีสโมสร จากงานวิจัย เรื่อง ผ้าขาวม้า ของอาภรณ์พันธ์ จันทร์สว่าง
อธิบายไว้ว่า ผ้าขาวม้า เป็นคำที่เพี้ยนมาจากคำว่า “กามา” (Kamar) ซ่ึงเป็นภาษาอิหร่านที่ใช้กัน
อยู่ท่ีประเทศสเปน เข้าใจว่าสเปนเอาคำว่า “กามา” ของภาษาแขกไปใช้ด้วย เพราะใน
ประวัติศาสตร์ ประเทศท้ังสองมีการติดต่อกันมาช้านาน

- 10 -

เม่ือพิจารณาจากทั้งสี่สมมติฐานนี้แล้ว ข้อท่ีผู้รู้เช่ือว่าน่าจะเป็นไปได้มากที่สุด คือ
ผ้าขาวม้ามาจากอิหร่าน ทั้งรากศัพท์ของภาษา ระยะเวลา และหลักฐานที่ค้นคว้าได้ เชื่อว่า ผ้าคา
มาร์จากอิหร่านแพร่หลายไปสู่สเปน หลังจากนั้นได้เผยแพร่ไปยังท่ีอื่น ในอดีต “จักรวรรดิที่พระ
อาทิตย์ไม่เคยตกดิน” เชื่อว่าผ้าคามาร์นี้ได้แพร่หลายเข้าไปสู่ดินแดนต่าง ๆ ที่สเปนติดต่อด้วย
จนกระทั่งเข้ามาสู่ประเทศไทยในที่สุด

ประวัติ “ผา้ ขาวมา้ ” ในวฒั นธรรมการทอผา้ จากอดตี ถึงปัจจบุ ัน

คนไทยเราทอผา้ ใช้เองกนั มาแตโ่ บราณ เรามักไดย้ นิ ประโยคน้อี ยเู่ สมอ แต่คำวา่ โบราณ นนี้ าน
เท่าใด และคนไทยทอผา้ กนั อย่างไร

เม่อื ค้นควา้ จากหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ที่สามารถยืนยันได้ พบวา่ การทอผ้าในประเทศไทยนนั้
สามารถสืบค้นย้อนไปได้นานกว่า 5,000 ปีทเี ดยี ว มกี ารพบหลกั ฐานเคร่อื งใชเ้ กีย่ วกบั การผลติ เสน้ ใยเพื่อทอผา้
อยูใ่ นถนิ่ ฐานของผคู้ นสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์มากมายหลายแห่ง กระจายอย่ทู ้ังในภาคเหนือ ภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนือ ภาคใต้ และภาคกลาง เช่น ทจี่ ังหวัดชมุ พร พบอุปกรณ์เครอื่ งมอื หนิ ทใ่ี ช้ทุบเส้นใยจาก
เปลือกไม้บางชนิดใหอ้ ่อนนุ่ม เพอื่ ใชท้ ำเปน็ เสน้ ดา้ ย พบเครือ่ งปัน้ ดนิ เผาที่ถ้ำผี จงั หวัดแมฮ่ ่องสอน มี สายเชอื ก
ทาบและสายตาขา่ ย ซึง่ บง่ บอกวา่ คนในสมัยนั้นไดน้ ำเสน้ ใยธรรมชาตมิ าทำเป็นเสน้ ด้ายและตอ่ มาใน ยุคสำรดิ
หรือประมาณ 4,000 ปกี ่อน ยงั มกี ารจดุ พบเครื่องใชส้ ำรดิ ซึง่ มเี ศษผ้าติดอย่กู บั เครอื่ งใช้เหลา่ น้ี ทำให้เชอ่ื ไดว้ ่า
คนไทยยุคนัน้ สามารถผลติ เสน้ ใยได้ และยงั มกี ารพบ “แวดนิ เผา” (อุปกรณ์ทอผ้าของมนุษยย์ คุ กอ่ น
ประวัตศิ าสตร์ เปน็ ดนิ เผารูปกรวยขนาดเล็กประมาณเท่าหวั แม่มือ มรี สู ำหรับสอดแกนไม้เล็ก ๆ ตอนปลายจะ
ทำเปน็ เงย่ี งหรอื ขอสำหรบั สะกิดหรือเกีย่ วปยุ ฝา้ ย) พรอ้ มลูกกลง้ิ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนอื และ
ภาคกลาง ซึง่ พบหลักฐานทบี่ ง่ บอกว่ามีการปัน่ ด้ายและทอผา้ โดยใช้ฝ้ายเป็นวัตถดุ ิบ นอกจากนี้ยังมีการค้นพบ
ลูกกลงิ้ ดนิ เผาท่แี กะลวดลายเรขาคณิตจำนวนมาก แสดงวา่ มีการทำลวดลายบนผ้าและพัฒนามาเปน็ ลายในผา้
ทอตา่ ง ๆ เรือ่ ยมาจนถึงปัจจบุ ัน

การค้นพบหลักฐานทางโบราณคดีเหล่านี้ เปน็ เครอ่ื งยนื ยนั ว่าผูค้ นในดนิ แดนทีเ่ ป็นประเทศไทยใน
ปัจจุบันน้ี มีการสั่งสมองค์ความรเู้ ก่ยี วกบั การผลิตเส้นใย การถกั ทอลวดลายและทอผา้ มายาวนานหลายพนั ปี
จนกระทงั่ มาถึงจดุ เปลี่ยนในราวพทุ ธศตวรรษที่ 10 – 15 เมื่อมีการตดิ ต่อคา้ ขายกับอนิ เดีย ท่ีมอี งค์ความรู้
เทคนคิ การทอผ้าและย้อมสผี ้าสงู มาก จงึ เกดิ การถ่ายเททางวัฒนธรรมและการเรียนร้เู รือ่ งการผลิตเส้นดา้ ย
การยอ้ มผ้าจากสมนุ ไพร และการทอผ้าแบบตา่ ง ๆ จากอินเดีย ทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของผา้ ทอ และ
ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุน่ ระหวา่ งคนในครอบครัว ซงึ่ แน่นอนวา่ ผทู้ ีท่ อผ้าสำหรบั ใชส้ อยในครอบครวั กค็ อื ผหู้ ญิง
นั่นเอง

การทอผา้ ไดก้ ลายเป็นสว่ นหนงึ่ ในวิถีชีวิตของผู้หญงิ ไทยในอดตี ที่ไดส้ ั่งสอนความรู้ พัฒนา ต่อยอด
และถา่ ยทอดสลู่ กู หลาน จนกลายเปน็ ผลงานผนื ผา้ ทเ่ี ปน็ เอกลักษณข์ องแต่ละชมุ ชน สืบทอดมาเปน็ ประเพณี
การใชล้ วดลายผ้าในวัฒนธรรมของตนเอง และนำไปใช้ในโอกาสต่าง ๆ การทอผ้าน้ีนับเป็นภมู ปิ ัญญาท่ีสง่ั สมใน
ครอบครัวและมกั จะถา่ ยทอดให้แก่ลกู หลานท่ีเปน็ ผหู้ ญิง เพ่ือใหน้ ำความรใู้ นการทอผ้าไปใชเ้ ม่ือออกเรือนและ
สรา้ งครอบครวั ของตนเอง

- 11 -

ในอดตี การทอผา้ ในประเทศไทยสามารถคงความเปน็ เอกลักษณ์ของแต่ละชมุ ชนเอาไว้ได้ เนือ่ งจาก
ชาวบ้านมวี ิถชี ีวิตและเศรษฐกิจแบบพ่ึงพาตนเอง มีการทอผ้าไว้ใชใ้ นครวั เรอื น เมื่อเหลือใชแ้ ล้วจงึ นำไปขาย
เปน็ รายได้ ความเปน็ ไปดังกลา่ วนมี้ าถงึ จุดเปลี่ยนแปลง หลังจากท่ีประเทศไทยมคี วามจำเปน็ ทีจ่ ะต้องทำ
สนธิสัญญาเบาวร์ ง่ิ กับองั กฤษในรัชสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อยูห่ ัวรัชกาลที่ 4 ซึ่งมีการจัดเก็บ
ภาษสี ินคา้ จากต่างประเทศในอตั ราเพียงร้อยละ 3 ทำให้สินค้าจากประเทศตะวนั ตก ซง่ึ มีราคาถกู กว่าและมี
เทคโนโลยใี น การผลติ สินค้าสงู กว่าได้นำสินค้าเข้ามาแพรห่ ลายในประเทศไทย โดยเฉพาะสนิ ค้าประเภทผา้
และเส้นดา้ ย ซง่ึ มคี ณุ ภาพและราคาถูกกวา่ ท่ผี ลิตในประเทศ ทำให้ตอ่ มาการทอผา้ ในประเทศเร่มิ ลดลงเร่ือย ๆ
และไดม้ กี ารกระทบอยา่ งรุนแรงอกี คร้งั หลังสงครามโลกคร้งั ที่ 2 เมอื่ โรงงานอตุ สาหกรรมการทอผ้าใช้
เคร่อื งจกั รผลติ ผ้าได้จำนวนมาก มีคณุ ภาพดแี ละราคาย่อมเยา คนไทยจงึ หันไปนิยมผ้าเหลา่ นแ้ี ทนผา้ ทอมือ
ประกอบกับความแร้นแคน้ ยากจนในอาชพี เกษตรกรรม ทำใหช้ าวชนบทเข้ามาทำงานในภาคอตุ สาหกรรมใน
เมืองใหญ่ เปน็ เหตใุ ห้ชาวบา้ นในหลายหมบู่ ้านเลกิ ทอผ้า

วฒั นธรรมการทอผา้ คงจะสูญหายไปจากเมืองไทย หากไมไ่ ดร้ ับพระมหากรุณาธคิ ณุ จากสมเดจ็ พระ
นางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ ในรชั กาลท่ี 9 ท่ที รงเหน็ ความสำคญั ของภมู ปิ ัญญาชาวบ้านทีป่ รากฏอย่ใู นผา้ ทอ
มอื ได้ทรงฟ้นื ฟูและพฒั นาผา้ ทอประเภทต่าง ๆ ของไทยในทุกภาค และทรงเผยแพร่การใช้ผา้ ทอพืน้ บ้านอยา่ ง
กวา้ งขวาง ทรงฉลองพระองค์ดว้ ยผ้าไหมไทยอย่างงดงาม เสด็จฯไปตามที่ตา่ ง ๆ ท้งั ในประเทศไทยและ
ตา่ งประเทศ ทำใหก้ ารทอผ้าไทยไดร้ ับการพลิกฟ้ืน อีกทัง้ เกิดความตนื่ ตวั ในเร่อื งการใช้ผ้าไทย ทำใหค้ นไทยหัน
มานิยมผา้ ทอพ้ืนบา้ นอีกครั้ง ตอ่ มาได้ทรงก่อต้งั ศูนย์ศลิ ปาชพี ฯเพือ่ ดำเนินการในเรอื่ งการพัฒนาผ้าทอพืน้ บา้ น
อย่างครบวงจร โดยมพี ระราชประสงคเ์ พอื่ สรา้ งรายไดใ้ ห้แก่ชาวบ้านและดำรงรักษาภมู ปิ ัญญาการทอผ้าไว้ให้
เปน็ มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ

ในท่ามกลางผ้าทอพ้ืนเมืองท้งั หลาย “ผ้าขาวมา้ ” เป็นหน่งึ ในผา้ ทอท่ีมคี วามเป็นเอกลกั ษณอ์ ยา่ ง
ชดั เจน ดัวยลวดลายที่ค้นุ ตาและประโยชน์ใช้สอยในฐาน “ผา้ อเนกประสงค”์ ท่ีสารพัดประโยชน์ เข้าถึงงา่ ย
และบอกเลา่ ถงึ วถิ ีชีวิตคนไทยไดอ้ ย่างหลากหลายมิติ แม้ว่าปจั จุบันบทบาทการเป็นผ้าสารพดั ประโยชนข์ อง
ผา้ ขาวมา้ จะลดลงจากเดมิ เพราะความเปลย่ี นแปลงในวถิ ชี ีวติ ความเปน็ อยขู่ องผู้คน แต่ภาพอดีตของผ้าขาวมา้
ยังคงแจม่ ชดั จากรากฐานของข้อมูล แสดงให้เห็นวา่ ผา้ ขาวม้าเปน็ ผา้ โบราณ ท่ใี ชป้ ระโยชน์กันมายาวนานแล้ว
คนไทยรู้จกั ใช้ผ้าขาวม้าตงั้ แต่ สมัยพทุ ธศตวรรษท่ี 16 ถา้ นับเวลาย้อนไป จะตรงกบั ยคุ สมัยเชยี งแสน ทีผ่ หู้ ญงิ
มักนงุ่ ผา้ ถุง สว่ นผู้ชายเริม่ ใช้ผา้ เคียนเอว (ผา้ ขาวม้า) ซงึ่ ได้วัฒนธรรมมาจากไทยใหญ่ (ไทยใหญใ่ ช้โพกศีรษะ)
สว่ นไทยยังมุ่มมวยผมอยู่ เม่ือเห็นประโยชนข์ องผ้าจงึ นำมาใชบ้ า้ ง แต่เปลี่ยนมาเป็นผ้าเคียนเอว เมอื่ เดนิ
ทางไกลจงึ นำมาใช้เพื่ออำนวยความสะดวก ซึง่ ใหป้ ระโยชนม์ าก เช่น ใชห้ ่ออาวุธ และเกบ็ สมั ภาระในการ
เดินทาง ปทู น่ี อน นงุ่ อาบนำ้ ใช้เช็ดร่างกาย เม่ือไทยใหญ่เหน็ ประโยชน์ของการใชผ้ ้า จึงนำมาเคียนเอวตาม
อยา่ งบ้าง เคยี น เปน็ คำไทย มีความหมายตามพจนานกุ รม คอื พัน ผูก พาด โพก คาด คลุม เมอ่ื นำมารวมกบั
คำว่า “ผ้า”และ “เอว” เปน็ คำว่า “ผา้ ขาวม้า ” เนือ่ งจากใช้เรียกกนั มาแตโ่ บราณ ส่วนคำว่า “ผา้ ขาวมา้ ” มา
นิยมใชเ้ รยี กกันในภายหลงั หลักฐานท่ีแสดงว่าคนไทยเร่มิ ใช้ผ้าขาวมา้ ในสมัยเชยี งแสน มปี รากฏให้เหน็ จาก
ภาพจติ รกรรมฝาผนังที่ วัดภูมินทร์ จังหวดั น่าน และเมอื่ ดูการแต่งกายของหญิง ชาย ไทยในสมัยอยธุ ยา จาก
ภาพเขียนในสมดุ ภาพ “ไตรภมู สิ มยั อยธุ ยา” ราวตน้ ศตวรรษท่ี 22 จะเห็นไดว้ า่ ชาวอโยธยานิยมใชผ้ ้าขาวม้า

- 12 -

พาดบา่ คาดพุง หรอื นงุ่ โจงกระเบนแล้วใชผ้ ้าขาวม้าคลอ้ งคอตลบห้อยชายทง้ั สองขา้ งไว้ดา้ นหลงั สมัย
รตั นโกสินทร์ชาวไทยทั้งชายหญิงนยิ มใชผ้ ้าขาวมา้ มาทำประโยชน์มากย่ิงข้นึ โดยไมจ่ ำกัดแตเ่ พยี งเพศชายอย่าง
เดยี วเหมือนในอดตี และไม่จำกดั เฉพาะทำเป็นเครื่องตกแตง่ รา่ งกายอยา่ งเดียว จากผ้าคาดเอวก็มาเปน็ ผา้
สำหรับหอ่ อาวุธ เก็บเป็นสมั ภาระ (กลายเป็นกระเปา๋ ) ใชป้ พู ้นื (เปน็ ท่ีน่ัง ท่ีนอน) ใชน้ งุ่ อาบนำ้ เช็ดร่างกาย
(ผ้าขนหนู) แม้ในปัจจุบนั เราก็ยังเหน็ ผา้ ทอลายตารางส่ีเหลย่ี มนี้ถูกนำมาออกแบบเป็นเสือ้ เชติ้ วยั รุ่นวางขายกนั
เกลอื่ นเมือง ผ้าขาวมา้ เปน็ อาภรณอ์ เนกประสงค์ มลี ักษณะเปน็ รปู ทรงสี่เหลยี่ มผนื ผ้า ส่วนใหญท่ อมาจากฝ้าย
แตบ่ างครั้งอาจทอจากเส้นไหม ในบางทอ้ งถ่นิ นิยมทอจากเสน้ ด้ายดิบและเส้นปา่ นนยิ มทอสลับสีกันเป็นลายตา
หมากรุกหรอื เป็นลายทาง โดยมากผลิตในแถบภาคเหนอื หรือภาคอีสาน มีขนาดความกว้างยาวแตกตา่ งกนั
ออกไป ส่วนใหญจ่ ะกว้างประมาณ 3 คืบ ยาว 5 คืบ หรืออยู่ที่ 2 ศอก (ความกว้าง) คูณ 3 – 4 ศอก (ความ
ยาว) ซ่งึ เปน็ สดั ส่วนทเี่ หมาะสมกับความสงู ของผู้ชายไทยทั่วไป โดยความกวา้ งท่วี า่ นจ้ี ะยาวจากเอวไปจนถงึ
กลางลำแขง็ ในขณะทค่ี วามยาวสามารถพันรอบเอวแลว้ เหลือเศษออกมาเล็กน้อย สำหรบั ในแตล่ ะครงั้ จากน้นั
จะนำมาตดั ลงใหเ้ หลอื ผนื ละ “หน่งึ วา” ซ่ึงเปน็ ทม่ี าของคำว่า “ผ้าแพรวา” ในขณะที่ภาคใต้จะเรยี กวา่ “ผ้าซัก
อาบ” อนั น้สี บื เน่อื งจากประโยชนห์ ลกั ของตัวผ้าที่นยิ มใช้กันในขณะอาบน้ำ (สุวทิ ย์ วงศ์รุจิราวาณิชย์, ม.ป.ป.)
โดยอายุของการใช้งานจะประมาณ 1 - 3 ปี สำหรับราคากจ็ ะแตกต่างกันออกไปตามวัสดทุ ี่ใช้ (ถ้าเปน็ ผา้ ไหม
เน้ือดีจะมีราคาแพง ซ่งึ นิยมใชแ้ ตะพาดบา่ หรือพาดไหล)่ ผา้ ขาวมา้ เปน็ อาภรณท์ อี่ ยคู่ กู่ ับคนไทยมาทกุ ยุคทุก
สมัย โดยนยิ มใช้กนั ทว่ั ๆ ไป โดยเฉพาะตามชนบท โดยประวตั ิผา้ ขาวมา้ อาจจะไมใ่ ชผ่ ้าของคนไทย แต่
ระยะเวลาทีย่ าวนานกว่า 900 ปี ที่ผ่านไปผา้ ขาวม้านบั ได้วา่ เป็นผ้าสารพดั ประโยชนอ์ ย่างแท้จรงิ เพราะอย่าง
นอ้ ยดว้ ยรูปลกั ษณ์และลวดลายทม่ี กี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ซง่ึ ไดร้ วมไวท้ งั้ ศาสตร์แห่งสีสนั และศิลป์แหง่ ลายผ้า
ไทยนำมาผสมผสานกนั อย่างกลมกลนื ผ้าขาวม้าเป็นผ้าทอี่ ำนวยความสะดวกให้กับคนไทยมาหลายศตวรรษ
โดยไม่มีทที า่ ว่าจะสญู หายไปงา่ ย ๆ เนื่องดว้ ยประโยชน์ของผา้ มมี ากมายนานปั การทงั้ นี้เพราะผา้ ขาวมา้ มีความ
เกย่ี วข้องกบั วิถีทางแหง่ การดำรงชวี ิตมากมายหลายอยา่ งดว้ ยกันจะเห็นไดอ้ ยา่ งชัดเจนวา่ “ผา้ ขาวม้า” คือสง่ิ
มหศั จรรยแ์ หง่ สายใยทีถ่ กั ทอไวอ้ ยา่ งประณตี จากตำนานกาลเวลาและคุณค่าอันน่ายกยอ่ ง สรุปความไดว้ ่า
ประโยชน์ของผา้ ขาวม้าใชก้ นั ต้ังแตเ่ กิดจนกระท่ังตาย (อันตกิ า, 2556)

หากจำลองภาพครอบครวั หนึ่งในอดีต พอ่ แมล่ ูก ล้วนมีผ้าขาวม้าอยู่ในวถิ ีชวี ติ กอ่ นที่เด็กจะเกดิ
แม่บา้ นจะตอ้ งมีการเตรยี มผา้ ขาวม้าทำเปน็ เบาะรองเด็กทารก เมอ่ื แมค่ ลอดลูกแลว้ ก็จะมอบผา้ ขาวม้าให้ผู้ที่มา
ชว่ ยทำคลอดเปน็ การแสดงความขอบคุณ จากน้ันผา้ ขาวมา้ กท็ ำหนา้ ทเี่ ป็นเปลเดก็ หรือเมอ่ื แมบ่ ้านอุม้ เด็กก็ใช้
ผ้าขาวมา้ ผูกไว้กบั ตัวชว่ ยรับน้ำหนัก ส่วนเดก็ นอ้ ยคนนน้ั เมื่อโตขนึ้ กน็ ำผ้าขาวมา้ มาดดั แปลงทำเป็นตุ๊กตาเลน่
กับเพือ่ น ๆ อย่างสนกุ สนาน สว่ นพ่อแมน่ นั้ เป็นผทู้ ใี่ ช้ผา้ ขาวม้าอยา่ งคมุ้ ค่ากวา่ ใคร ๆ ทั้งนุ่งอาบนำ้ เช็ดตวั เม่ือ
ออกจากบ้านก็นำมาคาดเอวแทนเขม็ ขัด พกติดตัวไปทำไรท่ ำสวน บางทกี ็ใชโ้ พกศีรษะกันแดดแทนหมวก เหง่ือ
ไหลไคลยอ้ ยกเ็ อาผ้าขาวม้านั่นแหละเช็ดเหง่อื ไคล ปดั ไลย่ งุ แมลงต่าง ๆ ตลอดจนหนุนนอนพักผอ่ นทีเ่ ถียงนา
พอได้เวลากลับ มีขา้ วของตอ้ งขนกลับบ้าน ก็เอาผา้ ขาวมา้ มาเปน็ ตัวช่วยในการทนู บนศรี ษะ ช่วยแบกหามขา้ ว
ของกลบั บ้าน แตใ่ นปจั จบุ นั ผา้ ขาวม้ามีบทบาทลดนอ้ ยลงไปตามกาลเวลา คนรนุ่ ใหมอ่ าจมองไมเ่ ห็นภาพใน
อดตี เหล่านน้ั อีกแล้ว เมอื่ สภาพสังคมเปลยี่ นแปลงไป วิถีการดำเนนิ ชวี ติ ของผู้คนก็เปลยี่ นตามการใช้ประโยชน์
จากผ้าขาวมา้ กล็ ดลงไปดว้ ย อกี ทั้งมสี งิ่ อื่นท่มี าทดแทน ทำใหผ้ า้ ขาวมา้ ไมไ่ ดร้ ับความนยิ มจากผู้บรโิ ภค
เทา่ ท่ีควร เมอื่ เทียบกบั ผ้าทอพน้ื เมืองประเภทอ่นื ๆ

- 13 -

เหตผุ ลของการใช้ผ้าขาวมา้ ลดลง บัณฑติ ปยิ ะศลิ ป์ (2546) ได้ทำการวิเคราะห์เหตุผลทมี่ ีการใช้
ผา้ ขาวม้าลดลง ทง้ั ท่ีเป็นผ้าทีม่ คี ุณค่าตอ่ สังคมไทยอย่างมาก ดังนี้

1. งานหลักของผ้าขาวม้าคอื ผ้าท่ีใช้ขจดั สงิ่ ปฏิกลู ออกจากร่างกาย เช่น เหงอ่ื ไคล น้ำมูก นำ้ ตา
น้ำลาย ฯลฯ สงิ่ ปฏกิ ลู เหล่านถี้ ูกซบั ไวใ้ นเนือ้ ผา้ ของผ้าขาวม้า แมจ้ ะทำความสะอาดอยา่ งไร ผ้าขาวม้าก็ได้ชอ่ื วา่
เป็นผา้ ท่ีทำความสะอาดร่างกาย ไม่ใช่ผา้ ท่ีใชเ้ สรมิ ความงามของเรอื นรา่ ง ไมใ่ ชผ่ า้ ปกปดิ กายใหม้ ิดชดิ เรียบรอ้ ย
แตใ่ ชเ้ ปิดเผย คอื เปดิ บางส่วนของรา่ งกาย นำมาซง่ึ ความสะดวกสบายแกร่ ่างกาย หรือใช้ปกปิดรา่ งกายเพือ่
ไม่ให้อุจาดเท่านั้น

2. ผา้ ขาวม้าเป็นผ้าท่ีใชใ้ นพน้ื ที่ส่วนตัว และใช้กบั สว่ นตำ่ หรอื สว่ นทส่ี กปรกของรา่ งกาย
ขณะเดียวกนั กย็ ังไม่มขี อ้ ห้ามในการนำเอาผา้ ผนื เดยี วกนั นใี้ ชก้ บั ส่วนบนของรา่ งกาย เช่น ศรี ษะ หรือใบหนา้ ซึง่
ถือวา่ เปน็ พ้ืนที่เกียรตยิ ศของคนในวฒั นธรรมไทย ผา้ ขาวมา้ จึงเป็นผา้ ท่ีใชไ้ ด้กับทกุ สว่ นของรา่ งกาย ด้วยความ
สารพัดประโยชน์ในลกั ษณะนีเ้ อง ผ้าขาวมา้ จงึ ไมม่ ีสถานภาพที่สงู กว่าของใชธ้ รรมดาชิน้ หน่งึ

3. ผา้ ขาวม้าส่วนใหญ่ใชเ้ พ่ือนงุ่ หม่ หรือปกปดิ รา่ งกายของคนจนหรือคนทไี่ ร้เกียรตใิ นสังคม เป็น
เครื่องหมายแสดงถงึ ความเปน็ คนบา้ นนอกหรือชนชัน้ ผใู้ ช้แรงงานและความไร้เกยี รตไิ ร้อำนาจของคนในสังคม
ในสายตา “ผู้ด”ี ผา้ ขาวม้าบนรา่ งกายของคนในเมืองท่ีมาจากชนบทมกั จะถกู มองว่าเป็นเรือ่ งตลก เชย รวมทั้ง
อจุ าด ประเจิดประเจอ้

จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น เหน็ ได้ว่าคณุ คา่ ของผ้าขาวม้าได้ถูกลดทอนลงอนั เนื่องมาจาก

ภาพลักษณข์ องการนำไปใช้นน่ั เอง อยา่ งไรก็ตาม ในปจั จุบนั ผ้าขาวม้าในยุคใหม่มกี ารเปลย่ี นภาพลักษณ์ไปจาก

เดมิ กล่าวคือ จากการทอแบบลวดลายดง้ั เดิมมาเป็นลายที่ทนั สมัยขึน้ รวมทั้งพัฒนาคุณภาพและแปรรปู ให้ใช้

ประโยชนไ์ ด้อยา่ งหลากหลายขึ้น อีกทงั้ กระบวนการผลติ กม็ ีการพัฒนาขน้ึ ตามยุคสมัย

กว่าจะเป็นผ้าขาวมา้ เป็นกระบวนการสร้างสรรคค์ วามงามอนั เรยี บงา่ ยบนผืนผ้า คนทอผา้ หลาย
คนบอกว่า ทอผา้ ขาวมา้ นั้นงา่ ยกวา่ ผ้าประเภทอื่น ๆ เพราะลวดลายไม่ซบั ซอ้ นและเป็นผา้ ทที่ อกันมาตง้ั แตป่ ู่ย่า
ตายาย หลายคนจงึ ร้วู ธิ กี ารดีวา่ จะทออยา่ งไร อยา่ งไรก็ตามข้นึ ช่อื ว่าการทอผา้ แลว้ ในสายตาของคนภายนอกที่
ทอผ้าไม่เป็น ดูวา่ ไม่ใชเ่ ร่อื งง่ายเลย เพราะมีข้ันตอนท่ีซับซ้อนมากมาย

ในการทำผ้าขาวมา้ ปกติเราใช้ผา้ ฝ้ายอินทรีย์ซึง่ จะค่อนขา้ งหยาบ แตม่ ีคุณสมบัตโิ ปร่งระบายอากาศ
ได้ดี จึงไดน้ ำน้ำยานาโนน่มุ ใส่กับผ้าขาวม้า ทำให้ตวั ผ้าขาวมา้ ที่ทอมามคี วามนุม่ นา่ ใช้มากกวา่ เดมิ ส่วนการ
ป้องกันแบคทีเรยี จะมีคุณสมบัติทนต่อการซักและป้องกนั เช้อื แบคทเี รยี ต่อการซัก 20 ครง้ั หลังจากนั้นจะกลบั
เข้าสู่สภาวะของผา้ ฝ้ายปกติ แต่คุณสมบัตนิ มุ่ ของนาโนจะคงทนความนมุ่ ตอ่ ไปเร่ือย ๆ”

- 14 -

สธี รรมชาติใน “ผ้าขาวม้า”

สำหรบั ผู้บริโภคแลว้ เสน่หข์ องผา้ ทอทีใ่ ช้สธี รรมชาติ คือ สีทเี่ ปน็ เอกลักษณเ์ ฉพาะตวั และแปลกตา
นอกจากความสวยงามแล้วยังมผี ลดกี บั ผู้สวมใส่ คือ สวมใส่สบายและไม่ระคายเคืองผวิ หนัง อกี ท้งั กระบวนการ
ผลติ ยงั ไมส่ ่งผลเสยี ต่อสง่ แวดล้อมดว้ ย

แตก่ อ่ นที่จะมาเป็นสีธรรมชาติที่สวยงามใหผ้ ู้บริโภคได้สวมใส่ กระบวนการของการย้อมสีธรรมชาติ
ทม่ี าที่ไปนา่ สนใจไมน่ อ้ ยไปกวา่ การทอผา้ เลย และเป็นขน้ั ตอนหนึ่งท่สี ำคญั มาก และมคี วามซับซ้อนกวา่ จะมา
เปน็ สีธรรมชาติทสี่ วยงามบนผนื ผา้

สำหรบั คนไทยในสมัยโบราณมีการใช้สธี รรมชาติในอาหาร เสื้อผา้ และภาพเขยี นโบราณต่าง ๆ
ดังทปี่ รากฏในหลักฐานสำคัญทางประวัติศาสตร์มากมาย ในบรรดาผ้าทอผืนเก่าแก่

สธี รรมชาตเิ หลา่ น้ไี ดม้ าจากทงั้ พชื และสตั ว์ ส่วนท่ีได้จากพชื มาจากการสกัดสีจากส่วนต่าง ๆ ของ
พชื เชน่ เปลอื กไม้ ใบไม้ รากไม้ แก่ไม้ ลูกไม้ สว่ นท่ีมาจากสัตว์ เชน่ ถ่านกระดกู ของสัตว์ มลู สตั ว์ เป็นตน้ คน
ไทยเรานิยมใชส้ ีธรรมชาติจากพืชเปน็ หลัก เน่อื งจากประเทศไทยมีความหลากหลายทางพันธุกรรมของพชื สูง
เป็นอันดบั ตน้ ๆ ของโลก จงึ เกดิ การนำพชื ต่าง ๆ ในท้องถนิ่ มาสกดั สธี รรมชาติ และนำมาย้อมเส้นใยจาก
ธรรมชาติ เชน่ ฝ้าย ไหม และขนสัตว์

ต่อมาเมอ่ื มีการพัฒนาอตุ สาหกรรมสิง่ ทอซึง่ ใช้สารเคมใี นการย้อมผา้ ทำให้ภูมิปัญญาเรือ่ งการยอ้ ม
สี ธรรมชาติเกอื บจะสูญหายไป แต่โชคดีในทอ้ งถน่ิ ต่าง ๆ ยงั มผี อู้ นรุ ักษ์การย้อมสธี รรมชาติไว้ โดยท่เี กือบจะ
สญู หายไป

ลวดลายผ้าขาวม้า “ลายตาราง” ทค่ี ุน้ ตาคนไทย

พิจารณาผวิ เผิน หลายคนอาจมองว่าลวดลายของผา้ ขาวมา้ มีความคลา้ ยคลงึ กันไปหมด ท้งั ที่ใน
ความเปน็ จริงแลว้ ลวดลายของผา้ ขาวม้ามีความแตกต่างกนั ในรายละเอียด ตามบทความเรือ่ ง “ยอ้ นอดีต ตาม
กลน่ิ อายผ้าสารพดั ประโยชน”์ ในหนงั สือพิมพบ์ ้านเมือง ฉบบั มกราคม พ.ศ. 2541 ได้จำแนกประเภทของ
ผ้าขาวม้าในชมุ ชนเดน่ ๆ ทมี่ กี ารทอผ้ามายาวนาน แยกเป็นภาคต่าง ๆ ดังน้ี

ผ้าขาวมา้ ภาคกลาง

1. ผา้ ขาวมา้ จังหวัดอยุธยา ลกั ษณะเฉพาะของผา้ ขาวมา้ คอื เปน็ ผา้ ผนื เลก็ แคบ ลวดลายคละ
สลับกันเป็นตารางหมากรุกประมาณคร่ึงนวิ้ และมีสองสีสลับด้าน ด้านตามยาวของปลายท้งั สองขา้ งทำเปน็ ลาย
ริว้ สสี ันจะสลับกนั เชน่ ขาวแดง แดงดำ ขาวนำ้ เงนิ เป็นตน้

ประเภทผ้าและเครอ่ื งแตง่ กาย

ผ้าขาวมา้ เปน็ ผา้ สารพัดประโยชน์ บ้างกเ็ รียกว่า "ผา้ เคยี นเอว" สีและลวดลายของผา้ ขาวม้าจะ
แตกต่างกันไปตามความนยิ มของทอ้ งถนิ่ โดยทางภาคกลาง ผา้ ขาวมา้ จะมลี วดลายเปน็ ตาลายสก๊อต และของ
ภาคอสี านจะเปน็ แบบตาเล็กๆ

- 15 -

2. ผา้ ขาวม้าจังหวดั นครสวรรค์ จากคำบอกเล่าของผู้เฒา่ ผู้แก่ตามทอ้ งถน่ิ เลา่ ว่า ผ้าขาวมา้ ท่ีทอ
กันมากอยูแ่ ถบตำบลบ้านไร่ อำเภอลาดยาว และอีกทคี่ อื บา้ นตะเคยี นเลือ่ น ตำบลเกาะหงส์ อำเภอเมอื ง สี
ของผา้ ขาวมา้ จะเปน็ สีทต่ี ัดกนั ทอเปน็ ลายตาสก็อต นิยมใชเ้ ส้นด้ายฝา้ ยในการทอผ้าขาวม้า เพราะฝา้ ยจะมี
ความน่มิ เนอ้ื ละเอยี ด

ผ้าขาวม้าจงั หวดั กาญจนบุรี มีเอกลักษณ์คือ สีสนั สดใส โดยผา้ ขาวมา้ ผืนหนง่ึ มกั จะใช้สีท่ที อ
สลบั กันประมาณ 4 สี เม่อื สีท่ีทอเกิดไปซอ้ นกันจะทำให้ไดส้ ใี หม่ซงึ่ สวยงามมากขน้ึ ผ้าขาวม้าทน่ี ี้มหี ลาย
ลวดลาย

3. ผา้ ขาวมา้ จังหวดั ชยั นาท เป็นผ้าทอดว้ ยไหมประดิษฐ์ ดว้ ยโทเร และฝ้าย ทอเป็นลายสกอ็ ต
ลายทาง หรอื สายสเ่ี หล่ียม และผ้าขาวม้าของตำบลเนินชาม อำเภอหันคา มีชอื่ เรียกวา่ ผา้ ขาวม้า 6 สี คอื สี
แดง เหลือง ส้ม เขยี ว ขาว

4. ผา้ ขาวม้าจังหวดั ลพบรุ ี อำเภอบ้านหมี่ จงั หวัดลพบรุ ี ได้ชอ่ื วา่ เปน็ แหลง่ ทอผ้าพ้นื เมอื งทใี่ หญ่
ทส่ี ดุ แหง่ หนึ่งในประเทศไทย เปน็ ผ้าทอทม่ี ีเอกลักษณด์ ัง้ เดิม เนื่องจากชาวอำเภอบา้ นหมี่เปน็ ชาวไทพวนที่
อพยพมาจากลาว ดังนน้ั ผา้ ขาวม้าจึงมลี วดลายสีสันสวยงามประณีต เชน่ ลายไส้ปลาไหล

5. ผา้ ขาวมา้ จงั หวดั ราชบรุ ี เนน้ ทอ 2 ลวดลาย คอื ลายหมากรกุ และลายตาปลา มีความสวยงาม
ราคายอ่ มเยา และสไี มต่ ก มีท้งั ที่ทอจากโรงงานและทอดว้ ยมอื ผ้าขาวม้าท่มี ีชื่อเสยี งคือ ผ้าขาวม้าทอมอื บา้ นไร่

6. ผา้ ขาวม้าทางอีสาน คนอสี านเรียกผ้าขาวม้าวา่ ผา้ ฮีโป้ หรอื ผา้ แพรอีโป้ ผา้ ขาวมา้ ในภาคอสี าน
มี 2 ลกั ษณะคือ ผ้าแพรขาวม้า ซง่ึ เป็นสเี หลย่ี มจัตุรัสคล้ายตาหมากรกุ และผา้ แพรไส้ปลาไหล คอื ผา้ แพรสน้ิ
แลน

7. ผ้าขาวมา้ จงั หวัดศรีสะเกษ ทอด้วยไหมและผ้าย ผ้าขาวม้าท่ีทอดว้ ยไหมจะทำในโอกาสพเิ ศษ
หรอื งานพธิ ีสำคญั เหล่านั้น ส่วนลวดลายผา้ ขาวมา้ เปน็ ลายเส้นจดั เป็นตารางหมากรุก นิยมใชส้ ีก้นั 2 หรือ 2 สี

8. ผ้าขาวมา้ จังหวัดสรุ ินทร์ ชาวสุรนิ ทรม์ กั ใชผ้ า้ ขาวม้าในการแต่งกายประจำจงั หวดั ในพธิ ีกรรม
สำคญั ต้งั เกิดจนตาย ลายผ้าขาวมา้ ของจงั หวัดสุรนิ ทร์จะเปน็ ลายตารางสีแดงดำเขียวเข้ม และชาวสุรินทรจ์ ะมี
ผ้าขาวมา้ ประจำตระกลู เมือ่ ส้นิ บญุ ผอู้ าวุโสจะมอบผ้าขาวมา้ ไว้เป็นมรดกแก่ลกู หลาน

9. ผา้ ขาวมา้ จังหวดั มหาสารคาม มหาสารคาม มที ้ังผ้าขาวมา้ ทอมอื ย้อมด้วยสธี รรมชาติและสี
สงั เคราะห์ มีการพัฒนาลวดลายให้ทนั สมัยมากข้ึน รวมทงั้ พฒั นาคุณภาพจนเปน็ ผ้าขาวมา้ ท่ีมีคณุ ภาพดี ท่ีขนึ้
ช่ือของจังหวดั

10. ผ้าขาวม้าจงั หวดั ขอนแก่น ลายผ้าขาวมา้ ของคนแกจ่ ะมีลายเอกลกั ษณ์คอื ลายหมี่กง ซึ่งแต่
เดมิ เป็นลายเก่าแกข่ องผ้าเมอื งขอนแก่น นำมาผสานความคิดสรา้ งสรรค์ออกเปน็ ลายเฉพาะ สว่ นสีจะเน้นสมี ว่ ง
แดง เขยี ว ซึ่งเปน็ สีดัง้ เดมิ ของผา้ ขาวมา้ ขอนแก่น โดยทอแบบ 3 ตะกอ ทำใหเ้ นือ้ ผา้ หนาและแน่น

- 16 -

11.ผา้ ขาวมา้ จังหวัดอุดรธานี บา้ นนาข่าเป็นแหลง่ ผลิตและตลาดผ้าที่สำคัญของภาค
ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ มีการทอผ้าหลายลวดลาย รวมถงึ ผา้ ขาวมา้ การผลิตเปน็ ผ้าหลากหลายประเภท รวมถึง
เสื้อผ้าสำเร็จรูปท่ีตัดเย็บจากผา้ ขาวมา้ จำหน่ายด้วย

12. ผา้ ขาวมา้ จงั หวัดยโสธร ผ้าทอทม่ี ชี ือ่ สยี งคือ ทบี่ ้านหัวเมอื งตำบลหวั เมอื ง อำเภอชนะชยั
จงั หวัดยโสธร มกี ารทอผ้าขาวม้าและผา้ ห่มดว้ ยลวดลายตา่ ง ๆ เช่น ลายเกล็ดเต่า

13. ผา้ ขาวม้าจงั หวดั สกลนคร กลุ่มชุมชนอำเภอวานรนิวาส จังหวดั สกลนคร มีการทอผา้ ขาวม้า
ลวดลายต่าง ๆ มกี ารผสมผสานลวดลายในลกั ษณะของเส้นตรง ทำให้เกดิ เป็นลวดลายทมี่ ีช่อื เรยี กท่ีแตกตา่ งกัน
ออกไปตามท้องถ่ิน ได้แก่ สายตาโล้หรือลายหมากฮอส ลายตาคู่ ลายตาผ่า และลายตาผ่าเลก็

ผ้าขาวม้าภาคเหนอื เรียกผา้ ขาวม้าว่า ผา้ หัว ผา้ ตะโก้ง หรอื ตาโก้ง ซ่งึ หมายถงึ ผ้าลายตาราง

1. ผา้ ขาวมา้ จังหวัดแพร่ ผา้ ขาวม้าของอำเภอสงู เม่น อำเภอสอง และอำเภอร้องกวาง จังหวดั แพร่
เปน็ การทอลกั ษณะจกท่ีบรเิ วณปลายผ้าขาวม้า เรยี กวา่ ผ้าขาวม้ามเี ชิง เชิงของผา้ ขาวม้าจะมีเทคนิคและการ
จกลวดลายเพิ่มเตมิ เข้าไปดา้ นหน้า ส่วนใหญเ่ ป็นลายตาหมากรกุ หรือลวดลายเรขาคณติ ทัว่ ไป สว่ นลายท่ีจกจะ
เป็นลายสัตว์ตามคตินิยมความเชื่อและขนบธรรมเนยี มประเพณีของแตล่ ะกลมุ่ ชน เชน่ ลายนก ลายช้าง

ลายม้า

2. ผา้ ขาวมา้ จังหวัดนา่ น ชาวน่านสืบทอดการทอผ้ามายาวนาน ดังปรากฏในจติ รกรรมฝาผนงั วัด
ภมู ินทร์ ชาวนา่ นเรยี กผา้ ขาวมา้ วา่ ผ้าตะโกง นิยมทอด้วยฝา้ ย ชายผา้ มกั จะจกเปน็ ลายช้าง ลายม้า ลายเจดยี ์
ลายยกดอก ลวดลายทเ่ี น้นเกย่ี วกับความเชือ่ และความเป็นสริ ิมงคล ผ้าทอของนา่ นจะคลา้ ยคลึงกับแพร่

ผ้าขาวม้าภาคใต้

1. ผ้าขาวมา้ เกาะยอ จงั หวัดสงขลา เอกลกั ษณท์ ี่โดดเดน่ ของผ้าขาวม้าเกาะยอคอื การทออย่าง
ประณตี สว่ นลวดลายน้ันไม่แตกต่างจากภาคอนื่ เท่าใดนกั สีของผ้าขาวม้าเกาะยอมสี ีสัน สดใส มลี วดลายท่ีตดั
กัน ผา้ ขาวมา้ จะใชฝ้ ้ายทม่ี คี ุณภาพดี

2. ผา้ ขาวมา้ จังหวัดตรัง แหล่งที่มชี ื่อเสยี งในดา้ นการทอผา้ พ้นื เมอื งของจงั หวดั ตรงั คือ บ้านนา
หมืน่ ศรี อำเภอเมอื ง จังหวดั ตรัง ผา้ ทอนาหมน่ื ศรีแบ่งตามลักษณะโครงสรา้ งของผนื ผ้าได้ 3 ชนิด ไดแ้ ก่ ผ้าพื้น
ผา้ ตา และผ้ายกดอก โดยทอลวดลายต่าง ๆ ไดแ้ ก่ ลายลกู แก้ว ลายแกว้ ชงิ ดวง ลายราชวัตร ลายดอกจัน ลาย
เกส

สรุป สแี ละลวดลายผ้าขาวม้าอาจแตกตา่ งไปตามความนยิ มของท้องถิน่ ไดแ้ ก่ ภาคอีสานจะเป็น
แบบตาเล็ก ๆ สว่ นภาคกลางจะเป็นแบบลายหมากรกุ อยา่ งเช่น ผา้ ขาวม้าสามโคก จะมีการทอผ้าด้วยกก่ี ระตกุ
เป็นการทอผา้ แบบโบราณ มกี ารทอสลบั สีสวยสดใสตามความชอบ โดยเน้นทอเป็นลวดลายหมากรุก เป็นการ
นำ ภมู ิปัญญาในการทอผา้ มาทำการผลิต เพอ่ื โชว์ความประณตี ในการทอผ้าขาวม้าออกมาใหเ้ หน็ บางครง้ั ก็ทอ
สอดรกใสด่ ้านสแี ละทอลายขัด เชน่ ลายลกู แกว้ ลายลกู หวาย และลายสรอ้ ย จงึ สามารถดึงดดู ลูกค้าให้ทันมา
สนใจได้อยา่ งมาก แต่หากจะแบ่งผ้าขาวม้าตามลวดลาย สามารถแบ่งออกได้ 4 กลุ่ม ดังนี้

- 17 -
1. ลายตาหมากรุก หรือตามะกอก เป็นลายตารางใหญ่ เป็นผ้าลายตารางสเี่ หลีย่ มจตั รุ สั แบบ

กระดานหมากรุก มีสสี ลับกนั ในอดีตผา้ ลายตาหมากรกุ เป็นทน่ี ยิ มมาก สที ีน่ ิยม คอื สีแดง เขยี ว ขาว ดำ
2. ลายตาเลก็ คลา้ ยลายตาหมากรุกแต่มีขนาดเล็ก

3. ลายไสป้ ลาไหล เป็นลายตารางแนวยาว

- 18 -
4. ลายตาหมู่ ผสมผสานมลายไู ส้ปลาไหลกบั ลายตาเล็กเขา้ ด้วยกัน

- 19 -

บทที่ 3
วิธีดำเนนิ งาน

การดำเนินงานกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมอาชีพระยะส้ัน
(กลุม่ สนใจไมเ่ กิน 30 ช.ม.) วชิ าการทอผา้ ขาวม้า ระหวา่ งวนั ที่ 1 มิถนุ ายน 2563 ถงึ วนั ที่ 12 มิถุนายน
2563 ณ กศน.ตำบลบ้านโพธิ์ วดั ลองตอง ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมอื งนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ดงั นี้

1. การประชมุ วางแผน
2. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
3. การติดตามและประเมนิ ผล
4. สรปุ ผล/รายงานผลการดำเนินงาน

การประชุมวางแผน
ครู กศน.ตำบล และตัวแทนนักศึกษา ไดจ้ ัดประชุมวางแผนการจดั กจิ กรรมโครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี

ชุมชน กิจกรรมอาชีพระยะส้ัน (กลมุ่ สนใจไมเ่ กนิ 30 ช.ม.) วิชาการทอผ้าขาวมา้ ระหว่างวนั ที่ 1 มถิ นุ ายน
2563 ถงึ วันที่ 12 มิถุนายน 2563 ณ กศน.ตำบลบ้านโพธิ์ วัดลองตอง ตำบลบ้านโพธ์ิ อำเภอเมือง
นครราชสีมา จังหวดั นครราชสมี า

การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้
การจัดกิจกรรมแผนการจัดกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมอาชีพระยะส้ัน

(กลุ่มสนใจไม่เกนิ 30 ช.ม.) วิชาการทอผา้ ขาวม้า ระหวา่ งวนั ท่ี 1 มถิ ุนายน 2563 ถึงวันท่ี 12 มิถนุ ายน
2563 ณ กศน.ตำบลบ้านโพธิ์ วัดลองตอง ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมอื งนครราชสมี า จังหวดั นครราชสีมา ดังนี้

- 20 -

เนอื้ หาหลกั สตู ร
วิชา การทอผา้ ขาวมา้ หลักสตู รไม่เกนิ 30 ชั่วโมง

ท่ี เรื่อง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนอื้ หา การจัดกระบวนการเรยี นรู้ จำนวนชั่วโมง
ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ

1 ความเป็นมา 1. ผู้เรียนสามารถอธิบาย 1. ความเป็นมาของการ 1. วิทยากรบรรยายถึงประวัติความ 3

และและ ความเป็นมาของการทอ ทอผ้าขาวม้าจากผ้าฝ้าย เป็นมาและความสำคัญของการทอ

ความสำคัญ ผ้าขาวม้าจากผ้าฝ้าย ได้ 2. ความสำคัญของ ผ้าฝ้ายบ้านโพธิ์

ของวิชาการ 2. ผู้เรียนสามารถอธิบาย ทอผ้าขาวม้าจากผ้าฝ้าย 3.เรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาการทอผ้า

ทอผ้าขาวม้า ความสำคัญของการ 2. วิทยากรแนะนำผ้าท่ีทอโดยการ

จากผ้าฝ้าย ทอผ้าขาวม้าจากผ้าฝ้ายได้ ผสมผสานเส้นด้าย

ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้

2 วัสดุอุปกรณ์ 1. ผู้เรียนสามารถบอก 1. วัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ใน 1. วิทยากรแนะนำวัสดุปกรณ์ที่ใช้ใน 3

ในการทอ วัสดุอุปกรณ์ท่ีใช้ในการทอ การทอผ้าขาวม้าจากผ้า การทอผ้า

ผ้าขาวม้า ผ้าขาวม้าจากผ้าฝ้าย ได้ ฝ้าย 2. วิทยากรได้สอนการเรียนรู้เร่ืองก่ี

จากผ้าฝ้าย 2. ผู้เรียนสามารถเลือก 2 การเลือกชนิดของ สำหรับทอผ้าเช่น กี่ทอผ้าสองตะ

ชนิดของเส้นด้าย สี ที่ เส้นด้าย สี ท่ีนำมาทอ กรอ กี่ทอผ้าส่ีตะกรอ กี่ทอผ้าขาวม้า

นำมาทอผ้าขาวม้าได้ ผ้าขาวม้าได้ 2. วิทยากรได้แนะนำการเลือกวัสดุ

3. ผู้เรียนสามารถบอก 3. การดูแลและเก็บ เส้นด้ายท่ีใช้ในการทอผ้า

การดูแลรักษาวัสดุอุปกรณ์ รักษาวัสดุอุปกรณ์ 3. วิทยากรแนะนำการเก็บรักษา

ที่ใช้ในการการทอผ้าได้ วัสดุอุปกรณ์ในการ

ทอผ้าฝ้าย

3 พ้ืนฐานการ 1. ผู้เรียนสามารถอธิบาย 1. หลักการทอ 1. วิทยากรบรรยายพร้อมสาธิตการ 3 18

ทอผ้าขาวม้า หลักการทอผ้าขาวม้าจาก ผ้าขาวม้าจากผ้าฝ้าย ทอผ้าฝ้ายเบื้องต้นให้กลุ่มผู้เรียนได้รู้

จากผ้าฝ้าย ผ้าฝ้ายได้ 2. พ้ืนฐานการทอ หลักการทอผ้าอย่างง่าย

2. ผู้เรียนสามารถบอก ผ้าขาวม้าจากผ้าฝ้าย 2. วิทยากรบรรยายพร้อมสาธิตการ

พ้ืนฐานการทอผ้าขาวม้า - มีใจรักในงานศิลปะ ทอผ้าฝ้ายด้วยวิธีท่ีปฏิบัติได้ง่าย

จากผ้าฝ้ายได้ - มีสมาธิในการทอผ้า และสวยงาม

- มีทักษะในการทอผ้า 3.วิทยากรสอนการแก้ปัญหาใน

- รู้จักเลือกเส้นลาย ระหว่างการทอผ้า

และสีในการทอผ้า

- 21 -

ที่ เรื่อง จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เนือ้ หา การจดั กระบวนการเรยี นรู้ จำนวนชั่วโมง

4 เร่ืองท่ี 5 ทฤษฎี ปฏบิ ตั ิ
การบริหาร
จัดการ 1. ผู้เรียนสามารถจัดการ 1. การจัดการด้าน 1. วิทยากรให้ความรู้เรื่อง 3
ประกอบ ตลาดเกี่ยวกับธุรกิจการทำ การตลาด
อาชีพการทำ กระเป๋าจากเศษผ้าฝ้ายได้ 2. การทำบัญชีรับ-จ่าย การตลาด การหากลุ่ม
กระเป๋าจาก 2. ผู้เรียนสามารถอธิบาย 3.คุณธรรม จริยธรรมใน
เศษผ้าฝ้าย หลักการทำบัญชีรับ-จ่ายใน การประกอบอาชีพการ ลูกค้าของการสวมใส่ผ้า
ธุรกิจการทอผ้าขาวม้าจาก ทอผ้าขาวม้าจากผ้าฝ้าย
ผ้าฝ้ายได้ ฝ้าย, กลุ่มผู้ใช้ผ้าขาวม้า
3. ผู้เรียนสามารถบอก
คุณธรรมจริยธรรมในการ รวมถึงการประยุกต์ใช้
ประกอบอาชีพการทอ
ผ้าขาวม้าจากผ้าฝ้ายได้ ประโยชน์จากผ้าขาวม้า

3. การบรรจุภัณฑ์

ช้ินงานให้สวยงาม

2. วิทยากรให้ความรู้เรื่อง

การทำบัญชีรับ-จ่าย การ

ขายผ้าฝ้ายแต่ละผืน

3.วิทยากรบรรยายการ

ทำธุรกิจการทอผ้าฝ้าย

ด้วยความมีจิตสำนึกของ

การเป็นผู้ที่มีคุณธรรม

จริยธรรมต่ออาชีพและ

กลุ่มลูกค้า

สื่อการเรียนรู้
สื่อเอกสาร ใบงาน ใบความรู้
สื่อภูมิปัญญา นางสุรีย์ ปานปรีชา

การวัดผลประเมินผล
1.ประเมินความรู้ความสามารถด้านทักษะ ด้านการซักถาม ทดสอบ และปฏิบัติ
2. ประเมินชิ้นงาน ผ้าทอมือผ้าขาวม้า
3. ประเมินด้วยแบบสอบถาม

เงื่อนไขการจบหลักสูตร
- มีเวลาเรียนและฝึกปฏิบัติตามหลักสูตรไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85
- ผลงาน กระเป๋าผ้าสำเร็จแล้ว

เอกสารหลักฐานการศึกษา
หลักฐานการประเมิน
ทะเบียนคุมวุฒิบัตร
วุฒิบัตรท่ีออกโดยสถานศึกษา

การเทียบโอน

- 22 -

ผู้เรียนท่ีจบหลักสูตรการศึกษาต่อเน่ืองน้ีแล้ว สามารถนำผลการเรียนมาเทียบโอนกับ
หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบ
อาชีพวิชาเลือกท่ีสถานศึกษาได้จัดทำขึ้น

กำหนดการ
โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมอาชีพระยะส้ัน (กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ช.ม.)

ระหวา่ งวนั ที่ 1 มถิ นุ ายน 2563 ถงึ วนั ที่ 12 มิถุนายน 2563
ณ ศูนยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชนตำบลบา้ นโพธ์ิ กศน.ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองนครราชสมี า จังหวดั นครราชสมี า

................................................................................................................
วชิ าการทอผ้าขาวม้า วทิ ยากรโดย นางสุรยี ์ ปานปรีชา
วันที่ 1 มถิ นุ ายน 2563

08.๐๐ – 08.30 น. ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการลงทะเบียนรายงานตัว
08.30 – 09.00 น. พิธีเปิดโครงการ ครูกศน.ตำบล กลา่ ววตั ถุประสงค์
09.00 – 12.00 น. วิทยากรใหค้ วามรเู้ ร่อื งความสำคัญของและชอ่ งทางการประกอบอาชีพ
การทอผ้าขาวม้า โดย นางสรุ ีย์ ปานปรชี า
วันที่ 2 มิถนุ ายน 2563
08.๐๐ – 08.30 น. ผ้เู ข้าร่วมโครงการลงทะเบยี นรายงานตัว
08.30 – 09.00 น. ทบทวนอาชีพการทอผา้ ขาวม้า โดย นางสรุ ยี ์ ปานปรีชา
09.00 – 12.00 น. วิทยากรให้ความรู้เร่อื งขนั้ ตอนการเข้าสอู่ าชพี /การเลือกวสั ดุ อปุ กรณ์/
การบรหิ ารจัดการในการประกอบอาชีพ /การขายการกำหนดราคา/
วนั ท่ี 4 มถิ นุ ายน 2563 การบรรจุภณั ฑ์ /การประชาสัมพันธ์ โดย นางสุรีย์ ปานปรีชา
08.00 – 08.30 น.
08.30 – 09.00 น. ผู้เขา้ รว่ มโครงการลงทะเบยี นรายงานตวั
09.00 – 12.00 น. ทบทวนอาชพี การทอผา้ ขาวมา้ / ความสำคัญและประโยชนข์ องโครงการ
การฝึกปฏิบตั กิ ารทอผา้ ขาวมา้ โดย นางสรุ ยี ์ ปานปรชี า

วันที่ 4 มถิ ุนายน 2563 ผูเ้ ข้าร่วมโครงการลงทะเบยี นรายงานตวั
08.00 – 08.30 น. ทบทวนอาชีพการการทอผา้ ขาวมา้
08.30 – 09.00 น. การฝึกปฏิบตั กิ ารทอผ้าขาวมา้ โดย นางสุรยี ์ ปานปรชี า
09.00 – 12.00 น.
ผู้เข้ารว่ มโครงการลงทะเบยี นรายงานตัว
วนั ที่ 5 มิถุนายน 2563 ทบทวนอาชพี การการทอผ้าขาวม้า
08.00 – 08.30 น. การฝกึ ปฏิบตั กิ ารทอผา้ ขาวม้า โดย นางสุรีย์ ปานปรีชา
08.30 – 09.00 น.
09.00 – 12.00 น. กำหนดการ

- 23 -

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมอาชีพระยะส้ัน (กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ช.ม.)
ระหว่างวันท่ี 1 มถิ ุนายน 2563 ถึงวนั ที่ 12 มิถนุ ายน 2563

ณ ศูนยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชนตำบลบา้ นโพธิ์ กศน.ตำบลบ้านโพธ์ิ อำเภอเมอื งนครราชสมี า จงั หวดั นครราชสมี า
................................................................................................................

วิชาการทอผา้ ขาวมา้ วิทยากรโดย นางสรุ ีย์ ปานปรชี า
วันที่ 8 มิถนุ ายน 2563

08.00 – 08.30 น. ผู้เข้ารว่ มโครงการลงทะเบยี นรายงานตัว
08.30 – 09.00 น. ทบทวนอาชพี การการทอผ้าขาวมา้
09.00 – 12.00 น. การฝึกปฏบิ ัติการทอผ้าขาวม้า โดย นางสุรยี ์ ปานปรชี า

วันท่ี 9 มถิ ุนายน 2563 ผู้เขา้ รว่ มโครงการลงทะเบียนรายงานตัว
08.00 – 08.30 น. ทบทวนอาชพี การการทอผ้าขาวมา้
08.30 – 09.00 น. การฝึกปฏิบตั ิการทอผ้าขาวมา้ โดย นางสรุ ีย์ ปานปรีชา
09.00 – 12.00 น.

วันท่ี 10 มิถนุ ายน 2563 ผ้เู ข้ารว่ มโครงการลงทะเบยี นรายงานตัว
08.00 – 08.30 น. ทบทวนอาชพี การการทอผ้าขาวมา้
08.30 – 09.00 น. การฝึกปฏบิ ตั ิการทอผ้าขาวม้า โดย นางสรุ ีย์ ปานปรชี า
09.00 – 12.00 น.

วันที่ 11 มิถนุ ายน 2563 ผู้เข้ารว่ มโครงการลงทะเบียนรายงานตวั
08.00 – 08.30 น. ทบทวนอาชีพการการทอผา้ ขาวม้า
08.30 – 09.00 น. การฝกึ ปฏิบตั ิการทอผา้ ขาวมา้ โดย นางสุรยี ์ ปานปรีชา
09.00 – 12.00 น.

วนั ที่ 12 มถิ นุ ายน 2563 ผเู้ ข้าร่วมโครงการลงทะเบยี นรายงานตวั
08.00 – 08.30 น. ทบทวนอาชีพการการทอผ้าขาวมา้
08.30 – 09.00 น. การฝึกปฏิบตั ิการทอผ้าขาวมา้ โดย นางสรุ ยี ์ ปานปรีชา
09.00 – 12.00 น. ครู/วิทยากร/ผู้เรยี น สรุปร่วมกัน

- 24 -

5. สือ่ /วสั ดุ อุปกรณ์ ประกอบการจัดกจิ กรรม
- เอกสารการเรียนรู้
- ใบงาน
- แบบทดสอบ
- วัสดุ /อปุ กรณ์ในการฝึก

6. การวัดและประเมนิ ผล
1. การประเมินความรภู้ าคทฤษฏีระหว่างเรียนและจบหลักสูตร
2. การประเมนิ ผลงานระหว่างเรยี นจากการปฏิบตั ิ ไดผ้ ลงานทีม่ ีคณุ ภาพสามารถสรา้ งรายได้
และจบหลักสูตร

7. การจบหลกั สตู ร
1. มีเวลาเรียนและฝกึ ปฏิบัติตามหลักสตู ร ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 85
2. มีผลการประเมินตลอดหลักสตู รไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60
3. มีผลงานทไ่ี ด้มาตรฐานเปน็ ท่ีพึงพอใจอย่างน้อย 1ชน้ิ งาน และผ่านการทำแผนธรุ กิจ
จึงจะไดร้ บั วุฒิบัตร

8. เอกสารหลกั ฐานการศึกษา
1. หลกั ฐานการประเมนิ ผล
2. ทะเบยี นคมุ วุฒิบตั ร
3. วุฒบิ ัตร ออกโดยสถานศกึ ษา

9. การเทียบโอน
ผู้เรยี นหลกั สตู รน้ีสามารถนำไปเทยี บโอนผลการเรียนกับหลกั สตู รการศึกษานอกระบบ

ระดับการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในสาระการประกอบอาชพี วิชาเลอื กของสถานศกึ ษาได้

- 25 -

โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชนอาชีพระยะสน้ั (กลุม่ สนใจไมเ่ กนิ 30 ชั่วโมง)
หลกั สูตรการศกึ ษาต่อเนื่องรูปแบบกลุ่มสนใจ การทอผ้าขาวมา้
ระหว่างวันที่ 1 มถิ นุ ายน 2563 ถงึ วนั ท่ี 12 มถิ ุนายน 2563

ณ ศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชนตำบลบา้ นโพธิ์ วดั ลองตอง ตำบลบ้านโพธ์ิ อำเภอเมอื งนครราชสีมา

พธิ ีเปดิ กลุ่มผู้เรียนการทอผา้ ขาวม้า
โดย นายรงุ่ เพชร ขึงโพธ์ิ
กำนนั ตำบลบา้ นโพธิ์

คณะครูกศน. อำเภอเมอื งได้ดำเนินกจิ กรรมตามโครงการฯ

- 26 -

โครงการศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชมุ ชนอาชีพระยะสนั้ (กลุ่มสนใจไม่เกนิ 30 ช่วั โมง)
หลกั สูตรการศึกษาต่อเนอ่ื งรูปแบบกลุม่ สนใจ การทอผา้ ขาวม้า
ระหวา่ งวนั ท่ี 1 มถิ นุ ายน 2563 ถงึ วันที่ 12 มิถุนายน 2563

ณ ศนู ยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชนตำบลบา้ นโพธิ์ วดั ลองตอง ตำบลบา้ นโพธ์ิ อำเภอเมืองนครราชสีมา

กลมุ่ ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้การทอผา้ ขาวม้า
สามารถทอผ้าขาวม้าได้งา่ ยและ
รวดเร็ว เกดิ ความชำนาญ
รูจ้ ักสลับสกี ารทอใหไ้ ด้ผนื ผ้าท่ีออกมา
สวยงามได้ สามารถกำหนดราคา
เพือ่ จำหนา่ ยสนิ ค้า สามารถวเิ คราะห์
กล่มุ ลูกคา้ และประชาสมั พนั ธอ์ าชพี
ได้

กศน. อำเภอเมืองได้มีการนิเทศตดิ ตามการดำเนนิ โครงการฯ

- 27 -

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด
นครราชสีมา ได้วัดและประเมินผลกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมอาชีพระยะสั้น
(กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ช.ม.) วิชาการทอผ้าขาวม้า ระหว่างวันท่ี 1 มิถุนายน 2563 ถึงวันท่ี 12
มิถุนายน 2563 ณ กศน.ตำบลบ้านโพธิ์ วัดลองตอง ตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองนครราชสีมา
จังหวัดนครราชสีมาและแจกแบบสอบถามจำนวน 9 ชุด และได้แบบสอบถามกลับคืนมา
จำนวน 9 ชุด คิดเป็นร้อยละ 100
สรุปผล/รายงานผลการดำเนินงาน

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเมืองนครราชสีมา
จังหวัดนครราชสีมา ได้วัดและประเมินผลกิจกรรม และได้สรุปผลการดำเนินงานให้แล้วเสร็จ
ภายในเดือน ตุลาคม 2563 สรุปได้ดังน้ี

1. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวนท้ังสิ้น 9 คน
2. ทุกคนมีส่วนร่วมในกิจกรรมคร้ังน้ี
3. ศึกษารายละเอียดของผลการวัดและประเมินผลการทดสอบก่อนและหลังเรียน
และวัดผลประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมอาชีพ
ระยะสั้น (กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ช.ม.) วิชาการทอผ้าขาวม้า ระหว่างวันท่ี 1 มิถุนายน 2563
ถึงวันท่ี 12 มิถุนายน 2563 ณ กศน.ตำบลบ้านโพธ์ิ วัดลองตอง ตำบลบ้านโพธ์ิ อำเภอเมือง
นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ปรากฏอยู่ในบทท่ี ๔ – บทท่ี ๕

การนำผลการศึกษาไปใช้
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด

นครราชสีมา จะนำผลการประเมินกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมอาชีพระยะสั้น
(กลุ่มสนใจไม่เกิน 30 ช.ม.) วิชาการทอผ้าขาวม้า ระหว่างวันท่ี 1 มิถุนายน 2563 ถึงวันท่ี 12
มิถุนายน 2563 ณ กศน.ตำบลบ้านโพธิ์ วัดลองตอง ตำบลบ้านโพธ์ิ อำเภอเมืองนครราชสีมา
จังหวัดนครราชสีมามาพัฒนาการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในกิจกรรมต่อ ๆ ไป ให้ดีย่ิงขึ้น

- 28 -

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล

ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลผลการประเมนิ โครงการสง่ เสรมิ ศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชนกบั กศน.ตำบลบ้านโพธิ์

หลกั สตู รการทอผา้ ขาวมา้ ในระหว่าง ระหว่างวนั ที่ 1 มถิ ุนายน 2563 ถึงวนั ที่ 12 มิถุนายน 2563

ณ ศนู ยฝ์ ึกอาชพี ชมุ ชนตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองนครราชสีมา จงั หวัดนครราชสมี า มผี ู้เขา้ ร่วมโครงการ

จำนวน 9 คน สรปุ ไดด้ งั นี้

4.1 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเบ้ืองต้นของผูต้ อบแบบสอบถาม

ตารางที่ 1 ข้อมูลเบ้อื งต้นของผตู้ อบแบบสอบถาม

ประเภทของขอ้ มลู จำนวน รอ้ ยละ

1. เพศ

- หญิง 9 100

- ชาย - -

รวม 8 100

2. อายุ

- 15–39 ปี 1 11.1

- 40–59 ปี 5 55.6

- 60 ปีขึน้ ไป 3 33.3

รวม 8 100

3. ระดบั การศึกษา

- ประถมศึกษา 5 55.6

- มัธยมศกึ ษาตอนต้น 1 11.1

- มัธยมศึกษาตอนปลาย 3 33.3

รวม 9 100

จากตารางท่ี 1 พบวา่ ผูเ้ รียนท่เี ข้าร่วมโครงการส่งเสริมศนู ยฝ์ กึ อาชพี ชุมชนกบั กศน.ตำบลบ้านโพธิ์

หลกั สูตรการทอผา้ ขาวม้า มีผู้เขา้ รว่ มโครงการ จำนวน 9 คน สรุปได้ดงั นี้

เพศหญิง คดิ เปน็ ร้อยละ 100 เพศชาย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0

มอี ายุระหว่าง 15–39 ปี คิดเป็นรอ้ ยละ 11.1

อายรุ ะหว่าง 40–59 ปี คดิ เป็นร้อยละ 55.6

อายรุ ะหวา่ ง 60 ปีขนึ้ ไป คิดเป็นรอ้ ยละ 33.3

มกี ารศึกษาอยใู่ นระดับประถมศกึ ษา คดิ เป็นร้อยละ 55.6

มกี ารศกึ ษาอยใู่ นระดับมัธยมศึกษาปที ่ี 3 คดิ เป็นร้อยละ 11.1

มกี ารศกึ ษาอยูใ่ นระดบั มัธยมศกึ ษาปีที่ 6 คิดเป็นรอ้ ยละ 33.3

- 29 -

4.2 ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจผเู้ ขา้ ร่วมโครงการอบรม
ตารางท่ี 1 ดา้ นกระบวนการจดั การเรยี นรู้

ระดบั ความพงึ พอใจ

ด้านกระบวนการจดั การเรยี นรู้ X. S.D. การแปล
ผล
1. การลงทะเบยี น
2. การให้บริการของเจ้าหนา้ ท่ี 3.823529 0.727607 ดี
3. พิธีการและขนั้ ตอนการดำเนนิ การมคี วามเหมาะสม
4.176471 0.727607 ดี
รวม
4.294118 0.771744 ดี

4.098039 0.025482 ดี

จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้เรยี นท่ีเขา้ ร่วมโครงการมคี วามพงึ พอใจโดยภาพรวมอย่ใู นระดับดี
( X =4.098039,S.D. =0.025482) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความพึงพอใจมากที่สุดอยู่ในระดับมาก
ท่ีสุด คือพิธกี ารและข้ันตอนการดำเนินการมีความเหมาะสม ( X =4.294118,S.D. =0.771744) รองลงมาคือ
การใหบ้ ริการของเจ้าหน้าท่ี ( X =4.176471, S.D. =0.727607) และการลงทะเบียน
( X = 3.8235293.46, S.D. =0.727607)
ตารางท่ี 2 ผู้เรียนทีเ่ ขา้ ร่วมกิจกรรมมคี วามพึงพอใจดา้ นวทิ ยากร

ระดับความพงึ พอใจ

ด้านวทิ ยากร X . S.D. การแปล

1. วทิ ยากรในการให้ความร้มู คี วามเหมาะสม ผล
2. การถา่ ยทอดความรูข้ องวทิ ยากรมคี วามชัดเจน
3. ลำดบั เนอ้ื หาการบรรยายเข้าใจงา่ ยมคี วามตอ่ เนอ่ื ง 4.294118 0.771744 ดี
4. เปดิ โอกาสให้ผู้เรยี น/ศึกษาได้ซกั ถาม
5. การตอบคำถามตรงประเดน็ และเข้าใจง่าย 4.176471 0.882843 ดี
6. มีสว่ นร่วมในการสรปุ ประเดน็ เนอ้ื หา
4.176471 0.882843 ดี
รวม
4.176471 0.882843 ดี

3.941176 0.747545 ดี

4.176471 0.882843 ดี

4.156863 0.064078 ดี

จากตารางท่ี 2 พบว่า ผู้เรียนทเ่ี ขา้ ร่วมโครงการ มีความพึงพอใจโดยภาพรวมอยใู่ นระดับ ดี
( X = 4.156863 ,S.D. =0.064078) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความพึงพอใจมากท่ีสุดอยู่ในระดับดี
มากท่ีสุด คือวิทยากรในการให้ความรู้มีความเหมาะสม ( X = 4.294118, S.D. =0.771744) และรองลงมา
คือการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรมีความชัดเจน, การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรมีความชัดเจน,ลำดับ
เน้ือหาการบรรยายเข้าใจงา่ ยมคี วามต่อเนื่อง,ลำดบั เน้อื หาการบรรยายเขา้ ใจงา่ ยมีความตอ่ เนอ่ื ง , เปิดโอกาส

- 30 -

ให้ผู้เรยี น/ศึกษาได้ซักถาม ,มีส่วนร่วมในการสรุปประเด็นเน้ือหา ( X =4.176471, S.D. =0.882843) และ
การตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจงา่ ย ( X =3.941176, S.D. =0.747545)

ตารางท่ี 3 ผู้เรยี นที่เขา้ ร่วมกิจกรรมมคี วามพึงพอใจดา้ นปัจจัยท่เี กี่ยงขอ้ งกบั การเรยี นรู้

ด้านหลกั สูตร ระดบั ความพึงพอใจ

1. เร่ืองท่สี อนมคี วามเหมาะสม X . S.D. การแปลผล
2. เอกสารประกอบการสอนมคี วามเหมาะสม
3. การใชเ้ วลาในการสอนมีความเหมาะสม 4.235294 0.83137 ดี

รวม 4.352941 0.701888 ดี

4.294118 0.685994 ดี

4.294118 0.079742 ดี

จากตารางท่ี 3 พบว่า ผูเ้ รยี นที่เข้ารว่ มโครงการ มีความพึงพอใจดา้ นหลักสตู ร โดยภาพรวมอยใู่ น
ระดับ ดี ( X =4.294118, S.D. =0.079742) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความพึงพอใจมากที่สดุ อยู่ใน
ระดับดีมากท่ีสุดทกุ ขอ้ คอื เอกสารประกอบการสอนมคี วามเหมาะสม ( X =4.352941, S.D. =0.701888)
รองลงมาคือการใช้เวลาในการสอนมีความเหมาะสม ( X =4.352941, S.D. =0.685994) และเรื่องท่ีสอนมี
ความเหมาะสม ( X =4.235294, S.D. =0.83137)

ตารางที่ 4 ผู้เรียนทเ่ี ขา้ ร่วมกิจกรรมมีความพงึ พอใจ ผลท่ีไดร้ บั จากการจดั การเรียนรู้

ประเภทกิจกรรม ระดบั ความพึงพอใจ การแปล
X . S.D. ผล
1. ความร้ทู ี่ไดร้ ับจากการเรียนการสอน ดี
2. การนำความรทู้ ่ีได้รบั ไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวนั 4.352941 0.701888
3. ความพึงพอใจในการจดั สอนโดยภาพรวม ดี
4.470588 0.71743 ดี
รวม 4.294118 0.919559 ดี
4.372549 0.121434

จากตารางที่ 4 พบวา่ ผเู้ รยี นทเี่ ข้ารว่ มโครงการ มีความพึงพอใจโดยภาพรวมอยู่ในระดบั ดี ( X =
4.372549, S.D. = 0.121434) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าความพึงพอใจมากท่ีสุดอยู่ในระดบั มากท่ีสุด
คอื การนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจำวัน ( X = 4.470588, S.D. = 0.71743) รองลงมาคือ
ความรู้ที่ได้รับจากการเรียนการสอน ( X =4.352941, S.D. = 0.701888) และความพึงพอใจในการจัดสอน
โดยภาพรวม ( X = 4.294118, S.D. = 0.919559)

- 31 -

ตารางท่ี 5 ผเู้ รยี นทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรมมคี วามพึงพอใจดา้ นสถานที่

ประเภทกิจกรรม ระดบั ความพึงพอใจ
X . S.D. การแปล
1. สถานที่จัดการสอนมคี วามเหมาะสม
2. สภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศของหอ้ งเอ้อื อำนวย ผล
ต่อการเรยี นรู้ 5.00 0 มากทีส่ ุด
5.00 0 มากทส่ี ุด
รวม
5.00 0 มากท่สี ุด

จากตารางท่ี 5 พบวา่ ผ้เู รียนท่ีเข้าร่วมโครงการ มคี วามพึงพอใจโดยภาพรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด
( X = 5.00, S.D. =0) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ความพึงพอใจมากที่สุดอยู่ในระดับมากท่ีสุด คือ
สถานท่ีจัดการสอนมีความเหมาะสม ( X = 5.00, S.D. =0) รองลงมาคือ สภาพแวดล้อมและบรรยากาศ
ของห้องเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ ( X =5.00, S.D. =0)

- 32 -

บทที่ 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลผลการประเมนิ โครงการสง่ เสรมิ ศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชนกบั กศน.ตำบลบ้านโพธ์ิ
หลักสูตรการทอผ้าขาวม้า ในระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2563 ถึงวันท่ี 12 มิถุนายน 2563
ณ ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลบ้านโพธิ์ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา มีผู้เข้าร่วม
โครงการ จำนวน 9 คน สรุปได้ดังน้ี

มีอายรุ ะหวา่ ง 15–39 ปี คดิ เป็นร้อยละ 11.1

อายุระหว่าง 40–59 ปี คิดเป็นรอ้ ยละ 55.6

อายุระหว่าง 60 ปีขึน้ ไป คิดเป็นรอ้ ยละ 33.3

มีการศกึ ษาอยใู่ นระดับประถมศึกษา คิดเปน็ รอ้ ยละ 55.6

มกี ารศกึ ษาอยใู่ นระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 คดิ เป็นรอ้ ยละ 11.1

มกี ารศกึ ษาอยูใ่ นระดับมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.3

ผูเ้ รียนที่เขา้ ร่วมโครงการสง่ เสรมิ ศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชนกบั กศน.ตำบลบ้านโพธ์ิ หลกั สูตรการ
ทำกระเป๋าจากเศษผ้าฝ้ายสว่ นใหญ่เปน็ เพศหญิง คดิ เป็นร้อยละ 100 มอี ายุระหวา่ ง มอี ายุระหว่าง 15–39 ปี
คดิ เป็นรอ้ ยละ 11.1 อายรุ ะหว่าง 40–59 ปี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 55.6 อายุระหวา่ ง 60 ปขี น้ึ ไป คิดเป็นรอ้ ย
ละ 33.3 มกี ารศกึ ษาอยู่ในระดับประถมศกึ ษา คิดเป็นรอ้ ยละ 55.6 มีการศกึ ษาอยู่ในระดบั มัธยมศึกษา
ตอนต้น คิดเป็นรอ้ ยละ 11.1 มีการศกึ ษาอยู่ในระดับมธั ยมศึกษาปีที่ 6 คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.3 เมื่อศึกษา
และพิจารณาแยกเปน็ ดา้ นได้ดังน้ี

จากตารางที่ 1 พบวา่ ผู้เรียนที่เขา้ ร่วมโครงการมีความพงึ พอใจโดยภาพรวมอยูใ่ นระดับดี
( X =4.098039,S.D. =0.025482) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบวา่ ความพงึ พอใจมากท่สี ุดอยใู่ นระดับมาก
ที่สุด คือพิธีการและขั้นตอนการดำเนินการมีความเหมาะสม ( X =4.294118,S.D. =0.771744) รองลงมา
คือการใหบ้ ริการของเจ้าหน้าที่ ( X =4.176471, S.D. =0.727607) และการลงทะเบยี น
( X = 3.8235293.46, S.D. = 0.727607)

จากตารางที่ 2 พบวา่ ผ้เู รียนทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ มีความพงึ พอใจโดยภาพรวมอยู่ในระดบั ดี
( X = 4.156863 ,S.D. =0.064078) เม่อื พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ ความพึงพอใจมากทส่ี ุดอยู่ในระดับดี
มากท่ีสุด คือวิทยากรในการให้ความรู้มีความเหมาะสม ( X = 4.294118, S.D. =0.771744) และรองลงมาคือ
การถา่ ยทอดความรู้ของวทิ ยากรมีความชดั เจน, การถา่ ยทอดความรขู้ องวิทยากรมีความชัดเจน,ลำดับเนื้อหาการ
บรรยายเข้าใจง่ายมีความต่อเน่ือง,ลำดับเนื้อหาการบรรยายเข้าใจง่ายมีความต่อเนื่อง , เปิดโอกาสให้ผู้เรียน/
ศึกษาได้ซักถาม , มีส่วนร่วมในการสรุปประเด็นเน้ือหา ( X =4.176471, S.D. =0.882843) และการตอบ
คำถามตรงประเด็นและเขา้ ใจงา่ ย ( X =3.941176, S.D. =0.747545)

- 33 -

จากตารางท่ี 3 พบว่า ผู้เรียนที่เขา้ ร่วมโครงการ มีความพึงพอใจด้านหลักสูตร โดยภาพรวมอยู่
ในระดับ ดี ( X =4.294118, S.D. =0.079742) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความพึงพอใจมากที่สุด
อยู่ในระดับดีมากท่ีสุดทุกข้อ คือ เอกสารประกอบการสอนมีความเหมาะสม ( X = 4.352941, S.D. =
0.701888) รองลงมาคือการใช้เวลาในการสอนมีความเหมาะสม ( X = 4.352941, S.D. = 0.685994)
และ เรอ่ื งท่สี อนมีความเหมาะสม ( X = 4.235294, S.D. = 0.83137)

จากตารางท่ี 4 พบว่า ผเู้ รียนท่เี ข้ารว่ มโครงการ มีความพึงพอใจโดยภาพรวมอยใู่ นระดบั ดี
( X =4.372549, S.D. =0.121434) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าความพึงพอใจมากที่สุดอยู่ในระดับ
มากท่ีสุด คือ การนำความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ( X =4.470588, S.D. =0.71743)
รองลงมาคือ ความรทู้ ี่ได้รับจากการเรยี นการสอน ( X =4.352941, S.D. =0.701888) และความพึงพอใจ
ในการจัดสอนโดยภาพรวม ( X =4.294118, S.D. =0.919559)

จากตารางท่ี 5 พบว่า ผู้เรียนท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจโดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก
ท่ีสุด ( X = 5.00, S.D. =0) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบวา่ ความพึงพอใจมากท่ีสุดอยู่ในระดับมากที่สุด
คือ สถานท่ีจัดการสอนมีความเหมาะสม ( X = 5.00, S.D. =0) รองลงมาคือ สภาพแวดล้อมและ
บรรยากาศของหอ้ งเอื้ออำนวยต่อการเรยี นรู้ ( X =5.00, S.D. =0)

อภปิ รายผล

ตวั ชวี้ ัดเชงิ ปรมิ าณ (Output)
- รอ้ ยละ 85 ของประชาขนสามารถเรียนรู้ เห็นช่องทางในการประกอบประกอบอาชีพ
เกิดการพัฒนาดา้ นทกั ษะอาชีพพัฒนาอาชีพ และสามารถสร้างอาชีพให้กับตนเองได้
- ประชาชนท่ีเขา้ ร่วมกจิ กรรมไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 5 สามารถนำความรทู้ ไ่ี ดไ้ ปพัฒนาตนเอง
และเปน็ ตวั อยา่ งทดี่ ใี นตำบลได้ คอื นางพิน ลีภ้ ัย ,นางพิกุล พรมลี และนางนริ มล มาตรโคกสูง
ตวั ชว้ี ัดเชิงคุณภาพ (Outcome)
ประชาชนที่เขา้ รบั การฝกึ อาชพี มีความรู้ ความเข้าใจด้านอาชพี ได้เห็นช่องทางการประกอบ
อาชพี สามารถนำความรู้มาประกอบอาชีพเพอื่ เสรมิ สร้างรายไดใ้ หก้ ับครอบครัวและเปน็ ตวั อย่างทดี่ ีได้

ขอ้ เสนอแนะ
ควรจะมวี ัสดุเพมิ่ มากกวา่ นี้

- 34 -

บรรณานกุ รม

ผ้าขาวม้า ของดี เมอื่ งสามโคก. (2560) คมชดั ลึก. 24 เมย. 2560.
http://www.komchadluek.net/news/regional/273279 เมอ่ื วันท่ี 2 เมย. 2562

สวุ ิทย์ วงศ์รจุ ิราวาณิชย์. (ม.ป.ป.). สารพดั ประโยชน์กบั “ผา้ ขาวม้า”โปรดักทม์ หัศจรรยข์ องคนไทย.
คน้ จาก http://www.tcdc.or.th/articles/others/14996/#สารพัดประโยชนก์ ับ-ผ้าขาวมา้ -โปรดักทม์ หศั จรรย์
ของคนไทย เมื่อวันท่ี 2 เมษายน พ.ศ.2562

อนั ติกา.(2556).ผา้ ขาวม้าร้อยสี
ค้นจากhttp://www.sentangsedtee.com/news_detail.php?rich_id=2&column_id=7.
เม่อื วนั ที่ 27 มิถุนายน 2556.
https://sites.google.com/site/artificialrag/bth-thi-3-kar-danein-kar

- 35 -

คณะผดู้ ำเนินโครงการ

ทปี่ รกึ ษา ผอู้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
นางกรแก้ว แบบกลาง
อำเภอเมอื งนครราชสมี า จงั หวดั นครราชสีมา
นายประสิทธิ์ ตัง้ ประเสรฐิ ครูชำนาญการพเิ ศษ
นางบำเพญ็ ไทยสะเทอื น
นางงามจติ ต์ สวา่ งพลกรัง ครูชำนาญการ
นางทศั นา พรหมดี ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรยี น
ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น

ผู้ดำเนินการทำงาน หัวหนา้ กศน.ตำบลบา้ นโพธิ์
นางอนงค์ ทองพีระ ครูประจำศูนยก์ ารเรียนชมุ ชน ตำบลบ้านโพธิ์
นางสาวปฐมาวดี ทองพีระ

- 36 -

ภาคผนวก


Click to View FlipBook Version