The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการลูกเสือวิสามัญ ระหว่างวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563 - 2 มีนาคม 2563 ณ ค่ายลูกเสือโกล์เด้นแลนด์ รีสอร์ท ต.ไชยมงคล อ.เมือง จ.นครราชสีมา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mueang, 2022-01-19 21:09:21

รายงานผลการดำเนินงานโครงการลูกเสือวิสามัญ

โครงการลูกเสือวิสามัญ ระหว่างวันที่ 29 กุมภาพันธ์ 2563 - 2 มีนาคม 2563 ณ ค่ายลูกเสือโกล์เด้นแลนด์ รีสอร์ท ต.ไชยมงคล อ.เมือง จ.นครราชสีมา

รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการคา่ ยลกู เสือวิสามญั

ระหว่างวันที่ 29 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ถึง 2 มนี าคม 2563
ณ ค่ายลกู เสือโกลเ์ ด้นแลนด์ รสี อร์ท ตำบลไชยมงคล อำเภอเมอื งนครราชสีมา จงั หวดั นครราชสีมา

จดั ทำโดย

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมอื งนครราชสีมา
สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัดนครราชสมี า

สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สำนักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
ปกี ารศกึ ษา 2563

คำนำ

โครงการคา่ ยลกู เสอื วิสามญั จัดขึ้นโดยใหผ้ ้เู ขา้ รบั การอบรมไดร้ บั ความรู้ ความเข้าใจในประวัติ
ลูกเสือ เพอ่ื สง่ เสรมิ ให้ผู้เข้ารบั การอบรมมที ักษะชีวติ สามารถดำรงชีวติ อยู่ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุขโดย
นำเอากจิ กรรม และอดุ มการณข์ องลูกเสือมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน และเพือ่ ให้ผู้เข้ารับการอบรมมพี ฒั นา
ทางกาย สติปัญญา จติ ใจ และศลี ธรรม เพื่อเป็นพลเมอื งดแี ละบำเพญ็ ตนเพื่อประโยชนข์ องส่วนรวม

ขอขอบคุณ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมืองนครราชสีมา
ทจ่ี ัดสรรงบประมาณในการฝกึ อบรมวิชาชีพในคร้ังน้ี และขอขอบคณุ วิทยากร ท่ใี ห้ความรู้ในการดำเนนิ
โครงการคา่ ยลกู เสือวิสามญั ณ คา่ ยลกู เสอื โกลเ์ ด้นแลนด์ รีสอรท์ ตำบลไชยมงคล อำเภอเมอื งนครราชสมี า
และประเมนิ โครงการ ฯ ทำให้การดำเนนิ งานบรรลผุ ลตามเป้าหมายที่กำหนด ซึง่ มีประโยชน์ต่อผทู้ ี่เขา้ ร่วม
โครงการ และผู้เกีย่ วข้อง สำหรับใช้ในการพัฒนางานให้มคี วามกา้ วหน้าต่อไป

ผู้ดำเนินการ
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย

สารบญั หน้า

เร่อื ง 1
1
บทท่ี 1 หลักการและเหตุผล 5
วตั ถุประสงค์ 5
ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 6
ตัวชว้ี ัดผลสำเร็จ
การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ 7
39
บทที่ 2 เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง 40
ประวติ ลิ กู เสอื 40
บทที่ 3 วิธีการประเมินผลโครงการ 41
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 45
วิธกี ารประเมิน
ผลการวิเคราะห์
บทท่ี 5 สรปุ ผลการประเมนิ และข้อเสนอแนะ
ภาคผนวก

1

บทท่ี 1
บทนำ

หลกั การและเหตผุ ล

กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในฐานะทเ่ี ป็นหน่วยงานรับผิดชอบการจัดการศกึ ษา หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั
การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ขึ้น โดยประกอบดว้ ยกล่มุ สาระการเรยี นรู้ และกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน ซึง่ เป็น
กจิ กรรมที่จดั ข้นึ เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาความสามารถของตนเองตามศกั ยภาพ ซึง่ เป็นการพัฒนาใหค้ รบทั้ง 4 ด้าน คอื ดา้ น
ร่างกาย สตปิ ัญญา อารมณ์ และสงั คม โดยจัดเป็นแนวทางหนึ่งทจ่ี ะสนองนโยบายในการสรา้ งเยาวชนของชาตใิ หเ้ ปน็ ผูม้ ี
ศีลธรรม จริยธรรม และมีระเบียบวนิ ัยดงั นน้ั เพอื่ เปน็ การสนองตอบตอ่ นโยบายของรัฐบาล ศนู ยก์ ารศึกษา นอกระบบ
และการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมอื งนครราชสีมา จึงได้จัดทำโครงการฝึกอบรมลกู เสือวิสามัญ กศน.อำเภอเมือง
นครราชสมี า ข้ึน เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกับหลกั สูตรการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน และยงั เป็นการพัฒนาผ้เู รยี นใหเ้ กิดการพัฒนาทั้ง 4
ด้าน ตลอดจนเป็นการพฒั นาให้ผูเ้ รียนเป็นผู้มีความรบั ผดิ ชอบเป็นพลเมอื งดขี องชาติ เกดิ ความสามัคคีในหมคู่ ณะ
สร้างสรรค์ให้สงั คมสงบสขุ และประเทศชาติมนั่ คง

ดังนนั้ ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองนครราชสมี า จึงได้จดั โครงการค่ายลกู เสอื
วิสามญั กศน.อำเภอเมอื งนครราชสมี า เพือ่ เพ่ือใหผ้ เู้ ข้ารับการอบรมไดร้ ับความรู้ ความเขา้ ใจในประวัติ กิจการลกู เสอื
กฎ คำปฏญิ าณ และอดุ มการณ์ของลูกเสือวิสามัญ เพื่อสง่ เสริมให้ผู้เขา้ รบั การอบรมมีทกั ษะชีวติ สามารถดำรงชวี ติ อยใู่ น
สงั คมได้อยา่ งมคี วามสขุ โดยนำเอากิจกรรม และอุดมการณ์ของลูกเสือมาปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวนั และ เพ่ือให้ผู้เข้ารับการ
อบรมมีพฒั นาทางกาย สติปัญญา จติ ใจ และศีลธรรม เพอ่ื เปน็ พลเมืองดีและบำเพญ็ ตนเพ่ือประโยชน์ของสว่ นรวม

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ให้ผเู้ ขา้ รบั การอบรมไดร้ บั ความรู้ ความเขา้ ใจในประวตั ิ กิจการลกู เสอื กฎ คำปฏิญาณ และ

อดุ มการณข์ องลกู เสอื วิสามัญ
2. เพื่อสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เข้ารบั การอบรมมีทักษะชวี ิต สามารถดำรงชวี ติ อยใู่ นสังคมได้อย่างมีความสขุ โดยนำเอา

กจิ กรรม และอดุ มการณ์ของลูกเสือมาปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั
3. เพือ่ ให้ผเู้ ข้ารบั การอบรมมพี ฒั นาทางกาย สติปญั ญา จติ ใจ และศีลธรรม เพ่อื เปน็ พลเมืองดแี ละบำเพ็ญ

ตนเพอ่ื ประโยชน์ของส่วนรวม
เป้าหมาย

5.1 เชิงปริมาณ
นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนครราชสีมา รวมท้งั ส้ิน จำนวน 100 คน
5.2 เชงิ คุณภาพ

2

เพ่ือให้ผูเ้ ข้ารบั การอบรมได้รับความรู้ ความเขา้ ใจในประวัติ กิจการลกู เสือ กฎ คำปฏญิ าณ และอดุ มการณ์
ของลูกเสอื วิสามญั สง่ เสรมิ ให้ผู้เขา้ รับการอบรมมีทักษะชวี ติ สามารถดำรงชวี ติ อยู่ในสังคมได้ อยา่ งมีความสขุ โดย
นำเอากิจกรรม และอดุ มการณข์ องลกู เสือมาปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวนั และมีพฒั นาทางกาย สติปัญญา จิตใจ และ
ศีลธรรม เพือ่ เป็นพลเมืองดีและบำเพ็ญตนเพ่อื ประโยชนข์ องสว่ นรวม
ในทอ้ งถ่ินในการถ่ายทอดการประกอบอาชพี สามารถใชเ้ ทคโนโลยกี ารสื่อสารด้วยระบบออนไลนเ์ พื่อการ
ประชาสมั พนั ธอ์ าชีพและนำความรู้ทไ่ี ด้ไปพัฒนาตนเองและเป็นตัวอยา่ งที่ดีในตำบลได้

วิธกี ารดำเนินการ

กจิ กรรมหลกั วัตถุประสงค์ กลุม่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พ้นื ทดี่ ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ

1.สำรวจความตอ้ งการ - เพ่อื ให้ทราบความ นกั ศกึ ษา กศน. 100 คน กศน.อำเภอเมอื ง 24 ม.ค. -

และเสนอโครงการเพือ่ ตอ้ งการของนักศกึ ษา อำเภอเมือง นครราชสีมา 63

อนมุ ัติ ทส่ี นใจเขา้ ร่วมโครงการ นครราชสีมา

- แต่งต้ังคณะทำงาน

2. ประชุมเพ่ือวางแผน - เพอื่ ความพรอ้ มและ ครู /วทิ ยากร 10 คน กศน.อำเภอเมือง 24 ม.ค. -

เตรยี มบคุ ลากร/วทิ ยากร สรา้ งความเข้าใจ นครราชสีมา 63

กระบวนการเรียนรู้

3. ดำเนนิ การจัด 1. เพอื่ ให้ผเู้ ขา้ รับการ นกั ศกึ ษา กศน. 100 คน ค่ายลูกเสอื 29 ก.พ. - 2 99,600 บาท

กิจกรรมดังน้ี อบรมได้รบั ความรู้ ความ อำเภอเมือง โกลเด้นแลนด์ ม.ี ค. 63

-หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เข้าใจในประวตั ิ กจิ การ นครราชสีมา ต.ไชยมงคล

ลูกเสือกับการพัฒนา ลูกเสอื กฎ คำปฏิญาณ อ.เมือง

ชุมชน และอุดมการณ์ของลูกเสือ นครราชสีมา

- หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 2 วิสามัญ จ.นครราชสีมา

การลูกเสือไทย 2. เพอื่ สง่ เสรมิ ให้ผเู้ ขา้ รบั

- หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 การอบรมมีทักษะชีวิต

การลูกเสือโลก สามารถดำรงชวี ิตอยูใ่ น

- หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 สงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ

คุณธรรม จริยธรรมของ โดยนำเอากจิ กรรม และ

ลกู เสือ อุดมการณ์ของลกู เสือมา

- หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 5 ปรับใช้ในชีวิตประจำวนั

วินยั และความเปน็ 3. เพ่อื ใหผ้ ู้เขา้ รับการ

ระเบยี บเรียบร้อย อบรมมีพัฒนาทางกาย

3

กจิ กรรมหลกั วัตถปุ ระสงค์ กล่มุ เปา้ หมาย เป้าหมาย พ้ืนทดี่ ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ
- หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 สตปิ ญั ญา จติ ใจ และ
ลกู เสอื กศน. กับการ ศีลธรรม เพ่อื เป็นพลเมอื ง
พัฒนา ดแี ละบำเพญ็ ตนเพือ่
- หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 7 ประโยชน์ของสว่ นรวม
ลกู เสือ กศน. กบั จติ
อาสา และการบรกิ าร
-หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 8
การเขียนโครงการเพ่ือ
พฒั นาชมุ ชนและสงั คม
-หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 9
ทักษะลกู เสอื
-หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 10
ความปลอดภัยในการ
เขา้ ร่วมกจิ กรรมลูกเสือ

-หน่วยการเรียนรู้ที่ 11 - เพอ่ื ดำเนินกจิ กรรมให้ ครู /วทิ ยากร 10 คน ค่ายลูกเสอื 29 ก.พ. – -
การปฐมพยาบาล บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ โกลเดน้ แลนด์ 2 ม.ี ค. 63
-หน่วยการเรียนรู้ท่ี 12 ของโครงการ ต.ไชยมงคล
การเดินทางไกล อยูค่ า่ ย อ.เมอื ง
พกั แรม และชีวิตชาว นครราชสมี า
ค่าย จ.นครราชสีมา
4. ดำเนินการวัดผล/
ประเมนิ ผล

4

กิจกรรมหลกั วตั ถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เป้าหมาย พนื้ ทด่ี ำเนนิ การ ระยะเวลา งบประมาณ
5. กำกับ นเิ ทศ/ติดตาม -
ผลการดำเนนิ งาน - เพ่อื ให้ทราบผลการ ครู /วทิ ยากร 10 คน คา่ ยลูกเสอื 29 ก.พ. –

ดำเนินงานและเตมิ เตม็ โกลเด้นแลนด์ 2 ม.ี ค. 63

กจิ กรรมให้สมบรู ณต์ ่อไป ต.ไชยมงคล

อ.เมอื ง

นครราชสีมา

จ.นครราชสมี า

6. สรปุ /รายงาน - รายงานผลให้ผู้บริหาร ครู กศน.อำเภอ 10 คน กศน. อำเภอ ประจำปี -

ไดท้ ราบถงึ ระดบั เมอื งนครราชสีมา เมอื งนครราชสมี า งบประมาณ

ความสำเรจ็ ของโครงการ 2563

และนำผลไปพฒั นาการ

ดำเนนิ งานต่อไป

รูปแบบการประเมนิ โครงการ
รูปแบบการประเมินแบบซิป (CIPP Model)เป็นการประเมินภาพรวมของโครงการ ตั้งแตบ่ ริบท ปัจจัย

ปอ้ นกระบวนการ และผลผลติ โดยจะใชว้ ธิ ีการสร้างเกณฑแ์ ละประสิทธภิ าพของโครงการ
ท้งั ภาพรวม

การประเมินดา้ นบรบิ ท เพอ่ื ประเมนิ เนอ้ื ความ เป็นการศกึ ษาปัจจัยพืน้ ฐานทนี่ ำไปสู่การพัฒนาเปา้ หมาย
ของโครงการ ไดแ้ ก่ บรบิ ทของสภาพแวดล้อม นโยบาย วสิ ัยทัศน์ ปัญหา งบประมาณตลอดจน
แนวโนม้ การกอ่ ตวั ของปญั หาที่อาจจะเปน็ อุปสรรคตอ่ การดำเนนิ โครงการ

การประเมินปจั จยั ปอ้ น เพือ่ ค้นหาประสทิ ธภิ าพขององคป์ ระกอบที่นำมาเปน็ ปจั จยั ป้อน
ซึ่งในดา้ นจำแนกเปน็ บคุ คล ส่งิ อำนวยสะดวก เคร่ืองมอื อปุ กรณ์ ครภุ ณั ฑ์ ศกั ยภาพการบริหารงานซ่งึ แต่
ละปจั จัยกย็ ังจำแนกย่อยออกไปอีก เชน่ บุคคล อาจพจิ ารณาเป็นเพศ อายุ อาชพี กลมุ่ เปา้ หมาย ความพึงพอ
ใจความคาดหวงั ทศั นคติ ศักยภาพ ความสามารถ ประสบการณ์ ความรู้ คุณวฒุ ทิ างการศกึ ษา

การประเมนิ กระบวนการ เพ่ือศึกษาตอ่ จากการประเมนิ บริบทและปจั จยั ป้อนว่ากระบวนการเป็นไปตาม
แผนทวี่ างไว้ เปน็ การศึกษาคน้ หาขอ้ บกพร่อง จุดออ่ น หรอื จุดแขง็ ของกระบวนการบรหิ ารจดั การโครงการทีจ่ ะ
นำโครงการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ่ีวางไว้ว่ามีประสิทธภิ าพมากน้อยเพยี งใด

การประเมนิ ผลผลิต เพอื่ ตรวจสอบประสิทธิผลของโครงการ โดยเฉพาะความสอดคล้องระหว่าง
วัตถุประสงคก์ บั ผลลพั ธท์ ีไ่ ดแ้ ล้วนำเกณฑ์ที่กำหนดไวไ้ ปตดั สนิ เกณฑ์มาตรฐานจะกำหนดขน้ึ เอง

ระยะเวลาการดำเนนิ โครงการ

5

ระหว่างวนั ที่ 29 กมุ ภาพนั ธ์ – 2 มนี าคม 2563

ประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ บั
- นักศกึ ษา กศน.อำเภอเมอื งนครราชสมี า ไดร้ ับความรู้ ความเข้าใจในประวตั ิ กจิ การลูกเสือ กฎ คำ

ปฏญิ าณ และอดุ มการณข์ องลูกเสือวิสามญั ส่งเสริมให้ผเู้ ข้ารับการอบรมมีทักษะชีวิต สามารถดำรงชวี ิตอยู่ใน
สงั คมไดอ้ ย่างมีความสขุ โดยนำเอากิจกรรม และอุดมการณข์ องลูกเสือมาปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวนั และมพี ฒั นาทาง
กาย สตปิ ญั ญา จิตใจ และศีลธรรม เพอื่ เปน็ พลเมืองดีและบำเพ็ญตนเพอ่ื ประโยชนข์ องสว่ นรวม

ผู้รับผดิ ชอบโครงการ
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนครราชสีมา

เครือข่าย
-

โครงการที่เกี่ยวขอ้ ง
-

ผลลัพธ์ (Outcome)

- นักศกึ ษา กศน.อำเภอเมอื งนครราชสมี า ไดร้ บั ความรู้ ความเขา้ ใจในประวตั ิ กจิ การลกู เสอื กฎ คำ
ปฏิญาณ และอดุ มการณ์ของลกู เสอื วสิ ามญั ส่งเสริมใหผ้ ู้เข้ารบั การอบรมมที ักษะชวี ติ สามารถดำรงชวี ติ อยูใ่ น
สงั คมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ โดยนำเอากิจกรรม และอดุ มการณ์ของลกู เสือมาปรับใชใ้ นชีวติ ประจำวันและมีพัฒนาทาง
กาย สติปัญญา จิตใจ และศีลธรรม เพือ่ เป็นพลเมืองดแี ละบำเพ็ญตนเพื่อประโยชนข์ องสว่ นรวม

ดชั นชี ว้ี ดั ผลสำเร็จของโครงการ
13.1 ตัวชี้วดั ผลผลิต (Output)
13.1.1 รอ้ ยละ 85 ของนักศกึ ษา กศน. อำเภอเมืองนครราชสมี า ไดร้ ับความรู้ ความเขา้ ใจในประวตั ิ

กจิ การลกู เสอื กฎ คำปฏิญาณ และอดุ มการณข์ องลูกเสือวิสามญั
13.1.2 ร้อยละ 5 ของนักศกึ ษา กศน.อำเภอเมอื งนครราชสีมา มที ักษะชีวติ สามารถดำรงชีวิต อยู่ใน

สังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสุข โดยนำเอากิจกรรมและอุดมการณ์ของลูกเสอื มาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
13.1.3 รอ้ ยละ 85 มพี ฒั นาทางกาย สติปัญญา จติ ใจ และศีลธรรม เพื่อเปน็ พลเมืองดแี ละบำเพญ็ ตน

เพื่อประโยชน์ของสว่ นรวม
13.2 ตวั ชี้วัดผลลพั ธ์ (Outcome)

6

นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอเมอื งนครราชสีมา ไดร้ บั ความรู้ ความเข้าใจในประวัติ กิจการลกู เสอื กฎ คำ
ปฏญิ าณ และอุดมการณ์ของลูกเสอื วสิ ามญั สง่ เสรมิ ให้ผ้เู ข้ารบั การอบรมมที กั ษะชวี ติ สามารถดำรงชวี ิตอย่ใู น
สังคมได้อยา่ งมีความสุข โดยนำเอากิจกรรม และอดุ มการณ์ของลกู เสอื มาปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวนั และมีพัฒนาทาง
กาย สติปญั ญา จิตใจ และศีลธรรม เพือ่ เป็นพลเมืองดแี ละบำเพญ็ ตนเพื่อประโยชนข์ องสว่ นรวม

การตดิ ตามและประเมินผลโครงการ
- การสงั เกต/แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ
- นิเทศ/ตดิ ตามผลการดำเนินงาน

7

บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี ก่ยี วข้อง

การลกู เสอื

ตราของการลกู เสอื

กจิ การการลูกเสอื ได้อุบตั ิขน้ึ เป็นแหง่ แรกของโลก โดยลอร์ดเบเดน โพเอลล์ (อังกฤษ: Lord Baden
Powell) เรียกยอ่ วา่ "บี พ"ี ทป่ี ระเทศองั กฤษ เมื่อปี พ.ศ. 2450 (ค.ศ. 1907) สบื เนื่องจากการรบกับพวกบวั ร์
(Boar) ในการรกั ษาเมอื งมาฟิคงิ (Mafeking) ที่แอฟริกาใตใ้ นปี พ.ศ. 2442 ซึ่งบี พี ได้ตง้ั กองทหารเดก็ ให้ช่วยสอด
แนมการรบ จนรบชนะข้าศึกเมอื่ กลับไปประเทศอังกฤษ ในปี พ.ศ. 2450 จึงได้ทดลองนำเดก็ ชาย 20 คน ไปอยู่
คา่ ยพกั แรมที่เกาะบราวนซ์ ี (อังกฤษ: Brownsea Islands) ซง่ึ ได้ผลดีตามที่คาดหมายไว้ ปี พ.ศ. 2451 บี พี จงึ ได้
ตั้งกองลกู เสอื ขึน้ เป็นครั้งแรกของโลก ที่ประเทศอังกฤษ

ประวตั กิ ิจการ

...ผู้กอ่ ตั้งลกู เสือโลกคอื ลอรด์ เบเดน เพาเวลล์ ( บ.ี พ.ี ) ชาวอังกฤษ ( เกดิ 22 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2400 ) ใน
วยั เดก็ โพเอลล์ ชอบทอ่ งเที่ยวพักแรม จึงรักธรรมชาติ ชอบรอ้ งเพลง และมคี วามรู้ในการใช้แผนท่ีเปน็ อย่างดี เมอื่
อายุ 19 ปี ไดร้ บั ราชการทหารเป็นร้อยตรี ไปประจำการ ณ ประเทศอินเดยี และแอฟริกา โพเอลล์เป็นทหาร มี
เงินเดอื นน้อยจึงร้จู ักใช้จา่ ยอยา่ งประหยดั เขม้ แข็งและอดทน หลังจากปลดประจำการแล้ว ไดน้ ำประสบการณ์
ตอนเปน็ ทหาร เชน่ การฝกึ สอนเดก็ ๆ ให้ร้จู ักทำหนา้ ทเี่ ป็นผสู้ อื่ ขา่ ว และเป็นผบู้ ำเพญ็ ประโยชน์ มาพฒั นาแนวคดิ
เป็นขบวนการลูกเสือ โดยในปี พ.ศ. 2450 โพเอลล์ไดร้ วบรวมเด็ก 20 คน ใหไ้ ปอยกู่ ับเขาที่เกาะบราวนซ์ ี ในช่อง
แคบองั กฤษ ซงึ่ นบั เป็นการพักแรมครัง้ แรกของลูกเสอื และตอ่ มาได้มีการกอ่ ตงั้ กองลกู เสือขนึ้ อยา่ งจริงจัง โพเอลล์
ใช้ชวี ติ ในบั้นปลายอยทู่ ี่เคนยา แอฟริกา ในชว่ งอายุ 80 ปี และถงึ แก่กรรม เมือ่ วนั ท่ี 8 มกราคม พ.ศ. 2485 ท่ี
ประเทศเคนยา

การลกู เสอื ในประเทศไทย

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ได้ทรงพระราชทานกำเนดิ ลูกเสอื ไทยข้นึ เมอ่ื วนั ที่ 1
กรกฎาคม พ.ศ. 2454 โดยทรงตงั้ กองลูกเสือกองแรกข้ึนท่โี รงเรียนมหาดเลก็ หลวง (วชริ าวธุ วทิ ยาลัย ในปจั จบุ นั )

8

และจัดตงั้ กองลูกเสือตามโรงเรยี น ตา่ ง ๆ ให้กำหนดข้อบังคบั ลักษณะปกครองลูกเสอื ขึน้ รวมทงั้ พระราชทาน คำ
ขวญั ให้ลกู เสอื ว่า “เสยี ชีพ อยา่ เสียสัตย์ ”

กจิ การลูกเสือในประเทศไทยยงั คงไดร้ บั การสืบสานใหเ้ จรญิ กา้ วหนา้ มาโดยลำดบั นับจนปัจจุบนั โดย
มี สมเด็จพระเจา้ อยู่หวั มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร ทรงเปน็ ประมุขคณะลกู เสอื แหง่ ชาติ และ สมเด็จ
พระเจ้าภคินีเธอ เจา้ ฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สริ ิโสภาพัณณวดี ทรงเป็นองคอ์ ุปถมั ภค์ ณะลกู เสือแห่งชาติ

ลูกเสอื คอื เยาวชนชายและหญงิ อายรุ ะหวา่ ง 8 – 25 ปี ทีร่ บั การฝึกอบรมตามหลักสตู รวชิ าลูกเสอื โดยยดึ
ม่ันในหลักการ (Principle) วิธีการ (Method) และวัตถปุ ระสงค์ (Purpose) ของการลูกเสือ (Scouting) อยา่ ง
เครง่ ครดั ตามพระราชบัญญตั ิลกู เสอื พ.ศ. 2551 และข้อบงั คับคณะลูกเสอื แห่งชาติวา่ ด้วยการปกครอง หลักสูตร
และวิชาพเิ ศษลกู เสือ พ.ศ. 2509 ได้กำหนดประเภทและเหล่าลกู เสอื ว่า ลกู เสือมี 4 ประเภท คอื สำรอง สามัญ
สามญั รุน่ ใหญ่ วสิ ามัญ และอาจจัดให้มีลูกเสอื เหล่าสมทุ ร และลูกเสอื เหล่าอากาศได้ สำหรับลูกเสอื ที่เปน็ หญงิ อาจ
ใช้ชือ่ เรยี กว่า เนตรนารี หรอื ชื่ออ่ืนซงึ่ ไดร้ ับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารลูกเสอื แห่งชาติใหห้ มายถึง
ลูกเสอื ที่เป็นหญงิ ด้วย

1. ลูกเสือสำรอง (Cub Scout) อายุ 7 – 9ปี คติพจน์: จงทำดี (Do Our Best)

2. ลูกเสือสามญั (Scout) อายุ 10 - 12 ปี คตพิ จน์: จงเตรยี มพรอ้ ม (Be Prepared)

3. ลูกเสือสามญั รนุ่ ใหญ่ (Senior Scout) อายุ 13 – 15 ปี คติพจน:์ มองไกล (Look Wide)

4. ลูกเสือวิสามญั (Rover) อายุ 16 - 25 ปี คติพจน:์ บริการ (Service)

9

โรเบิรต์ เบเดน โพเอลล์

ลอร์ด เบเดน โพเอลล์

ลอร์ด เบเดน โพเอลล์ หรือ บ.ี พี. มชี ือ่ เตม็ วา่ โรเบริ ์ต สตีเฟนสนั สไมธ์ เบเดน โพเอลล์ (22
กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2400 - 8 มกราคม พ.ศ. 2484) เป็นผู้ใหก้ ำเนดิ กิจการลูกเสือ

ประวตั ิ

เบเดน โพเอลล์ เกดิ เมอ่ื วนั ที่ 22 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2400 ที่กรุงลอนดอน ประเทศองั กฤษ บิดาช่ือ เอช.จ.ี
เบเดน โพเอลล์ มารดาช่ือ เฮนริเอทตา้ เกรซ สไมธ์ เปน็ ธิดาของพลเรือเอก ดบั เบิลย.ู ท.ี สไมธ์ แหง่ ราชนาวอี ังกฤษ

เมื่อ บ.ี พี อายไุ ด1้ 1-12 ปี ได้เขา้ ศึกษาทโ่ี รงเรียนประถมชอ่ื โรวฮิลลแ์ ละเขา้ เรยี นในโรงเรียนมัธยมชอ่ื ชา
เตอร์เฮาส์ ได2้ ปี ต่อมาโรงเรยี นได้ยา้ ยไปต้งั อยู่ในชนบท ณ เมอื งโกคาลมงิ เขามกั ใช้เวลาว่างเข้าไปใช้ชวี ิตและ
ศึกษาธรรมชาติในปา่ โดยลำพัง

ชีวิตวัยเดก็ ของ บี.พี.ได้รับความรเู้ ร่ืองการวา่ ยน้ำ เล่นสเกต ขมี่ ้า วดั แดดและดดู าว และนอกจากนเี้ ขายงั
ชอบการวาดรปู ร้องเพลงและแสดงละคร

ปสี ดุ ท้ายทีเ่ ขาเรียนอย่ทู ีช่ าเตอรเ์ ฮาส์ บี.พี. ไดไ้ ปสมคั รสอบเข้าเรียนที่มหาวิทยาลยั ออกซฟอร์ดถงึ สองครั้ง
แตส่ อบไม่ได้ ในปี พ.ศ. 2419 เขาสอบเข้าโรงเรยี นนายร้อยแซนดเ์ ฮิสต์ ไดท้ ี่ 5 และได้รบั แต่งตงั้ เป็นนายร้อยตรใี น
กองทพั บกอังกฤษ และถกู ส่งไปประจำการที่ประเทศอนิ เดยี เม่ืออายุ 19 ปี

ชีวติ ราชการทหารของบี.พี. สว่ นใหญ่อยู่ในประเทศอนิ เดียและทวีปแอฟรกิ า มีสิ่งทปี่ ระทบั ใจทีเ่ กี่ยวกบั
กจิ การลูกเสือหลายครัง้ เช่น

10

• ครงั้ ท่ี 1 พ.ศ. 2431 ไดไ้ ปปราบชนเผา่ ซลู ู ในแอฟรกิ าใตจ้ นสำเรจ็
• ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2432 ที่เกาะมอลต้า บ.ี พไี ดร้ ับแตง่ ตงั้ เป็นผู้ชว่ ยทตู ทหาร ทำหนา่ ทเี่ ปน็ ทหารสืบราชการลบั
• ครง้ั ท่ี 3 พ.ศ. 2438 ทำการรบกับเผ่าอาซันติ ซ่ึงมีกษัตรยิ ์ช่ือวา่ คงิ เปรมเปห์ และเขาไดร้ ับชยั ชนะ
• ครั้งท่ี 4 พ.ศ. 2439 ได้ไปปราบพวกกบฏมาตาบลิ ีซ่ึงเป็นเผ่าหนึง่ ของซูลู
• ครง้ั ที่ 5 พ.ศ. 2442 บ.ี พ.ี ไดน้ ำกองทพั ไปปอ้ งกนั การรกุ รานของพวกบวั ร ท่ีเมอื งมาฟอคี ิง จึงมีกองทัพใหญ่

ไปชว่ ย จนพวกบวั ร์ต้องล่าถอยไป ในการป้องกนั เมอื งมาฟอคี ิงเขาไดใ้ ช้เดก็ อาสาสมัครทำหนา้ ท่สี ง่ ข่าว ซึ่ง
เดก็ กท็ ำหนา้ ที่ไดด้ ี ทำให้บี.พ.ี ประทบั ใจในตวั เดก็

ใน พ.ศ. 2451 บี.พ.ี ไดร้ เิ ร่ิมกอ่ ตง้ั กองลกู เสอื ขึ้นสำหรบั เด็กชาย ตอ่ มาเขาไดส้ มรสกับโอลาฟ เบเดน โพ
เอลล์ ซ่งึ มีอายุอ่อนกวา่ กัน 32 ปี ในปี พ.ศ. 2455 ต่อมาโอลาฟ เบเดน โพเอลล์ ได้มีสว่ นสำคญั ในก่อตง้ั กจิ การผู้
บำเพญ็ ประโยชน์ สำหรับเด็กหญงิ ร่วมกับน้องสาวของ บี.พ.ี คือ แอกเนส เบเดน โพเอลล์

เม่ือ บี.พี. มีอายุ 80 ปี ได้เดินทางกลบั ไปใช้ชวี ติ อยูใ่ นแอฟริกา เพ่ือพักผ่อนในชว่ งสดุ ท้ายของชวี ติ ท่ี
ประเทศเคนยา จนถึงแกก่ รรม เมอ่ื วนั ที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2484 อายุ 83 ปี

11

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หัว
จากวกิ ิพีเดยี สารานุกรมเสรี
ไปยงั การนำทางไปยงั การคน้ หา

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว

สมเด็จพระเจ้ากรงุ สยาม[1]

ครองราชย์ 23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453 – 26 พฤศจกิ ายน
พ.ศ. 2468 (15 ปี 34 วัน)

ราชาภเิ ษก 11 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2453

กอ่ นหนา้ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั

ถัดไป พระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยู่หัว

สยามมกุฎราชกุมาร

ดำรงพระยศ 4 มกราคม พ.ศ. 2438 - 23 ตุลาคม พ.ศ.
2453 (15 ปี 292 วนั )

12

สถาปนา 4 มกราคม พ.ศ. 2438[2]

กอ่ นหน้า สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช เจ้าฟ้ามหาวชริ ณุ
หิศ

ถดั ไป สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช เจ้าฟ้ามหาวชริ า
ลงกรณ

พระมเหสี • พระนางเจา้ สวุ ัทนา พระวรราชเทวี
• พระนางเธอลักษมีลาวัณ
• สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศักดิศจี

พระวรราชชายา

พระราชธิดา สมเดจ็ พระเจา้ ภคินีเธอ เจ้าฟา้ เพชร
รตั นราชสดุ า สริ ิโสภาพัณณวดี

วดั ประจำรชั กาล

ทรงสร้างวชริ าวธุ วิทยาลยั แทนวดั ประจำ
รชั กาล[3]

ราชวงศ์ จักรี

พระราชบิดา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั

พระราช สมเด็จพระศรีพัชรนิ ทราบรมราชนิ ีนาถ พระ
มารดา บรมราชชนนีพนั ปีหลวง

พระราช 1 มกราคม พ.ศ. 2424
สมภพ พระบรมมหาราชวงั กรุงเทพพระมหา

นคร ประเทศสยาม

สวรรคต 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 (44 พรรษา)
พระบรมมหาราชวงั จงั หวัดพระนคร ประเทศ
สยาม

13

ลายพระ
อภไิ ธย

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาวชริ าวุธฯ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัว หรือ พระบาทสมเด็จพระ
รามาธิบดศี รีสินทรมหาวชิราวธุ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ ัว (1 มกราคม พ.ศ. 2424 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ.
2468) เป็นพระมหากษัตรยิ ์ไทยรัชกาลท่ี 6 แห่งราชวงศ์จักรี เสดจ็ พระราชสมภพเมอื่ วันเสาร์ เดือนยี่ ขนึ้ 2 ค่ำ ปี
มะโรง ตรงกบั วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2424 เป็นพระราชโอรสพระองคท์ ี่ 32 ในพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้า
เจ้าอยหู่ ัว เสวยราชสมบัตเิ มอ่ื วนั อาทิตย์ที่ 23 ตุลาคม ปีจอ พทุ ธศักราช 2453 และเสด็จสวรรคตเม่ือวันพฤหัสบดี
ท่ี 26 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2468 ปีฉลู รวมพระชนมพรรษา 44 พรรษา เสด็จดำรงราชสมบัติรวม 15 ปี

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หวั มพี ระอจั ฉริยภาพและทรงบำเพญ็ พระราชกรณียกิจในหลายสาขา
ทัง้ ดา้ นการเมืองการปกครอง การทหาร การศึกษา การสาธารณสุข การต่างประเทศ และท่ีสำคญั ท่ีสุดคือด้าน
วรรณกรรมและอกั ษรศาสตร์ ไดท้ รงพระราชนพิ นธบ์ ทรอ้ ยแกว้ และร้อยกรองไวน้ ับพันเรือ่ ง กระทงั่ ทรงได้รบั การ
ถวายพระราชสมญั ญาเมื่อเสด็จสวรรคตแล้ววา่ "สมเด็จพระมหาธรี ราชเจา้ " พระองคเ์ ปน็ พระมหากษตั ริย์ใน พระ
ราชวงศจ์ ักรีพระองค์แรกทไ่ี มม่ ีวัดประจำรชั กาล แต่ไดท้ รงมีการสถาปนาโรงเรียนมหาดเลก็ หลวง หรือวชริ าวุธ
วทิ ยาลัยในปัจจุบันข้นึ แทน ด้วยทรงพระราชดำรวิ ่าพระอารามน้นั มมี ากแลว้ และการสรา้ งอารามในสมยั ก่อนนนั้ ก็
เพ่ือบำรงุ การศกึ ษาของเยาวชนของชาติ จงึ ทรงพระราชดำริให้สร้างโรงเรยี นข้ึนแทน

พระบรมราชานุสาวรียแ์ หง่ แรกของพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยู่หวั สร้างแล้วเสร็จเม่อื พ.ศ. 2485
ประดษิ ฐาน ณ สวนลุมพินี ซง่ึ เป็นบรเิ วณที่ดินส่วนพระองคท์ ีพ่ ระราชทานไว้เปน็ สมบัติของประชาชน เพ่ือจดั งาน
สยามรฐั พิพธิ ภัณฑ์แสดงสนิ คา้ ไทยแกช่ าวโลกเปน็ ครงั้ แรก เพือ่ บำรุงเศรษฐกจิ และพาณิชยกรรมของประเทศ (แต่มิ
ทันไดจ้ ัดก็เสด็จสวรรคตเสียกอ่ น) และทรงตั้งพระราชหฤทยั ว่าเมื่อเสร็จงานแล้ว จะพระราชทานเป็น
สวนสาธารณะพกั ผ่อนหย่อนใจแหง่ แรกในกรุงเทพฯ ทั้งน้ี ในวนั คลา้ ยวนั สวรรคตของทุกปี วนั ท่ี 25 พฤศจกิ ายน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัว หรือผแู้ ทนพระองค์ จะเสด็จพระราชดำเนนิ ไปทรงวางพวงมาลา ถวายบงั คมพระ
บรมราชานุสรณ์ ณ สวนลุมพนิ ีแหง่ นี้ ในวนั น้ันมีหนว่ ยราชการ หน่วยงานเอกชน นสิ ติ นักศกึ ษา พอ่ ค้าประชาชน
จำนวนมากไปวางพวงมาลาถวายราชสักการะ และยังทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้บำเพ็ญพระราชกศุ ลอุทิศถวาย
ณ วชริ าวธุ วิทยาลยั [4]

ใน พ.ศ. 2524 องคก์ ารการศกึ ษาวิทยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมแหง่ สหประชาชาติ (UNESCO) ได้ยกย่องพระ
เกียรติคณุ ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ ัวว่าทรงเป็นบุคคลสำคัญของโลก ผมู้ ีผลงานดีเด่นด้าน
วฒั นธรรม ในฐานะทีท่ รงเปน็ นักปราชญ์ นักประพันธ์ กวี และนักแตง่ บทละครไวเ้ ปน็ จำนวนมาก[5]

14

เน้อื หา

• 1พระราชประวัติ
o 1.1พระราชสมภพ
o 1.2การศกึ ษา
o 1.3การผนวช
o 1.4ทรงเปน็ ผูส้ ำเร็จราชการตา่ งพระองค์
o 1.5การข้ึนครองราชย์
o 1.6กบฏ ร.ศ. 130
o 1.7นำสยามเข้าร่วมสงครามโลกคร้งั ทีห่ นึ่ง
o 1.8พระชนมชีพหลังสงครามโลก
o 1.9การสวรรคต

• 2ชีวิตส่วนพระองค์
• 3พระราชสันตติวงศ์

o 3.1พระมเหสี และพระสนม
o 3.2พระราชโอรสและพระราชธิดา
• 4พระราชกรณียกิจ
o 4.1ด้านการศกึ ษา
o 4.2ดา้ นการเศรษฐกิจ
o 4.3ดา้ นสงั คม
o 4.4ดา้ นศลิ ปวัฒนธรรม
o 4.5ด้านการต่างประเทศ
• 5พระบรมราชานุสรณ์
o 5.1พระบรมราชานุสาวรยี ์

▪ 5.1.1พระบรมราชานสุ าวรีย์ ณ พระราชวังพญาไท
▪ 5.1.2พระบรมราชานสุ าวรยี ์ ณ กรมการรกั ษาดนิ แดน
o 5.2วชริ าวุธวทิ ยาลยั
o 5.3พพิ ิธภณั ฑ์พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัว

15

o 5.4หอวชริ าวุธานสุ รณ์
o 5.5สถานทีอ่ นั เน่อื งด้วยพระนาม
• 6พระบรมราชอิสรยิ ยศและพระเกยี รติยศ
o 6.1พระบรมราชอิสรยิ ยศ
o 6.2พระราชลญั จกรประจำพระองค์
o 6.3พระพุทธรูปประจำพระองค์
o 6.4เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์ไทย
o 6.5เครื่องราชอิสริยาภรณ์ตา่ งประเทศ
o 6.6พระยศทหารและกองเสอื ปา่
o 6.7พระราชสมญั ญานาม
• 7พงศาวลี
• 8เชิงอรรถ
• 9อา้ งองิ
o 9.1บรรณานกุ รม
• 10ดูเพ่มิ
• 11แหลง่ ข้อมลู อืน่

พระราชประวัติ

พระราชสมภพ

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอย่หู ัว เป็นพระราชโอรสองค์ท่ี 29 ในพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้า
เจ้าอยหู่ ัว และเป็นองค์ท่ี 2 ท่ีประสูตแิ ต่สมเด็จพระศรีพัชรนิ ทราบรมราชินนี าถ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง เสดจ็
พระราชสมภพเมอื่ วันเสารท์ ่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2423 (นบั แบบปจั จุบนั เป็น พ.ศ. 2424) ณ พระที่น่งั ใน
พระบรมมหาราชวงั ชั้นใน[6] มพี ระเชษฐภคินแี ละพระอนชุ ารว่ มพระชนนี 7 พระองค์ คอื

1. สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจา้ ฟ้าพาหรุ ัตมณมี ัย กรมพระเทพนารีรตั น์ (พ.ศ. 2421-2430)
2. พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอย่หู วั (พ.ศ. 2423-2468)
3. สมเด็จพระเจา้ บรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าตรเี พช็ รตุ ม์ธำรง (พ.ศ. 2424-2430)
4. จอมพล สมเดจ็ พระเชษฐาธริ าช เจา้ ฟา้ จกั รพงษภ์ ูวนาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ (พ.ศ. 2425-2463)
5. สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจ้าฟา้ ศริ ริ าชกกุธภัณฑ์ (พ.ศ. 2428-2430)

16

6. พลเรือเอก สมเด็จพระอนชุ าธิราช เจ้าฟา้ อัษฎางค์เดชาวุธ กรมหลวงนครราชสมี า (พ.ศ. 2432-2467)
7. สมเด็จพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ จฑุ าธุชธราดิลก กรมขุนเพ็ชรบูรณอ์ ินทราไชย (พ.ศ. 2435-2466)
8. พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจา้ อยหู่ ัว (พ.ศ. 2436-2484)
ขณะทรงพระยศเปน็ สมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ กรมขุนเทพทวารวดี

แม้ตอนประสตู ิ พระราชชนนียังดำรงพระยศเป็น พระราชเทวอี ยู่ ยังมไิ ดด้ ำรงพระยศ พระอคั รมเหสี แต่
ตามขตั ตยิ ราชประเพณีในรัชกาลที่ 5 พระราชโอรสธิดาดำรงพระยศเป็นเจา้ ฟ้าชั้นทูลกระหมอ่ มทกุ พระองค์ พระ
อสิ รยิ ยศเดมิ ของพระองคท์ รงเป็นสมเดจ็ เจา้ ฟา้ ชน้ั ทลู กระหมอ่ ม เม่ือพระชนมพรรษาเจริญครบเดือน สมเดจ็ พระ
บรมชนกนาถทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตัง้ การพระราชพิธีสมโภชเดอื นและข้ึนพระอู่ สถาปนาเปน็ สมเด็จพระ
เจา้ ลูกยาเธอ เจา้ ฟ้ามหาวชริ าวธุ แตย่ ังมไิ ด้พระราชทานพระสพุ รรณบัฏเฉลิมพระนามาภิไธย สมเด็จพระบรม
ชนกนาถและสมเด็จพระบรมราชชนนี ทรงเรยี กวา่ "ลูกโต" พระประยรู ญาติในพระราชสำนักดำเนินรอยตามพระ
บรมราชอธั ยาศยั เรียกพระองคท์ ่านวา่ "ทูลกระหม่อมโต"[7]

ตอ่ มาในวนั พฤหัสบดที ่ี 14 มีนาคม พ.ศ. 2431 (นับแบบปจั จบุ นั เป็น พ.ศ. 2432) ทรงได้รับสถาปนา
เป็น สมเดจ็ พระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟา้ มหาวชริ าวธุ เอกอรรคมหาบุรษุ บรมนราธริ าช จุฬาลงกรณ์นารถราชวโร
รส มหาสมมติขัตติยพสิ ทุ ธิ บรมมกฏุ สุริยสนั ตติวงษ อดิสยั พงษวโรภโตสชุ าติ คุณสังกาศวิมลรัตน ทฤฆ
ชนมสวัสดิ ขัตติยราชกุมาร ทรงศกั ดนิ า 50,000 ตามอยา่ งเจา้ ฟ้าตา่ งกรม และทรงตง้ั เจา้ กรมเป็นกรมขุนเทพ
ทวาราวดี รบั พระเกยี รตยิ ศเปน็ ทีส่ องรองจากสมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟา้ มหาวชริ ุณหิศ สยาม
มกุฎราชกุมาร[8][9]
การศกึ ษา

ฉายพระรปู รว่ มกบั พระราชบดิ าและพระราชมารดา ขณะยังทรงดำรงพระอิสริยยศเปน็ สยามมกฎุ ราชกมุ าร
ในขณะทท่ี รงพระเยาว์น้ัน ได้ทรงศึกษาในพระบรมมหาราชวงั โดยมีหม่อมเจ้าประภากร มาลากุล พระยา

ศรีสุนทรโวหาร (นอ้ ย อาจารยางกูร) และพระยาอิศรพันธ์ุโสภณ (หนู อศิ รางกูร ณ อยธุ ยา) เป็นพระอาจารยถ์ วาย
พระอกั ษรภาษาไทย สว่ นวิชาภาษาอังกฤษนน้ั ทรงศึกษากับนายโรเบริ ์ต มอแรนต์ (Robert Morant)[10] ครน้ั เมอื่ ปี
พ.ศ. 2436 พระชนมายไุ ด้ 12 พรรษาเศษ สมเดจ็ พระบรมชนกนาถทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้เสด็จออกไปทรง

17

ศึกษาต่อ ณ องั กฤษ ในขณะที่ทรงศกึ ษาอยู่ ณ อังกฤษ สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช เจ้าฟา้ มหาวชริ ุณหิศ สยาม
มกุฎราชกมุ าร ได้เสด็จสวรรคต สมเด็จพระบรมชนกนาถจงึ โปรดฯให้สถาปนาเฉลมิ พระอิสรยิ ยศขึ้นเป็นสยาม
มกุฎราชกมุ ารสบื แทนสมเดจ็ พระเชษฐา[11][12]

พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวไดท้ รงศกึ ษาวชิ าอยู่ ณ ประเทศองั กฤษหลายแขนง ทางทหารทรง
สำเร็จการศึกษาจากแซนเฮิสต์แลว้ เข้ารับราชการในกรมทหารราบเบาเดอรมั ทางด้านพลเรือนทรงศึกษาวิชา
ประวตั ศิ าสตร์และกฎหมาย ที่วทิ ยาลยั ไครสต์เชิร์ช มหาวิทยาลยั ออกซฟอรด์ ระหว่างปี พ.ศ. 2442 - พ.ศ.
2444[13] แตเ่ นื่องด้วยทรงพระประชวรด้วยพระโรคอันตะ (ไสต้ ิง่ ) อักเสบ มพี ระอาการมากตอ้ งเข้ารบั การผ่าตัด
ทนั ที ทำใหท้ รงพลาดโอกาสทีไ่ ด้รบั ปรญิ ญา ระหวา่ งการศึกษาในต่างประเทศ ทรงปฏบิ ัติพระราชภารกจิ แทน
พระองคส์ มเด็จพระบรมชนกนาถ โดยเสด็จในฐานะผู้แทนพระองค์ไปในงานพระราชพิธสี ำคัญต่าง ๆ ทั้งในประเทศ
องั กฤษและประเทศใกล้เคยี ง เสดจ็ นวิ ัตพระนครตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระบรมชนกนาถโดยเสด็จผา่ น
สหรัฐอเมริกาและประเทศญป่ี นุ่ ถึงกรุงเทพมหานครเม่ือ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2445[14]
การผนวช

วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2447 เวลาเช้า 3 โมงเศษ ทรงผนวชเป็นครั้งท่ี 3 ณ พระอุโบสถวัดพระศรรี ัตน
ศาสดาราม โดยมีพระเจา้ นอ้ งยาเธอ กรมหม่นื วชิรญาณวโรรส เป็นพระอุปชั ฌาย์ หม่อมเจ้าพระสถาพรพริ ิย
พรต เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ ถึงเวลาบา่ ย 4 โมงเย็น ไดท้ รงทำทัฬหกี รรม ณ พระพทุ ธรตั นสถาน กบั พระ
อปุ ชั ฌายแ์ ละพระกรรมวาจาจารยพ์ ระองค์เดมิ ผนวชแลว้ ประทบั ณ พระตำหนกั ปน้ั หย่า วัดบวรนิเวศราชวรวหิ าร
[15] ถงึ วนั ที่ 11 ธันวาคม ศกนนั้ จงึ ทรงลาผนวช แลว้ ปฏิญาณพระองค์ถงึ ไตรสรณคมน์และรับศีล ยงั ทรงประทบั ใน
วัดบวรนิเวศวหิ ารตอ่ จนเช้าวันที่ 15 ธันวาคม จึงเสดจ็ ฯ กลบั [16]
ทรงเป็นผู้สำเร็จราชการต่างพระองค์

พระมหากษตั รยิ ์ราชวงศจ์ กั รี

พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลยั

พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกล้าเจา้ อย่หู ัว

18

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยหู่ วั

พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยูห่ วั

พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล
พระอฐั มรามาธบิ ดนิ ทร

พระบาทสมเดจ็ พระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพติ ร

พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั

•ด
•ค
•ก
เมอื่ พระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอย่หู ัวเสด็จพระราชดำเนนิ ยโุ รปครงั้ ท่ี 2 ระหวา่ งวนั ที่ 27 มนี าคม
พ.ศ. 2449 - 17 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2450 ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานอำนาจในราชกิจท่จี ะรกั ษาพระ
นครไวแ้ ดพ่ ระองค์ เปน็ การรบั สนองพระเดชพระมหากรณุ าธิคุณในสมเด็จพระบรมชนกนาถในหน้าทีอ่ ันสำคัญ
ท่สี ดุ สิ่งหนึ่ง และไดร้ ับความไวว้ างพระราชหฤทยั เป็นท่สี ดุ ดว้ ยระหว่างทรงเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินตา่ งพระองค์
นี้ ทรงรับเป็นประธานการจดั สรา้ งพระบรมราชานุสรณ์เฉลมิ พระเกียรตสิ มเดจ็ พระบรมชนกนาถ ซงึ่ งานสำคญั
บรรลโุ ดยพระราชประสงคอ์ ย่างดี[17]
การขน้ึ ครองราชย์
เมอื่ สมเด็จพระบรมชนกนาถเสดจ็ สวรรคตลงเม่อื วนั ท่ี 23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453 ทงั้ ๆ ทีพ่ ระองค์นน้ั ไดร้ ับการ
สถาปนาต้ังไว้ในพระรัชทายาทสืบพระราชสันตติวงศ์มาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2437 แต่กท็ รงเศรา้ สลด ไม่มีพระราช

19

ประสงค์ทีจ่ ะแลกสริ ริ าชสมบัตสิ ำหรับพระองคเ์ องกบั การสูญเสียพระชนมชีพของสมเดจ็ พระบรมชนกนาถ
จนกระทั่งสมเด็จเจา้ ฟา้ ฯ กรมพระยาภาณพุ ันธุวงศ์วรเดช ซ่ึงเปน็ พระปิตุลา (อา) แท้ ๆ ทูลเชญิ เสด็จลงทห่ี อ้ ง
แป๊ะเต๋งบนชน้ั 2 พระที่น่งั อมั พรสถาน และทา่ มกลางพระบรมวงศานวุ งศ์ เสนาบดี ผู้ใหญ่ องคมนตรี และ
ขา้ ราชการผู้ใหญผ่ ู้น้อย ที่ชมุ นมุ อยู่ พระปิตลุ าได้คุกพระชงฆล์ งกบั พน้ื กราบถวายบงั คมอัญเชญิ เสด็จข้ึนเถลงิ ถวัลย
ราชยเ์ ปน็ พระเจ้าแผน่ ดนิ สืบสนองพระองคส์ มเด็จพระบรมชนกนาถ และทันใดทกุ ทา่ นที่ชุมนมุ อยู่ที่นน้ั ก็ได้คุกเขา่
ลงกราบถวายบงั คมทั่วกัน[18] และในคืนน้นั ไดม้ ีประกาศภาษาไทยใหอ้ อกพระนามว่า สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชผู้
ทรงสำเร็จราชการแผน่ ดนิ ตอ่ มาวนั ที่ 25 ตลุ าคม จงึ ให้ออกพระนามวา่ สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัว[19]

ในวันศกุ ร์ท่ี 11 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2453 จงึ รับบรมราชาภเิ ษก เฉลิมพระปรมาภไิ ธยว่า "พระบาทสมเด็จ
พระปรเมนทรมหาวชริ าวธุ เอกอรรคมหาบุรษุ บรมนราธิราช พนิ ิตประชานารถมหาสมมตวงษ์ อดิศัยพงษวิมลรตั น์
วรขัตติยราชนกิ โรดม จาตุรันตบรมมหาจกั รพรรดิราชสังกาศ อภุ โตสชุ าตสงั สุทธเคราะหณี จกั รบี รมนาถ จฬุ าลง
กรณราชวรางกรู บรมมกุฏนเรนทรสูรสันตตวิ งษวสิ ิฐ สุสาธิตบุรพาธกิ าร อดุลยกฤษฎาภนิ หิ ารอดิเรกบุญฤทธิ ธัญ
ลักษณวิจติ รโสภาคยสรรพางค์ มหาชโนตมางคประณตบาทบงกชยุคล ประสิทธสิ รรพศภุ ผลอดุ มบรมสุขุมาลย์
ทพิ ยเทพาวตารไพศาลเกียรตคิ ณุ อดลุ ยพิเศษ สรรพเทเวศรานรุ ักษ์ บรุ มิ ศกั ดิสมญาเทพวาราวดี ศรมี หาบุรุษสตุ
สมบตั ิ เสนางคนกิ รรตั นอ์ ัศวโกศล ประพนธปรีชามทั วสมาจาร บรบิ รู ณ์คุณสารสยามาทนิ ครวรุตเมกราชดิลก มหา
ปริวารนายกอนนั ต์ มหันตวรฤทธิเดช สรรพวเิ ศษศริ นิ ธร บรมชนกาดิศรสมมต ประสิทธวิ รยศมโหดมบรมราช
สมบตั ิ นพปฎลเสวตฉัตราดิฉตั ร ศริ ริ ตั โนปลกั ษณมหาบรมราชาภิเศกาภสิ ิต สรรพทศทิศวิชติ ไชย สกลมไหศวริยม
หาสวามนิ ทร์ มเหศวรมหนิ ทรมหารามาธิราชวโรดม บรมนารถชาตอิ าชาวศรยั พทุ ธาทไิ ตรรตั นสรณารักษ์ อดุลย
ศกั ดิ์อรรคนเรศรามาธิบดี เมตตากรณุ าสีตลหฤไทย อโนปไมยบุญการ สกลไพศาลมหารัษฎาธิบดนิ ทร์ ปรเมนทร
ธรรมกิ มหาราชาธริ าช บรมนารถบพติ ร พระมงกฏุ เกล้าเจ้าอยหู่ วั "[20]

ตอ่ มาในวนั ท่ี 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459 ทรงเห็นชอบกบั คำกราบบังคมทลู ของเหลา่ เสนาบดีให้เฉลิมพระ
ปรมาภไิ ธย "สมเด็จพระรามาธิบดี" แทนคำวา่ "สมเดจ็ พระปรเมนทร" จึงมพี ระปรมาภิไธยอยา่ งสงั เขปว่า
"พระบาทสมเด็จพระรามาธบิ ดีศรีสินทรมหาวชิราวธุ พระมงกฏุ เกล้าเจา้ อยหู่ วั "[21] และเมือ่ ยกรามาธิบดเี ป็นคำนำ
พระปรมาภไิ ธยแล้ว จงึ โปรดเกล้าฯ ให้แก้นเรศรามาธบิ ดี เปน็ นเรศราธิบดี แทน[22]

20

กบฏ ร.ศ. 130

คณะกบฏ ร.ศ. 130

หลงั จากทรงครองราชสมบตั ไิ ด้ 2 ปี ไดเ้ กิดเหตุนายทหารและปญั ญาชนกลุม่ หนง่ึ วางแผนปฏิบตั กิ ารโดย
หมายใหพ้ ระมหากษตั รยิ พ์ ระราชทานรัฐธรรมนญู ให้ และเปลย่ี นแปลงการปกครองสู่ระบอบประชาธิปไตย ซ่ึงคณะ
ผู้กอ่ การได้รวมตวั กันเปน็ คร้งั แรกเม่ือวนั ที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2455 ประกอบดว้ ยผรู้ ่วมคณะเร่ิมแรกจำนวน 7 คน
คอื [23] ร.อ.ขนุ ทวยหาญพิทักษ์, ร.ต.เหรยี ญ ศรีจันทร์, ร.ต.จรูญ ษตะเมษ, ร.ต.เนตร์ พนู ววิ ฒั น์ จาก กองปนื กล
รกั ษาพระองค์, ร.ต.ปล่งั บูรณโชติ, ร.ต.หม่อมราชวงศแ์ ช่ รัชนิกร, ร.ต.เขยี น อทุ ัยกลุ

โดยคณะผ้กู ่อการวางแผนจะก่อการในวนั ที่ 1 เมษายน ซ่ึงเป็นวนั พระราชพิธถี ือน้ำพระพิพฒั น์สตั ยา และ
วันข้ึนปใี หม่ ผู้ที่จบั ฉลากว่าตอ้ งเปน็ คนลงมือลอบปลงพระชนม์ คือ ร.อ.ยุทธ คงอยู่ เกดิ เกรงกลวั ความผิด จึงนำ
ความไปแจ้งหมอ่ มเจ้าพนั ธปุ์ ระวตั ิ ผู้บงั คบั การกรมทหารชา่ งท่ี 1 รักษาพระองค์ และพากนั นำความไปแจ้ง สมเด็จ
พระอนชุ าธริ าช เจ้าฟา้ จกั รพงษ์ภวู นาถ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ[24] ความทราบไปถึงพระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกล้าเจ้าอย่หู วั ทปี่ ระทับอยทู่ ่ีพระราชวงั สนามจันทร์ จังหวดั นครปฐม คณะท้งั หมดจึงถูกจบั กุมเมอื่ วันที่ 27
กุมภาพันธ์ ถูกส่งตวั ไปคมุ ขังท่ีคกุ กองมหนั ตโทษ ทีส่ ร้างขึน้ ใหม่ เดมิ คณะตุลาการศาลทหารมีการพิจารณาตัดสนิ
ลงโทษใหจ้ ำคุกและประหารชวี ติ แต่พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หวั ได้มพี ระบรมราชวินจิ ฉัย และได้มี
พระบรมราชโองการพระราชทานอภยั โทษ ละเว้นโทษประหารชีวิต ดว้ ยทรงเห็นวา่ ทรงไมม่ ีจิตพยาบาทต่อผคู้ ิด
ประทษุ รา้ ยแก่พระองค์[25]

นำสยามเขา้ ร่วมสงครามโลกคร้ังทห่ี นึ่ง

พ.ศ. 2457 สงครามโลกคร้งั ท่หี นึ่งไดเ้ ร่มิ ปะทขุ ึ้น พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าอยหู่ วั ทรงให้ความสนใจ
และตดิ ตามขา่ วการสงครามอย่างใกล้ชิด พระองค์ทรงเลง็ เหน็ การณ์ไกลในการให้ประเทศสยามประกาศตวั เขา้
รว่ มกับฝ่ายสัมพันธมติ ร[26] เพราะถ้าฝา่ ยสัมพันธมิตรได้รบั ชยั ชนะ จะมผี ลดีในการทป่ี ระเทศไทยจะเรียกร้องสิทธิ
ตา่ งๆ เช่น ขอแกไ้ ขสนธสิ ัญญาท่ีไมเ่ ป็นธรรมทท่ี ำไว้กับนานาประเทศ จงึ ได้ประกาศสงครามกับเยอรมนีและ
ออสเตรยี -ฮังการี ในวันท่ี 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 โดยประกาศกระแสพระบรมราชโองการประณามว่า

21

"เยอรมนแี ละออสเตรยี -ฮงั การี เปน็ ฝา่ ยละเมิดเมตตาธรรมของมวลมนษุ ย์ มิได้มคี วามนับถือตอ่ ประเทศเล็ก
ไม่ปฏิบัตติ ามกฎหมายระหวา่ งประเทศ และเป็นผู้ก่อกวนความสุขของโลก"

ซ่ึงเหตุการณ์ก็เป็นดังทพ่ี ระองคท์ รงคาดไว้ คือ ฝ่ายสมั พนั ธมิตรไดร้ ับชยั ชนะ การตดั สนิ พระทยั ของ
พระองคใ์ นครงั้ นน้ั ปรากฏว่าไดร้ ับการคดั ค้านจากประชาชนท่ัวไป[27] เนือ่ งจากในสมัยนนั้ มคี นสยามไปศึกษาตอ่ ที่
ประเทศเยอรมนเี ปน็ จำนวนมาก จงึ นยิ มและเคารพเยอรมนเี ปน็ เสมอื นครบู าอาจารย์ และเยอรมนีไมเ่ คยสร้าง
ความเจบ็ ชำ้ นำ้ ใจให้สยามมาก่อน[28]

พระชนมชพี หลังสงครามโลก

ภายหลงั สงครามโลกครั้งท่ีหนงึ่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ อยหู่ ัวทรงใช้เวลาส่วนใหญ่ไปกับพระราช
กรณียกิจดา้ นศลิ ปวัฒนธรรม[29] โดยเฉพาะศลิ ปการแสดง จนนับได้ว่ารัชสมยั ของพระองค์เป็นยคุ ทองของศลิ ปะ
ดา้ นการแสดง ท้ังแบบจารตี คอื โขน ละครนอก ละครใน และละครแบบใหม่ซึ่งได้รับอทิ ธิพลของประเทศตะวนั ตก
อันไดแ้ ก่ ละครร้อง ละครพดู ละครดกึ ดำบรรพ์ ความสนพระทยั ของพระองคต์ อ่ งานแสดงนั้น มิใชเ่ พียงแตก่ าร
ทอดพระเนตรดังเชน่ รชั กาลท่ผี ่านมา แต่ไดม้ ีส่วนพระราชนิพนธ์บทละครท้ังภาษาไทย และภาษาต่างประเทศรวม
ประมาณ 180 เรอ่ื ง ทรงควบคมุ การแสดง และทรงแสดงร่วมด้วย[30]

นอกจากน้สี ิ่งที่พระองค์สนพระทยั อย่างย่งิ อกี อยา่ งหนง่ึ คอื กองเสือปา่ ซึง่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจา้ อยหู่ ัวทรงมีกระแสพระบรมราชโองการให้จดั ต้ังกองเสือป่าขึ้นเม่ือวันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 เพ่อื ฝกึ อบรม
ราษฎรทีม่ คี ณุ ภาพ มีวนิ ยั เคารพกฎหมายบา้ นเมือง มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และส่งเสรมิ ความ
สามัคคี[31]

ในช่วงปลายรัชกาลทรงใชเ้ วลาส่วนพระองค์ไปกบั การพระราชนพิ นธบ์ ทละคร และบทความเพ่อื ตีพิมพ์ใน
หนังสอื พมิ พ์ พระองค์ได้ออกหนงั สือข่าวของ "ดุสิตธานี" ทัง้ รายวันและรายสัปดาห์ คือ ดุสิตสมยั รายวัน และ
ดสุ ิตสมิธ ราย 3 เดือน ซึ่งไดร้ ับความนยิ มมาก มีทัง้ เรื่องการเมือง เรือ่ งตลกขบขนั เบด็ เตล็ด และกวีนิพนธ์
ลักษณะเดน่ คือมกี ารต์ นู ล้อการเมอื ง[32] หนงั สือพมิ พเ์ ป็นเวทีแสดงออกซ่งึ ความคดิ เห็นและสนามสำหรบั แสดง
โวหาร พระราชนิพนธท์ ีป่ รากฏในหน้าหนงั สอื พิมพไ์ ดแ้ ก่ "โคลนตดิ ลอ้ "[33] เป็นการเขียนถงึ สังคม ความเป็นอยู่
และการเมืองของไทย

การสวรรคต
พระเมรมุ าศพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หวั

พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ วั ทรงพระประชวรพระโรคพระโลหิตเป็นพิษในพระอทุ รต้ังแต่วนั ที่
12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 โดยทรงได้เสวยพระกระยาหารผดิ สำแดงและทรงพระบงั คน มีมดมาเกาะพระบงั คน
หมอจึงสรปุ ว่า มีเบาหวานแทรกซอ้ นแตพ่ ระอาการก็ทรงกับทรุด จนเสด็จสวรรคต ณ พระท่นี ่งั จกั รพรรดิ

22

พิมาน ภายในพระบรมมหาราชวัง เมือ่ วันที่ 26 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2468 เวลา 1 นาฬกิ า 45 นาที[34] โดยได้
อญั เชิญพระบรมศพไปประดษิ ฐาน ณ พระทีน่ ่งั ดสุ ติ มหาปราสาทรวมพระชนมพรรษาได้ 44 พรรษา และเสดจ็
ดำรงสริ ริ าชสมบัติได้ 15 พรรษา แต่รชั กาลที่ 7 มีพระราชประสงค์กำหนดวันสวรรคตของรัชกาลที่ 6 เป็นวันท่ี 25
พฤศจิกายน และถอื วา่ วนั พระมหาธรี ราชเจา้ ตรงกับวันท่ี 25 พฤศจกิ ายน[35] ส่วนพระบรมราชสรีรางคารได้เชญิ ไป
ประดิษฐาน ณ วดั บวรนิเวศราชวรวหิ าร และเชิญไปประดษิ ฐาน ณ พระปฤศฤๅงค์ พระรว่ งโรจนฤ์ ทธิ์ สว่ นพระ
บรมอัฐิส่วนหน่ึงเชญิ ไปประดษิ ฐาน ณ พระวิมานองค์กลาง พระท่นี ัง่ จักรีมหาปราสาท และ อีกส่วนหน่งึ เชญิ ไป
ประดษิ ฐาน ณ พระวมิ านพระอฐั ิ วงั รน่ื ฤดี[36] ของ สมเดจ็ พระเจ้าภคินเี ธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สิรโิ สภาพณั ณ
วดี พระราชธิดาพระองคเ์ ดยี ว

ชวี ติ ส่วนพระองค์

พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยู่หวั เมอ่ื คร้งั ยังเปน็ สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช เจ้าฟา้ มหาวชิราวุธ
สยามมกุฎราชกมุ าร ไดย้ ังการหมายหมน้ั จากสมเดจ็ พระศรพี ัชรินทราบรมราชนิ ีนาถ พระบรมราชชนนพี ันปี
หลวง ใหอ้ ภิเษกสมรสกับพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองคเ์ จ้าสุทธวิไลยลักษณา (พระองค์หญิงกลาง) พระธิดาองค์กลาง
ในสมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอ เจา้ ฟา้ จาตรุ นตร์ ัศมี กรมพระจักรพรรดิพงษ์ ถงึ กับมีการหมายหมน้ั ว่าพระองคเ์ จา้
หญิงน้ีจะไดเ้ ปน็ สมเด็จพระราชินีในอนาคต แตห่ ลังสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สำเรจ็ การศกึ ษาจากตา่ งประเทศ
กม็ ไิ ด้สนพระทัยในพระองค์เจ้าหญิงนกั [37]

ตอ่ มาเมือ่ พระองคไ์ ด้เสวยราชยเ์ ป็นพระมหากษัตริย์ในปี พ.ศ. 2453 หลงั จากน้นั อกี หลายปพี ระองคไ์ ดพ้ บ
กบั หมอ่ มเจา้ วรรณวมิ ล วรวรรณ (ท่านหญิงเตอะ) พระธิดาในพระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมพระนราธิปประพันธพ์ งศ์ ท่ี
เขา้ เฝ้าทูลละอองธุลพี ระบาทพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ วั เป็นคร้งั แรกท่ีห้องทรงไพ่บริดจ์ในงาน
ประกวดภาพเขยี น ณ โรงละครวังพญาไท ต่อมาเมื่อวนั ที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2463 พระองคโ์ ปรดเกล้าฯ
พระราชทานนามของพระธิดาในกรมพระนราธปิ ประพันธพ์ งศ์ โดยพระนามของหม่อมเจ้าวรรณวิมล เปล่ยี นเปน็
หม่อมเจ้าวัลลภาเทวี พร้อมกับขนิษฐาอกี 4 พระองค์ ทร่ี วมไปถึงหมอ่ มเจา้ วรรณพิมล วรวรรณ (ท่านหญงิ ติ๋ว) ก็
ไดร้ ับพระราชทานนามเปน็ หม่อมเจา้ ลักษมีลาวัณ และตอ่ มาในวนั ท่ี 9 พฤศจกิ ายนปีเดียวกนั นัน้ เอง ได้มกี าร
สถาปนาหม่อมเจา้ วลั ลภาเทวี วรวรรณ ขน้ึ เป็น พระวรกญั ญาปทาน พระองค์เจ้าวลั ลภาเทวี[38] แต่ด้วยมเี หตุพระ
ราชอธั ยาศัยไม่ต้องกัน จงึ มพี ระบรมราชโองการถอนหมัน้ ลงเมอ่ื วันที่ 15 มนี าคม พ.ศ. 2464 และโปรดเกล้าฯ ให้
ออกพระนามว่า พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ วัลลภาเทวี[39]

23

สมเดจ็ พระนางเจา้ อินทรศักดิศจี พระวรราชชายา
ก่อนการถอนหม้นั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ไดอ้ ภเิ ษกสมรสกับนางสาวประไพ สุจรติ

กุล เม่อื วันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2464 และไดม้ ีราชทินนามเปน็ พระอินทราณี[40] ตอ่ มาเมือ่ วนั ท่ี 4 เมษายนปี
เดียวกนั น้ันเอง พระองคก์ ไ็ ดส้ ถาปนาหม่อมเจ้าลกั ษมีลาวณั วรวรรณ พระขนิษฐาของอดตี พระวรกญั ญาปทานข้ึน
เปน็ พระเจ้าวรวงศเ์ ธอ พระองค์เจา้ ลักษมีลาวณั [41] พรอ้ มกับทรงหมนั้ และมพี ระราชวนิ จิ ฉัยว่าจะได้ทรงทำการ
ราชาภิเษกสมรสในภายหน้า[42] และวันที่ 27 ตุลาคม ของปีนัน้ พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อย่หู วั ทรง
อภเิ ษกสมรสกับนางสาวเปรื่อง สุจริตกุล พ่ีสาวของพระอนิ ทราณี[43] และอดีตนางสนองพระโอษฐ์ในอดีตพระวร
กญั ญาปทาน[44] ได้รับการแต่งตง้ั มีราชทินนามเป็น พระสจุ รติ สดุ า[45] แต่กม็ ไิ ดต้ ั้งครรภ์ตามพระราชประสงค์

ดว้ ยเหตทุ พ่ี ระอินทราณีได้ตงั้ ครรภ์ จงึ ไดร้ บั การสถาปนาเป็น พระวรราชชายาเธอ[46] และพระบรมราชินี
[47] ตามลำดับ แต่ในปลายปีเดยี วกนั นัน้ ก็ได้สถาปนาพระเจา้ วรวงศ์เธอ พระองคเ์ จา้ ลักษมลี าวัณ ข้ึนเปน็ พระนาง
เธอลักษมลี าวณั [48] แตท่ ้ังสองพระองคม์ ไิ ดอ้ ภิเษกสมรสหรือมโี อรสธดิ าดว้ ยกนั ท้ายทสี่ ุดจงึ ตัดสนิ พระทยั แยกกนั
อยู่

แตภ่ ายหลงั สมเด็จพระนางเจา้ อนิ ทรศกั ดศิ จี พระบรมราชนิ ไี ดท้ รงแทง้ พระครรภ์ พระบาทสมเด็จพระ
มงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั จึงลม้ เหลวตอ่ การมีพระราชโอรสสบื ราชบัลลงั ก์ จนในปี พ.ศ. 2467 พระบาทสมเดจ็ พระ
มงกุฎเกล้าเจา้ อยูห่ ัวไดส้ ถาปนานางสาวสุวัทนา อภยั วงศ์ ข้นึ เป็นเจ้าจอมสวุ ทั นา[49] ตอ่ มาเม่ือวันท่ี กนั ยายน พ.ศ.
2468 ได้มกี ารเขยี นพระราชพนิ ยั กรรมขน้ึ โดยได้เขยี นไว้ว่าวา่ ห้ามนำพระอฐั ิของพระองคต์ ้ังคู่กับพระอฐั ิของ
สมเด็จพระนางเจ้าอินทรศกั ดศิ จี หากจะตง้ั ก็ให้ตง้ั คกู่ ับสวุ ทั นา เพราะทรงยกย่องวา่ เปน็ "เมียดีจรงิ ๆ" และยังเปน็ ท่ี
ทรงหวงั วา่ จะมีพระราชโอรสสืบไปได้[50] และดว้ ยเกดิ เหตหุ ลายประการเกี่ยวข้องกบั สมเด็จพระนางเจา้ อนิ ทรศักดิ
ศจี พระบรมราชินี อันมเี รื่องการตกพระครรภห์ ลายครงั้ เป็นเหตุผลประการหนึ่ง จึงมีการลดพระอิสริยยศของ
สมเด็จพระนางเจ้าอนิ ทรศักดิศจี ลงเป็นพระวรราชชายาแทน เม่อื วันที่ 20 กนั ยายน[51][52] ตอ่ มาในเดอื นตลุ าคมปี
เดียวกันน้นั เองกไ็ ด้มกี ารสถาปนาเจา้ จอมสวุ ทั นาซ่ึงเปน็ ท่ีแนน่ อนแลว้ ว่าจะประสูตกิ าลพระบตุ รในไมช่ ้า ข้ึน

24

เป็น พระนางเจา้ สุวัทนา พระวรราชเทวี เพ่อื "...ผดุงพระราชอิศริยยศแห่งพระกมุ ารที่จะมพี ระประสูตกิ ารใน
เบ้อื งหน้า"[53]

พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี และพระราชธดิ า

แตพ่ ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ ัว ทรงพระประชวรหนักและมพี ระอาการรุนแรงขนึ้ ในยามน้นั
พระองค์ประทับ ณ พระท่นี ัง่ จกั รพรรดิพมิ าน ในพระบรมมหาราชวัง จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พระนางเจา้
สุวัทนา พระวรราชเทวีประทับ ณ พระทน่ี ่งั เทพสถานพลิ าส ซ่งึ ตดิ กบั พระที่น่งั จักรพรรดิพิมาน เพอื่ ทรงรอฟังข่าว
พระประสูติการอย่างใกล้ชิด จนกระทง่ั พระนางเจ้าสวุ ทั นา มพี ระประสูติการเจา้ ฟ้าหญงิ ในวนั ท่ี 24 พฤศจิกายน
จากนั้นในเวลาบ่าย เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟ้ือ พึง่ บุญ) ไดเ้ ข้าเฝา้ ฯ กราบบงั คมทลู พระกรณุ าว่า พระ
นางเจา้ สุวทั นา พระวรราชเทวี ประสูติ “สมเด็จพระเจา้ ลกู เธอ” เม่อื ความทราบฝ่าละอองธุลพี ระบาทแล้ว มพี ระ
ราชดำรสั วา่ “ก็ดเี หมือนกนั ”[54] จนร่งุ ขึ้นในวนั พธุ ท่ี 25 พฤศจกิ ายน เจา้ พระยารามราฆพ เชิญเสด็จสมเด็จพระ
เจ้าลูกเธอพระองค์นอ้ ยไปเฝ้าฯ สมเด็จพระบรมชนกนาถผทู้ รงพระประชวรหนกั บนพระแท่น เมือ่ ทอดพระเนตร
แลว้ ทรงพยายามยกพระหัตถ์ขึ้นสมั ผัสพระราชธิดา แตก่ ็ทรงออ่ นพระกำลงั มากจนไม่สามารถจะทรงยกพระหัตถ์
ไดเ้ นอ่ื งจากขณะนัน้ มีพระอาการประชวรอยใู่ นขนั้ วกิ ฤต เจา้ พระยารามราฆพจึงเชญิ พระหัตถข์ น้ึ สมั ผัสพระราช
ธิดา เม่อื จะเชิญเสด็จพระราชกมุ ารกี ลบั พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หัวกท็ รงโบกพระหัตถแ์ สดงพระราช
ประสงค์จะทอดพระเนตรพระราชธดิ าอีกคร้ัง จงึ เสด็จสมเด็จพระเจา้ ลกู เธอมาเฝา้ ฯ เปน็ ครัง้ ท่สี อง และเปน็ คร้งั
สดุ ทา้ ยแห่งพระชนมชพี จนกลางดึกคืนนน้ั เองกเ็ สดจ็ สวรรคต[54]

สว่ นพระราชธดิ าเพยี งพระองค์เดียวของพระองคค์ ือ สมเดจ็ พระเจ้าภคนิ ีเธอ เจา้ ฟ้าเพชรรตั นราชสุดา สริ ิ
โสภาพณั ณวดี ประสตู เิ มื่อวนั ท่ี 24 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2468 ได้รบั พระราชทานพระนามจากพระบาทสมเด็จ
พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ในการพระราชพธิ สี มโภชเดือนและขึน้ พระอู่ เม่ือวันที่ 30 ธนั วาคม พ.ศ. 2468[55] โดยมี
สมเดจ็ พระศรสี วรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสามาตุจฉาเจ้า ทรงพระเมตตาเอาพระราชหฤทัยใส่ดแู ลทั้งดา้ น
พระอนามยั และความเปน็ อยมู่ าโดยตลอด ด้วยเมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอย่หู วั ขณะทรงพระประชวร
หนักน้นั ไดม้ ีพระราชดำรัสกบั สมเด็จพระมาตุจฉาเจา้ ว่า “ขอฝากลกู ดว้ ย” สมเดจ็ พระพนั วสั สามาตุจฉาเจ้ายงั ไดม้ ี
พระราชกระแสถงึ เรอ่ื งนี้ไวว้ า่ “เจา้ ฟา้ นี่ ฉนั ตายกน็ อนตาไม่หลบั พระมงกฎุ ฝากฝังเอาไว้”[54] ตอ่ มาเจา้ ฟา้ เพชร
รัตนราชสุดา พรอ้ มด้วยพระนางเจ้าสวุ ทั นา พระวรราชเทวี ได้เสด็จฯ ไปประทบั ทปี่ ระเทศองั กฤษตั้งแตป่ ี พ.ศ.
2480[56] จนในปี พ.ศ. 2501 ทง้ั สองพระองค์ได้เสด็จฯ นิวัตกิ ลบั ประเทศไทยเปน็ การถาวรและประทับที่วงั ร่ืนฤดี
รว่ มกนั [56] ท้ายที่สุด สมเดจ็ พระเจ้าภคนิ ีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรตั นราชสุดา สิริโสภาพณั ณวดีได้ส้นิ พระชนม์ด้วยพระ
อาการติดเชื้อในกระแสพระโลหติ เมอ่ื วันท่ี 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 เวลา 16.37 นาฬกิ า[57] ณ ตึก 84
ปี โรงพยาบาลศิริราช สิรพิ ระชนมายไุ ด้ 85 พรรษา[58]

25

พระราชสนั ตติวงศ์ พระภรรยาเจ้า ตำแหน่งพระวรราชเทวี
พระมเหสี และพระสนม
พระนาม พระสกลุ วงศ์ พระราชธิดา
พระฉายาลักษณ์
สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ
พระนางเจ้า บุตรีของ พระยาอภัยภเู บศร เจ้าฟา้ เพชรรตั นราชสุดา
สริ โิ สภาพณั ณวดี
สุวทั นา พระวร (เลื่อม อภยั วงศ์) และ คุณเลก็

ราชเทวี บนุ นาค

(เครอื แกว้ อภัย

วงศ์)

พระภรรยาเจา้ ชัน้ หลานหลวง พระนางเธอ

พระฉายาลกั ษณ์ พระนาม พระสกุลวงศ์ พระราชบตุ ร
พระฉายาลักษณ์
พระนางเธอ พระธดิ าใน พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ ไมม่ ีพระราชโอรส-ธดิ า
ลักษมีลาวณั ชั้นที่ 4 กรมพระนราธปิ ประพนั ธ์
(หม่อมเจ้า พงศ์ และ หมอ่ มหลวงตาด วรว
วรรณพมิ ล วรว รรณ (สกลุ เดมิ มนตรีกุล)
รรณ)

พระภรรยาเจ้า ตำแหน่ง พระวรราชชายา

พระนาม พระสกลุ วงศ์ พระราชบุตร

26

สมเดจ็ พระนาง บตุ รีของ เจา้ พระยาสธุ รรมมนตรี • สมเด็จเจา้ ฟ้า
เจ้าอนิ ทรศักดิ (ปลม้ื สจุ ริตกุล) และ ท่านผู้หญิง (ตกไม่เป็น
ศจี พระวรราช กมิ ไล้ สุธรรมมนตรี พระองค์)
ชายา
(ประไพ สุจริต • สมเด็จเจา้ ฟา้ ชาย
กุล) • สมเดจ็ เจา้ ฟา้

(ตกไมเ่ ปน็
พระองค์)

พระสนมเอก

รปู ชือ่ ชาติตระกูล พระราชบุตร

พระสจุ รติ สดุ า บตุ รีของ เจ้าพระยาสธุ รรมมนตรี ไมม่ พี ระราชโอรส-ธิดา
(เปรื่อง สจุ ริต (ปลม้ื สุจริตกลุ ) และ ท่านผหู้ ญงิ
กลุ ) กิมไล้ สธุ รรมมนตรี

อดีตพระค่หู ม้นั

พระฉายาลักษณ์ พระนาม พระสกุลวงศ์ พระราชบตุ ร

27

พระวรกัญญา พระธิดาใน พระเจ้าบรมวงศ์เธอ ไม่มีพระราชโอรส-ธิดา
ปทาน ชั้นที่ 4 กรมพระนราธิปประพนั ธ์
พระองค์เจ้า พงศ์ และ หมอ่ มอนิ ทร์ วรวรรณ
วลั ลภาเทวี ณ อยุธยา
(หม่อมเจา้
วรรณวมิ ล วรว
รรณ)

พระราชโอรสและพระราชธิดา
ดูบทความหลักท:่ี พระราชสนั ตตวิ งศ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยหู่ ัว
พระราชกรณยี กิจ

พระบรมราชานุสาวรยี แ์ ห่งแรก สร้างแลว้ เสร็จเมื่อ พ.ศ. 2485 ท่ีสวนลุมพนิ ี
ด้านการศึกษา

เมอื่ คร้ังพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัวยังดำรงพระอสิ รยิ ยศสยามมกุฎราชกุมารได้เสดจ็
พระราชทานนาม โรงเรยี นยพุ ราชวิทยาลยั เมื่อวันท่ี 24 ธันวาคม พ.ศ. 2448[59] ซ่ึงเป็นโรงเรียนรฐั บาลแห่งแรก
ของเชียงใหม่ และพระราชทานนาม โรงเรยี นปรนิ ส์รอยแยลส์วิทยาลัย เม่ือวันท่ี 2 มกราคม พ.ศ. 2449 ซึง่ ก่อตง้ั
โดยคณะมชิ ชันนารีอเมรกิ า ซ่งึ ไมเ่ ป็นเพียงแตก่ ารนำรูปแบบการศกึ ษาตะวันตกมายงั หวั เมืองเหนือเทา่ น้นั แตย่ ัง
แฝงนยั การเมืองระหว่างประเทศเอาไวด้ ้วย[60] เห็นได้จากการเสดจ็ ประพาสมณฑลพายพั ทั้งสองคร้ังระหวา่ ง พ.ศ.

28

2448-2450 พระองค์ได้ทรงสนพระทยั ในกจิ การโรงเรียนที่จัดตัง้ ขึ้นมาใหมท่ ้งั สนิ้ โดยพระองคท์ รงบันทึกไว้ในพระ
ราชนิพนธ์ "เทย่ี วเมอื งพระรว่ ง" และ "ลิลติ พายพั "[60] ท้ังนี้ เป้าหมายของการจดั การศึกษายังแฝงประโยชนท์ าง
การเมอื งที่จะใหช้ าวทอ้ งถนิ่ กลมเกลียวกบั ไทยอกี ด้วย[60]

พระองคท์ รงริเรม่ิ สรา้ งโรงเรียนขน้ึ แทนวัดประจำรัชกาล ได้แก่ โรงเรียนมหาดเล็กหลวง (ปจั จุบัน
คอื โรงเรยี นวชิราวุธวิทยาลัย[61]) ท้ังยงั ทรงสนับสนุนกจิ การของโรงเรยี นราชวทิ ยาลยั ซงึ่ พระบาทสมเด็จพระ
จลุ จอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯ ให้สถาปนาขนึ้ ในปี พ.ศ. 2440 (ปัจจบุ ัน คือ โรงเรยี น ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ใน
พระบรมราชูปถัมภ์) และในปี พ.ศ. 2459 ไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระดิษฐานโรงเรยี นขา้ ราชการพลเรือน
ของพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยู่หวั ขึ้นเป็น “จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ” ซึง่ เป็นมหาวทิ ยาลัยแหง่ แรก
ของประเทศไทย[62][63]

ดา้ นการเศรษฐกิจ

ไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบญั ญตั คิ ลังออมสนิ พ.ศ. 2456 ขน้ึ เพอ่ื ให้ประชาชนรู้จักออม
ทรัพยแ์ ละเพ่ือความมั่นคงในดา้ นเศรษฐกจิ ของประเทศ อกี ท้งั ยงั ทรงริเริ่มก่อต้งั บรษิ ทั ปนู ซิเมนต์ไทยขน้ึ ทรงจัดตงั้
สภาเผยแผพ่ าณิชย์ ซง่ึ เป็นหน่วยงานคล้ายกับสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ ในปจั จุบัน และใชพ้ ระราชทรัพยส์ ว่ น
พระองค์ซอ้ื หนุ้ เพมิ่ ทุนของ ธนาคารสยามกมั มาจล ทุนจำกัด (ปัจจุบนั คอื ธนาคารไทยพาณชิ ย์) ซึง่ มปี ญั หาการเงนิ
ทำให้ธนาคารของคนไทยแห่งน้ีดำรงอยูม่ าได้

อย่างไรกต็ าม การใชจ้ า่ ยในราชสำนกั ของพระองคค์ อ่ นข้างฟุม่ เฟอื ย[64] กระทรวงพระคลงั มหาสมบตั ิตอ้ ง
ถวายเงนิ เพ่ิมข้นึ มากในพระคลังข้างท่ี ทง้ั นี้เพราะเน่อื งจากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอย่หู วั ทรงหมกมุ่นอยู่
กบั แต่ศลิ ปะวทิ ยาการ ทำให้การคลังของประเทศออ่ นแอ รายจา่ ยของแผ่นดนิ มีสงู กวา่ รายได้ ส่งผลใหเ้ กดิ ยคุ ข้าว
ยากหมากแพงในตอนปลายรัชกาล[64] ไปจนถงึ ในรัชกาลถัดไป

ด้านสงั คม

เม่อื วันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 ทรงจัดตงั้ กองเสอื ป่าและทรงจัดตง้ั กองลกู เสอื กองแรกข้นึ ที่โรงเรยี น
มหาดเลก็ หลวง (วชริ าวุธวทิ ยาลัย ในปัจจบุ ัน) ด้านการฝกึ สอนระบอบประชาธิปไตย ทรงทดลองตงั้ "เมอื งมงั "
[65] หลังพระตำหนกั จติ รลดาเดมิ ทรงจัดให้เมืองมงั มรี ะบอบการปกครองของตนเองตามวถิ ที างประชาธปิ ไตย
รวมถึงเมอื งจำลอง "ดสุ ติ ธาน"ี [66] ในพระราชวังดสุ ิต (ตอ่ มาทรงย้ายไปท่ีพระราชวังพญาไท) ทรงพระกรุณาโปรด
เกลา้ ฯ ใหต้ ัง้ วชิรพยาบาลเมอื่ พ.ศ. 2455 และโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์เม่ือ พ.ศ. 2457[67] ทรงเปิดสถานเสาวภา
เม่ือวนั ที่ 7 ธนั วาคม พ.ศ. 2465 เพอ่ื ผลิตวัคซนี และเซรุ่ม เปน็ ประโยชนท์ ั้งแกป่ ระชาชนชาวไทยและประเทศ
ใกล้เคยี งอีกดว้ ย[68] ทรงเปดิ การประปากรงุ เทพฯ เมื่อวันที่ 14 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2457 ในปี พ.ศ. 2460 ทรงตั้ง
กรมรถไฟหลวง และเรม่ิ เปดิ การเดินรถไฟสายกรงุ เทพมหานครถงึ จงั หวัดเชียงใหม่ สายใต้จากธนบุรีเชื่อมกบั ปนี ัง
และสิงคโปร์ อีกทั้งยังโปรดเกลา้ ฯ ให้สร้างสะพานพระราม 6 เพอ่ี เชอ่ื มทางรถไฟไปยังภูมิภาคอืน่ [69]

29

พระองคท์ รงยกเลกิ บอ่ นการพนัน หวย ก.ข. และลดการคา้ ฝิน่ ซง่ึ เปน็ อบายมขุ มอมเมาประชาชน แมว้ า่ จะ
เป็นแหล่งรายไดส้ ำคัญของรัฐบาลแหล่งหนึง่ กต็ าม[70] ทรงโปรดให้มีการตงั้ นามสกุลเหมอื นกบั ประเทศอน่ื ๆ โดย
ให้ตราพระราชบัญญัติขนานนามสกลุ เมื่อวนั ที่ 22 มีนาคม พ.ศ. 2455[71] และมีการพระราชทานนามสกุลให้แก่
หลายครอบครวั ทเ่ี รียกว่า นามสกุลพระราชทานจำนวน 6,464 นามสกลุ ทรงประกาศให้มกี ารใช้พุทธศกั ราชแทน
รัตนโกสินทรศ์ ก เพราะทรงมีพระราชดำรวิ า่ การใช้รตั นโกสินทร์ศกมขี อ้ บกพรอ่ งตรง จงึ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ
ให้เร่มิ ใช้พุทธศกั ราช เปน็ ศักราชในทางราชการมาตง้ั แต่วนั ท่ี 1 เมษายน พ.ศ. 2456[72] นอกจากนีท้ รงใหเ้ ปล่ียน
การนบั เวลามาเรียกวา่ นาฬิกาและนับเวลาทางราชการใหมใ่ ห้สอดคล้องกบั ธรรมเนียมสากลนิยม โดยใหถ้ ือเวลา
หลังเท่ียงคืนเปน็ วนั รุ่งข้ึนหรือวนั ใหม่ ซ่งึ จากเดมิ ประเทศไทยนับเวลาตอนกลางวันเปน็ โมง ตอนกลางคืนเป็นท่มุ [73]

เมอ่ื รชั กาลท่ี 6 ไดเ้ สดจ็ พระราชดำเนินไปยังเมอื งอุทัยธานี ซึง่ ขณะน้นั ประสบเหตอุ ทุ กภัยและ
ทอดพระเนตรเห็นธงชา้ งของราษฎรซึ่งตง้ั ใจรอรับเสดจ็ ไวถ้ ูกตดิ กลบั หวั พระองค์จงึ มีพระราชดำรวิ ่า ธงชาติตอ้ งมี
รปู แบบท่ีสมมาตรเพอื่ ไมใ่ ห้เหตกุ ารณ์เชน่ นี้เกิดขึ้นอกี จงึ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ให้เปลีย่ นรูปแบบธงชาตอิ ีก
ครัง้ โดยเปล่ยี นเป็นธงรูปสี่เหลยี่ มผืนผา้ มีแถบยาวสแี ดง 3 แถบ สลบั กับแถบสีขาว 2 แถบ ซ่ึงเหมอื นกบั ธงชาติ
ไทยในปัจจบุ นั แต่มีเพยี งสีแดงสีเดยี ว ซง่ึ ธงน้ีเรยี กว่า ธงแดงขาว 5 ร้ิว (ชื่อในเอกสารราชการเรียกวา่ ธง
คา้ ขาย) [74] พ.ศ. 2460 แถบสีแดงทต่ี รงกลางธงคา้ ขายไดเ้ ปล่ยี นเปน็ สนี ำ้ เงนิ ขาบ หรือสนี ำ้ เงนิ เขม้ เจอื ม่วงดัง
ปรากฏอยู่ในปัจจบุ ัน[75] เหตุท่รี ัชกาลที่ 6 ทรงเลือกสีนี้เพราะสีขาบเปน็ สีประจำพระองค์ทโ่ี ปรดมาก เนอ่ื งจากเปน็
สีประจำวนั พระราชสมภพคอื วนั เสาร์ ตามคตโิ หราศาสตร์ไทย[76] ธงชาตแิ บบใหมน่ ี้ไดร้ บั พระราชทานนามว่า "ธง
ไตรรงค์" ในปีพ.ศ. 2460 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ วั ไดท้ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหต้ ราพระราช
กฤษฎกี าคำนำหน้านามกำหนดใหใ้ ช้คำนำหนา้ นามอยา่ งอารยประเทศ นนั่ คือ ใหม้ ีคำวา่ เด็กชาย เดก็ หญงิ นาย
นาง และนางสาวนำหนา้ ชือ่ [77]

ด้านศิลปวัฒนธรรม

ทรงต้ังกรมมหรสพ เพอ่ื ฟน้ื ฟูศลิ ปวัฒนธรรมไทย และยงั ไดท้ รงสร้างโรงละครหลวงไว้ในพระราชวงั ทุกแหง่
[78] นอกจากนี้ ยังทรงสนพระราชหฤทัยดา้ นจิตรกรรมและสถาปัตยกรรมไทย ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ ให้
ออกแบบอาคารสมยั ใหมเ่ ป็นแบบทรงไทย เช่น ตึกอกั ษรศาสตร์ ซง่ึ เป็นอาคารเรยี นหลังแรกของจฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย และอาคารโรงเรยี นวชริ าวุธวทิ ยาลัย ทรงส่งเสริมให้มีการแตง่ หนงั สอื โดยทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ
ให้ตราพระราชบัญญตั วิ รรณคดสี โมสรย[79] สำหรับในด้านงานหนงั สอื พิมพ์ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ ให้ตรา
พระราชบัญญตั สิ มุด เอกสาร พ.ศ. 2465 ข้นึ

พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยู่หวั ทรงสนบั สนุนศิลปะการแสดงโขนด้วยการพระราชนพิ นธบ์ ท ทรง
ควบคมุ การจัดแสดงและฝึกซอ้ มดว้ ยพระองคเ์ อง และทรงโปรดให้ครูโขนละครจากคณะของเจ้าพระยาเทเวศร์วงศ์
ววิ ัฒน์ (หมอ่ มราชวงศห์ ลาน กญุ ชร) เปน็ ผฝู้ ึกหัดคณะโขของพระองค์ ด้านการละครทรงนำแบบอย่างมาเผยแพร่

30

ทั้งบทละคร วีธแี สดง การวางตวั ละครบนเวที การเปลง่ เสยี งพดู พระองค์ทรงมีบทบาททง้ั การพระราชนิพนธบ์ ท
ละคร ทรงควบคุมการแสดงและทรงแสดงรว่ ม พระองค์ทรงพระราชนิพนธบ์ ทร้องประกอบเนื้อเรอ่ื ง ทง้ั ทำนอง
เพลงไทยและเพลงสากล นอกจากน้ยี ังทรงโปรดฯใหม้ ีการสอนและฝึกซอ้ มดนตรีไทยควบค่ไู ปกบั การเรยี นการสอน
วชิ าสามญั [80]

ดา้ นการต่างประเทศ

ขณะดำรงพระยศเปน็ สยามมกุฎราชกุมาร ในระหวา่ งปดิ ภาคเรียนขณะทรงศกึ ษาที่ประเทศองั กฤษ
พระองคท์ รงศกึ ษาภาษาฝร่งั เศส[81] และเสดจ็ ทอดพระเนตรกจิ การทหารของประเทศในภาคพนื้ ยุโรปเป็นเนอื งนิจ
ในปีพ.ศ. 2445 ขณะทรงพระชนมายุ 22 พรรษา หลงั จากทรงสำเร็จการศึกษาจากมหาวทิ ยาลัยออกซฟอรด์ แลว้
พระองคไ์ ดเ้ สด็จพระราชดำเนนิ ไปประทับท่กี รุงปารีส ประเทศฝรงั่ เศส และเสด็จพระราชดำเนินทรงเยีย่ มประเทศ
ตา่ งๆ ในทวีปยโุ รปจนถงึ ประเทศอียิปต์ เพอ่ื เปน็ การเจรญิ สัมพันธไมตรี จากน้นั ประทับอยใู่ นกรงุ ลอนดอนระยะ
หนงึ่ เพอ่ื เตรียมพระองค์นิวัตประเทศไทย[82]

พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอย่หู ัวไดม้ พี ระบรมราชโองการประกาศสงครามกบั ประเทศฝ่ายเยอรมนั
ในสงครามโลกครั้งท่ี 1 เม่ือวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460[83] โดยประเทศไทยไดเ้ ข้ารว่ มกับประเทศฝา่ ย
สมั พนั ธมิตร ซึ่งประกอบด้วยประเทศองั กฤษ ฝร่งั เศส และรัสเซียเปน็ ผ้นู ำ พร้อมท้ังไดท้ รงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ
ใหส้ ง่ ทหารไทยอาสาสมัครไปร่วมรบในสมรภูมิยโุ รปดว้ ย ผลของสงครามประเทศฝ่ายสมั พนั ธมิตรไดช้ ยั ชนะ ทำให้
ประเทศไทยมโี อกาสเจรจากับประเทศมหาอำนาจหลายประเทศ ในการแกไ้ ขสนธสิ ัญญาทีไ่ มเ่ ปน็ ธรรม เชน่
สนธสิ ญั ญาสทิ ธิสภาพนอกอาณาเขต สนธิสญั ญาจำกัดอำนาจการเก็บภาษขี องพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้า
เจา้ อยหู่ วั และ สนธสิ ัญญาจำกดั อำนาจกลางประเทศไทย[84]

31

พระบรมราชานุสรณ์
พระบรมราชานสุ าวรยี ์

พระบรมราชานสุ าวรีย์สมเดจ็ พระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า

ภายหลงั การสวรรคตของพระบาทสมเด็จพระมงกฏุ เกล้าเจ้าอยหู่ ัว ไดม้ กี ารสรา้ งพระบรมราชานุสาวรยี ข์ น้ึ
หลายแหง่ เพื่อเป็นการรำลึกถึงพระมหากรุณาธคิ ณุ ที่ทรงปฏบิ ัติพระราชกรณยี กจิ นานปั การ เช่น

พระบรมราชานสุ าวรีย์ ณ สวนลมุ พินี

เปน็ พระบรมราชานสุ าวรีย์แหง่ แรกของพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยูห่ ัว สรา้ งด้วยพระราชทรพั ย์
พระราชทานจากพระนางเจ้าสวุ ัทนา พระวรราชเทวี โดยพระราชทานพระอนญุ าตใหห้ กั เงนิ รายไดข้ องพระองค์ 2
ใน 3 จากรายไดท้ ั้งหมด และพระราชทรัพยพ์ ระราชทานของสมเดจ็ พระเจา้ ภคินีเธอ เจ้าฟา้ เพชรรัตนราชสุดา สิริ
โสภาพัณณวดี ซึง่ พระราชทานสมทบอกี สว่ นหนึ่ง โดยส่วนทีเ่ หลอื รัฐบาลเป็นผู้อนมุ ัตงิ บจัดสร้าง สร้างแล้วเสรจ็ เมื่อ
พ.ศ. 2485 ประดิษฐาน ณ สวนลมุ พินี ซึ่งเป็นบริเวณที่ดินสว่ นพระองค์ ทพ่ี ระราชทานไว้เปน็ สมบตั ขิ องประชาชน
ทั้งนี้ในวนั คล้ายวนั สวรรคตของทกุ ปี วันที่ 25 พฤศจิกายน พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั หรอื ผูแ้ ทนพระองค์ จะ
เสดจ็ พระราชดำเนินไปทรงวางพวงมาลา ถวายบงั คมพระบรมราชานสุ าวรยี ์ และพระบรมราชานสุ รณ์แหง่ น้เี ปน็
หนงึ่ ในห้าสถานทท่ี ี่สมเด็จพระเจา้ ภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรตั นราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี และพระนางเจา้ สุวัทนา
พระวรราชเทวี จะเสดจ็ มาทรงวางพวงมาลาถวายราชสกั การะในวนั ท่ี 25 พฤศจกิ ายน ของทกุ ปี ณ สวนลุมพินี
แหง่ น้ี[85]

พระบรมราชานสุ าวรยี ์สมเด็จพระปิยมหาราชและสมเด็จพระมหาธรี ราชเจา้ ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย

32

เปน็ อนุสรณ์สถานทีร่ ะลกึ ถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และพระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้
เจา้ อยหู่ วั ในวาระครบรอบ 70 ปี แห่งการสถาปนาจุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ประดิษฐานอยู่ด้านหนา้ หอประชุม
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั เขตปทุมวนั กรุงเทพมหานคร พระบรมราชานุสรณแ์ หง่ นเี้ ปน็ หน่งึ ในห้าสถานทีท่ ่ีสมเด็จ
พระเจา้ ภคนิ เี ธอ เจา้ ฟ้าเพชรรตั นราชสุดา สริ โิ สภาพัณณวดี และพระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวี จะเสดจ็ มา
ทรงวางพวงมาลาถวายราชสักการะในวันท่ี 25 พฤศจกิ ายน ของทกุ ปี [86]

พระบรมราชานสุ าวรยี ์ ณ วชิราวุธวิทยาลยั

เรมิ่ จดั สร้างขึ้นเมือ่ พ.ศ. 2505 สมเด็จพระเจา้ ภคินเี ธอ เจา้ ฟ้าเพชรรัตนราชสดุ า สริ ิโสภาพัณณวดี และพระ
นางเจา้ สวุ ทั นา พระวรราชเทวี ไดเ้ สดจ็ มาทรงเปน็ องคป์ ระธานในพธิ ีประดิษฐานพระบรมรูป ณ พระบรมราชา
นสุ รณห์ น้าหอประชมุ แลว้ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ วั ได้เสด็จพระราชดำเนนิ ทรงเปดิ พระบรมราชานสุ าวรยี ท์ ี่
หน้าหอประชุม เมอ่ื วันที่ 11 มนี าคม พ.ศ. 2508 พระบรมราชานสุ รณ์แหง่ น้ีเป็นหนึง่ ในห้าสถานท่ที ่ีสมเดจ็ พระเจา้
ภคินเี ธอ เจา้ ฟ้าเพชรรัตนราชสดุ า สริ ิโสภาพณั ณวดี และพระนางเจ้าสวุ ัทนา พระวรราชเทวี จะเสด็จมาทรงวาง
พวงมาลาถวายราชสักการะในวนั ท่ี 25 พฤศจิกายน ของทกุ ปี [87]

พระบรมราชานุสาวรยี พ์ ระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยหู่ ัว ณ โรงเรียนวัดสทุ ธิวราราม

เป็นพระบรมราชานสุ าวรีย์ทีส่ รา้ งขึ้นเมือ่ คราวท่ีโรงเรยี นสถาปนาครบรอบ 96 ปีและเพอื่ นอ้ มรำลึกถึงพระ
มหากรุณาธิคณุ ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อย่หู ัวที่พระราชทานนามโรงเรียนและทรงมพี ระ
ราชหัตถเลขาชมเชยการสร้างโรงเรยี นแทนการสรา้ งวัดวาอารามดว้ ยตอ้ งตามพระราชนยิ ม และใหป้ ระกาศออกไป
ทั่วพระราชอาณาจกั รให้ราษฎรสรา้ งโรงเรยี นแทนวัด นับเปน็ โรงเรยี นแรกในรชั สมยั ของพระองค์ทา่ นทพี่ สกนิกร
สร้างโรงเรยี นถวายใหก้ บั ราชการ พระบรมราชานสุ าวรีย์น้อี ยุ่ในพระอริ ิยาบถประทับยนื ฉลองพระองคช์ ุดเสือป่า
ราบหลวง ด้านซา้ ยของพระบรมรานสุ าวรียม์ ีรปู หลอ่ โลหะเด็กชายสวมเคร่ืองแบบนกั เรียนโรงเรียนวัดสุทธิวราราม
นง่ั ถวายพานพุม่ ส่วนด้านขวาของพระบรมรานุสาวรีย์มรี ปู หลอ่ โลหะเด็กชายสวมเครอื่ งแบบลกู เสือโรงเรียนวดั
สุทธิวรารามนง่ั ถวายพานพมุ่ ทัง้ หมดเป็นฝมี ือของช่างจากกรมศิลปากร ปจั จบุ นั ประดิษฐานอยูด่ า้ นหนา้ อาคาร
เฉลิมพระเกียรติรชั กาลท9ี่ และมพี ิธีวางพวงมาลาถวายราชสกั การะในวันสมเดจ็ พระมหาธรี ราชเจ้าวนั ท่ี 25 พศจิ
กายน ของทกุ ปี

พระบรมราชานสุ าวรีย์ ณ พระราชวงั สนามจนั ทร์

เปน็ พระบรมรปู อยูใ่ นพระอิริยาบถประทบั นง่ั ฉลองพระองค์ชุดเสอื ป่าราบหลวงอย่างเกา่ แบบทรงมา้ เป็น
ฝีมือของช่างจากกรมศิลปากร ส่วนราชการจังหวัดฯ ได้อญั เชิญมาประดิษฐานไวก้ ลางพระราชวงั สนามจันทร์ หลงั
เทวาลัยคเณศร์ เมื่อวนั ท่ี 24 พฤศจิกายน 2525[88][89]

พระบรมราชานสุ าวรยี ์ ณ พระราชวงั พญาไท

33

เปน็ พระบรมราชานสุ าวรยี ท์ ีส่ ร้างขึ้นในภายหลัง เป็นพระบรมราชานสุ าวรยี ห์ ลอ่ สำริดทรงยืนต้ังอยู่
ดา้ นหนา้ อาคารเทียบรถพระทนี งั่ เป็นพระบรมราชานสุ าวรีย์ท่หี ลอ่ ขน้ึ ขนาดเทา่ องค์จรงิ ทรงเครอื่ งยศจอมพล
ทหารบกประดับเครอ่ื งราชอิสรยิ าภรณ์อนั มศี กั ด์ิรามาธบิ ดี[90]

พระบรมราชานสุ าวรีย์ ณ กรมการรักษาดินแดน

เปน็ พระบรมราชานสุ าวรียท์ ี่สร้างขึน้ ภายหลัง ประดิษฐานอยู่กลางวงเวยี นภายในกรมการรกั ษาดนิ แดน
พระบรมราชานสุ รณ์แห่งนเ้ี ป็นหนง่ึ ในห้าสถานท่ที ี่สมเด็จพระเจ้าภคนิ ีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สริ ิโสภาพัณณ
วดี และพระนางเจา้ สุวัทนา พระวรราชเทวี จะเสด็จมาทรงวางพวงมาลาถวายราชสกั การะในวันที่ 25 พฤศจกิ ายน
ของทุกปี

พระบรมราชานุสาวรีย์ ณ อำเภอสตั หีบ จังหวัดชลบุรี

ตง้ั อย่รู มิ ถนนสขุ ุมวทิ หมายเลข 3 กิโลเมตรท่ี 6 ตำบลสัตหีบ อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบรุ ี สร้างข้ึนเมื่อพ.ศ.
2544 โดยพลเรือโทสุทศั น์ ขย่ิม ผบู้ ัญชาการฐานทัพเรือสตั หีบ ได้ร่วมกับข้าราชการ ประชาชน และผู้มจี ติ ศรัทธา
จดั สร้างพระบรมราชานสุ าวรยี ข์ องพระองค์ขน้ึ เพอ่ื ถวายเป็นพระราชสกั การะ และแสดงความสำนึกในพระมหา
กรณุ าธคิ ณุ ของพระองคท์ ที่ รงพระราชทานท่ีดนิ ทรงสงวน บริเวณอำเภอสตั หบี ท่ีกองทพั เรอื ใชเ้ ปน็ ทตี่ ้งั ฐานทัพเรอื
โดยกองทัพเรือจะจัดพิธวี างพวงมาลาทุกวนั ที่ 25 พฤศจิกายน เป็นประจำทกุ ปี[91]

พระบรมราชานสุ าวรยี ์ ณ โรงเรียนยุพราชวทิ ยาลัย จังหวัดเชียงใหม่

ประดษิ ฐานบนแท่นหนา้ ตกึ ยุพราช โรงเรยี นยพุ ราชวทิ ยาลัย จัดสร้างขึน้ เม่ือพ.ศ. 2557 เพอื่ เปน็ การรำลึก
ถงึ พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั ขณะดำรงพระอิสริยศยศเปน็ สมเด็จพระยพุ ราชในรชั กาลที่ 5 ได้
พระราชทานนามโรงเรียนวา่ "โรงเรยี นยุพราชวิทยาลยั " ซ่ึงมคี วามหมายวา่ "โรงเรียนของสมเดจ็ พระยพุ ราช
(สมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช สยามมกฎุ ราชกุมาร)"[92]

พระบรมราชานสุ าวรยี ์ ณ สำนักงานใหญ่ธนาคารออมสิน

ประดษิ ฐานบริเวณ หน้าอาคารสำนักงานใหญ่ธนาคารออมสิน ถนนพหลโยธนิ จัดสร้างข้นึ เม่ือพ.ศ. 2509
โดยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชเสด็จพระราชดำเนนิ ทรงเปิดพระบรมราชานุสาวรยี ์ เพอ่ื เปน็
การรำลึกถึงผูท้ รงพระราชทานกำเนิดธนาคารออมสนิ พระบรมราชานุสรณแ์ ห่งนี้เปน็ หน่ึงในหา้ สถานท่ที ่ีสมเดจ็
พระเจ้าภคินเี ธอ เจา้ ฟ้าเพชรรัตนราชสดุ า สริ ิโสภาพัณณวดี และพระนางเจ้าสวุ ทั นา พระวรราชเทวี จะเสด็จมา
ทรงวางพวงมาลาถวายราชสกั การะในวนั ที่ 25 พฤศจกิ ายน ของทุกปี [93]

พระบรมราชานุสาวรีย์ ณ คา่ ยหลวงบา้ นไร่

ตงั้ อยู่ ณ คา่ ยหลวงบ้านไร่ ตำบลคลองตาคต อำเภอโพธาราม จังหวดั ราชบรุ ี มพี ิธีวางศิลาพระฤกษ์พระ
บรมราชานุสาวรียเ์ มอ่ื วนั ท่ี 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2530 เนื่องจากคา่ ยหลวงบ้านไร่ เคยเป็นคา่ ยฝกึ ซอ้ มรบเสอื ป่า ซึ่ง

34

เปน็ ตันกำเนิดของกจิ การลกู เสอื หม่อมหลวงปนิ่ มาลากุล และทางราชการเหน็ ว่าสถานที่แห่งน้ีมคี วามสำคัญจงึ ได้
สรา้ งพระบรมราชาอนุสาวรียพ์ ระบาทสมเดจ็ พระมงกฏุ เกลา้ เจ้าอยู่หัว ณ บ้านไร่แห่งน้ี[94]

พระบรมราชาอนสุ าวรยี พ์ ระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัว (ค่ายวชริ าวธุ ) จงั หวัดนครศรีธรรมราช

ต้ังอยู่ ภายในคา่ ยวชริ าวธุ กองทัพภาคท่ีสี่ ค่ายทหารแหง่ แรกของภมู ิภาค

พระบรมราชานสุ าวรีย์ ณ เนติบณั ฑิตยสภา

ต้ังอยู่ บริเวณหนา้ อาคารเนตบิ ัณฑติ ยสภา กรุงเทพมหานคร

วชริ าวุธวิทยาลยั

พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกล้าเจ้าอยหู่ วั ทรงพระกรณุ าโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานกำเนดิ โรงเรยี นมหาดเลก็
หลวงขึ้น เมอื่ วนั พฤหัสบดที ี่ 29 ธนั วาคม พ.ศ. 2453 เพื่อโรงเรียนแห่งน้ีเปน็ สถาบันทใ่ี หก้ ารศกึ ษาอย่างแท้จริงแก่
กลุ บุตรชาวไทย และเปน็ เสมอื นพระอารามหลวงประจำรชั กาล และพระราชทานนามโรงเรียนแหง่ นีว้ า่ "โรงเรียน
มหาดเลก็ หลวง"[95] ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจ้าอย่หู ัวไดพ้ ระราชทานนามโรงเรียนใหใ้ หม่ว่า
“วชิราวุธวทิ ยาลัย” เพ่ือเปน็ พระบรมราชานุสรณข์ องพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั พระผู้พระราชทาน
กำเนิดโรงเรียนสบื ตอ่ ไป[96]

พิพิธภณั ฑ์พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ ัว

ตัง้ อยู่บรเิ วณชนั้ 2 และชัน้ 3 อาคารราชวัลลภ ภายในกรมการรกั ษาดินแดน ตรงขา้ มวดั พระเชตพุ นวิมลมงั
คลารามราชวรมหาวหิ าร ถนนเจรญิ กรุง จดั แสดงพระราชประวตั ิ พระราชกรณยี กิจ พระราชนิพนธ์ เครื่องใชส้ ่วน
พระองค์ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั เช่น ชดุ ฉลองพระองค์ พระมาลา รองพระบาท อาวุธตา่ งๆ
ในสมยั นนั้ และประวตั คิ วามเป็นมาของกองกิจการเสือป่าซง่ึ ทรงก่อต้งั และพัฒนามาเป็นนกั ศึกษาวชิ าทหารรกั ษา
ดนิ แดนในปัจจุบัน[97]

หอวชิราวุธานสุ รณ์

ก่อตัง้ โดย หมอ่ มหลวงป่นิ มาลากุล โดยถวายให้ สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟ้าเพชรรัตนราชสุดา สริ ิ
โสภาพณั ณวดี ทรงรบั เปน็ องคป์ ระธาน สรา้ งขน้ึ เพื่อฉลองวันพระบรมราชสมภพครบ 100 ปขี องพระบาทสมเด็จ
พระมงุ กฎุ เกลา้ เจ้าอย่หู วั ในวนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2524 ตั้งอยูใ่ นบรเิ วณหอสมุดแห่งชาติ ถนนสามเสน
กรงุ เทพมหานคร เป็นอาคารทรงไทยขนาดใหญ่ อยทู่ ิศเหนอื ของอาคารหอสมดุ แห่งชาติ ชดิ กับรวั้ บรเิ วณทา่ สกุ รีซึ่ง
เคยเป็นทีป่ ระทับแรม ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ ัวหลายครง้ั หลายหน สมเดจ็ พระเจา้ ภคินเี ธอ เจ้า
ฟา้ เพชรรตั นราชสุดา สิริโสภาพณั ณวดี ทรงประกอบพธิ ีวางศิลาพระฤกษ์ในวนั คลา้ ยวนั พระบรมราชสมภพ ครบ 8
รอบ เมือ่ วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2520[98]

35

สถานทีอ่ นั เนื่องด้วยพระนาม
• อาคารมหาวชิราวุธ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
• อาคารมหาวชริ าวุธ วชริ พยาบาล
• อาคารเทพวารวดี คณะนติ ิศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
• อาคารวชิรมงกุฎ คณะอกั ษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศลิ ปากร
• อาคารวชิรมงกฎุ วชริ าวธุ วทิ ยาลยั
• ประตูอศั วพาหุ วชริ าวุธวทิ ยาลยั
• ประตูเยาวราช วัดพระมหาธาตวุ รมหาวหิ าร จังหวัดนครศรธี รรมราช ตัง้ ตามพระอศิ ริยศในขณะน้นั สมเด็จ
พระบรมโอสาธริ าชฯ ทั้งสร้างถวายพระบรมธาตนุ ครศรีธรรมราช (พระเยาวราช พระยพุ ราช )
• สวนร่นื ฤดี สถานท่ปี ลูกพลับพลาที่ประทับ ครั้นเสด็จมาก่อต้งั และเปิดค่ายวชิราวุธ จังหวัดนครศรธี รรมราช

พระบรมราชอิสรยิ ยศและพระเกียรติยศ

ธรรมเนยี มพระยศของ
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจ้าอยหู่ วั

ธงประจำพระอสิ ริยยศ

36

ตราประจำพระองค์
การทลู ใต้ฝา่ ละอองธลุ พี ระบาท
การแทนตน ขา้ พระพุทธเจ้า
การขานรบั พระพุทธเจ้าข้าขอรบั /เพคะ

ตราสัญลกั ษณพ์ ระปรมาภิไธยยอ่ รร.6

พระบรมราชอิสรยิ ยศ

• สมเดจ็ พระเจา้ ลูกยาเธอ เจ้าฟา้ มหาวชิราวุธ (1 มกราคม พ.ศ. 2424 - 14 มนี าคม พ.ศ. 2431)
• สมเด็จพระเจ้าลกู ยาเธอ เจ้าฟ้ามหาวชริ าวุธ กรมขุนเทพทวาราวดี (14 มนี าคม พ.ศ. 2431 - 4

มกราคม พ.ศ. 2438)
• สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจา้ ฟา้ มหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมาร (4 มกราคม พ.ศ. 2438 - 23

ตลุ าคม พ.ศ. 2453)
• สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชผูท้ รงสำเรจ็ ราชการแผน่ ดนิ (23 ตลุ าคม พ.ศ. 2453 – 25 ตลุ าคม พ.ศ.

2453)
• สมเด็จพระเจา้ อย่หู ัว (25 ตุลาคม พ.ศ. 2453 – 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2453)
• พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาวชิราวุธ พระมงกฏุ เกล้าเจ้าอยูห่ วั (11 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2453 – 11

พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2459)

37

• พระบาทสมเด็จพระรามาธบิ ดีศรสี ินทรมหาวชริ าวธุ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั (11 พฤศจิกายน พ.ศ.
2459 – 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468)

พระราชลญั จกรประจำพระองค์

พระราชลญั จกรประจำรชั กาลที่ 6
พระราชลญั จกรประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจา้ อย่หู ัว ได้แก่ พระวชริ ะ ซ่งึ มาจากพระ

บรมนามาภิไธยก่อนทรงราชย์ น่ันคือ "มหาวชิราวธุ " ซ่งึ หมายถงึ สายฟ้าอนั เป็นศาตราวุธของพระอนิ ทร์ พระราช
ลัญจกรพระวชริ ะนัน้ เปน็ ตรางา รปู รี กว้าง 5.5 ซ.ม. ยาว 6.8 ซ.ม. มรี ปู วชริ าวุธเปล่งรศั มีท่ียอด ประดษิ ฐานบน
พานแว่นฟา้ 2 ชัน้ มีฉัตรบรวิ ารตง้ั ขนาบทั้ง 2 ขา้ ง[99]
พระพุทธรปู ประจำพระองค์
พระพุทธรูปประจำพระชนมวาร รัชกาลที่ 6
พระพุทธรปู ประจำรัชกาลท่ี 6

• พระพทุ ธรปู ประจำพระชนมวาร เป็นพระพุทธรปู ปางนาคปรก 7 เศยี ร ประทับใต้ตน้ จกิ สร้างเมอ่ื ปี พ.ศ.
2453 สร้างดว้ ย ทองคำลงยาประดับอัญมณี ความสูงถึงยอดตน้ จกิ 20.70 เซนตเิ มตร ประดษิ ฐาน ณ.หอ
พระ วมิ านองคข์ วา พระทน่ี งั่ จกั รมี หาปราสาท[100]

• พระพุทธรปู ประจำรชั กาล สร้างราว พ.ศ. 2468-2475 หน้าตักกวา้ ง 7.5 ซ.ม. สูงเฉพาะองคพ์ ระ 12 ซ.ม.
สงู รวมฉตั ร 39 ซ.ม. สรา้ งด้วยทองคำ ภายใต้ฉตั รปรทุ อง 3 ชน้ั

เครอ่ื งราชอสิ รยิ าภรณไ์ ทย

• เครอื่ งขัตติยราชอิสรยิ าภรณอ์ ันมีเกียรติคุณรงุ่ เรอื งยงิ่ มหาจักรีบรมราชวงศ์
• เครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์อนั เปน็ โบราณมงคลนพรตั นราชวราภรณ์
• เครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์จลุ จอมเกล้า ชัน้ ท่ี 1 ปฐมจลุ จอมเกล้าวเิ ศษ
• เครื่องราชอสิ ริยาภรณ์รตั นวราภรณ์
• เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณอ์ ันมศี กั ดิ์รามาธิบดี ชนั้ ที่ 1 (เสนางคะบดี)

38

• เครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์อนั เป็นที่เชิดชูย่งิ ชา้ งเผือก ช้นั มหาปรมาภรณ์ (ม.ป.ช.)
• เครื่องราชอิสริยาภรณ์อนั มีเกยี รติยศยง่ิ มงกุฎไทย ชัน้ มหาวชริ มงกฎุ (ม.ว.ม.)
• เครอ่ื งราชอิสริยาภรณ์วัลลภาภรณ์
• เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์วชริ มาลา
• เหรยี ญราชนยิ ม
• เหรยี ญงานพระราชสงครามยุโรป
• เหรียญดุษฎีมาลา เข็มราชการแผ่นดิน (ร.ด.ม.(ผ))
• เหรียญดษุ ฎมี าลา เขม็ ศิลปวิทยา (ร.ด.ม.(ศ))[101]
• เหรยี ญจักรมาลา (ร.จ.ม.)
• เหรียญรตั นาภรณ์ รชั กาลท่ี 5 ช้นั ที่ 1
• เหรยี ญรัตนาภรณ์ รัชกาลที่ 6 ชัน้ ท่ี 1
• เหรียญราชรุจิ รัชกาลที่ 6
• เหรยี ญบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 6
• เหรยี ญชัย
เคร่ืองราชอสิ รยิ าภรณ์ต่างประเทศ

• เครื่องราชอสิ รยิ าภรณ์วกิ ตอเรยี ช้นั แกรนด์ครอส (GCVO)[102]
• เครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณก์ ารรับสาร[103]
• เครอื่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ขนแกะทองคำ ชนั้ อศั วิน[104]
• เคร่ืองอิสรยิ าภรณเ์ ลฌียงดอเนอร์ ช้นั อัศวิน[105]
• เครื่องราชอสิ ริยาภรณน์ กอนิ ทรีดำ[106]
พระยศทหารและกองเสือปา่

• พ.ศ. 2454: จอมพล จอมพลเรือ นายกองใหญแ่ ห่งกองเสอื ปา่ [107][108][109][110][111]
พระราชสมัญญานาม

• พระบิดาแหง่ การลูกเสือไทย
• พระบิดาแห่งฟตุ บอลไทย

39

บทที่ 3 วธิ ีการประเมนิ ผลโครงการ

การดำเนนิ งานในโครงการค่ายลกู เสือวสิ ามัญ กศน.อำเภอเมืองนครราชสมี า ระหว่างวันที่ 29 กมุ ภาพันธ์
– 2 มีนาคม 2563 ณ ณ ค่ายลกู เสอื โกล์เดน้ แลนด์ รีสอร์ท ตำบลไชยมงคล อำเภอเมอื งนครราชสีมา
จงั หวดั นครราชสีมา ไดด้ ำเนินการโครงการ ฯ มีผเู้ ข้าร่วมโครงการจำนวน 100 คน

ขนั้ ตอนการดำเนินงาน
1. สำรวจความต้องการและเสนอโครงการเพ่อื อนมุ ตั ิ

- แตง่ ตัง้ คณะทำงาน
2. ประชมุ เพื่อวางแผนเตรยี มบุคลากร/วิทยากร
3. ดำเนินโครงการโดยวิทยากรใหค้ วามรู้ เรื่องที่ 1 ลูกเสอื กบั การพฒั นา เร่ืองท่ี 2 การลูกเสอื ไทย เร่ืองที่ 3
การลกู เสอื โลก เรอื่ งที่ 4 คุณธรรม จริยธรรมของลกู เสือ เรอื่ งท่ี 5 ความปลอดภัยในการเขา้ รว่ มกจิ กรรม
ลูกเสือ เรอ่ื งที่ 6 การปฐมพยาบาล เร่ืองที่ 7 การเดนิ ทางไกล เรือ่ งท่ี 8 อยคู่ า่ ยพกั แรม และชีวิตชาวคา่ ย
4. ดำเนนิ การวัดผล/ประเมินผล
5. กำกบั นเิ ทศ/ติดตามผลการดำเนนิ งาน
6. สรุป/รายงาน
7. ประเมนิ ผล เครื่องมือท่ใี ช้ในการเก็บขอ้ มลู ใชเ้ ป็นแบบประเมนิ ผล คือ

ตอนที่ 1 ข้อมูลสว่ นตวั
ตอนท่ี 2 ระดับความพงึ พอใจในด้านต่าง ๆ
ตอนท่ี 3 ขอ้ เสนอแนะ

8. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล จากผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม

9 . การวิเคราะหข์ ้อมูล
การสรุปผลการจัดกจิ กรรมในครง้ั นไ้ี ด้นำขอ้ มลู ที่ไดม้ าแจงเปน็ ค่ารอ้ ยละ

โดยแยกแยะวเิ คราะห์แตล่ ะขัน้ ตอนของแบบสอบถาม ซ่งึ สรปุ เปน็ ขอ้ ในบทที่ 4 การวิเคราะห์ข้อมูล สถิติที่ใช้
ในการวิเคราะห์ข้อมลู สถิติทีใ่ ชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูลเปน็ รอ้ ยละ (Percentage) ในการวิเคราะหท์ ุก ๆ ด้าน

10. ผลท่คี าดว่าจะได้รบั
ประชาชน ตำบลบา้ นโพธ์ิ, ตำบลตลาด, ตำบลมะเริง, ตำบลสีมมุ , ตำบลพลกรงั , ตำบลพุดซา และ

ตำบลบ้านใหม่ มีความร้เู รือ่ งเกยี่ วกบั ภมู ิปัญญาในท้องถ่ินและร้จู กั ใช้ภูมปิ ญั ญาในการถ่ายทอดการประกอบอาชีพ
รวมถงึ การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารด้วยระบบออนไลนเ์ พอ่ื การประชาสมั พันธ์อาชีพ

40

บทที่ 4
ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู

การดำเนนิ งานในโครงการค่ายลูกเสือวสิ ามญั กศน.อำเภอเมืองนครราชสมี า ระหว่างวนั ท่ี 29 กุมภาพันธ์
– 2 มนี าคม 2563 ณ ณ ค่ายลกู เสอื โกล์เดน้ แลนด์ รีสอร์ท ตำบลไชยมงคล อำเภอเมืองนครราชสีมา
จงั หวัดนครราชสีมา ไดด้ ำเนนิ การโครงการ ฯ มผี เู้ ข้าร่วมโครงการจำนวน 100 คน

วัตถปุ ระสงคก์ ารประเมนิ
เพ่ือสอบถามความพงึ พอใจในการทำกิจกรรมโครงการเพื่อนำข้อมูลทีไ่ ด้รับไปใชว้ างแผนงาน

ปรบั ปรุงการดำเนินโครงการในโอกาสตอ่ ไป

วิธกี ารประเมนิ
ใช้แบบสอบถามความคิดเห็นและความพงึ พอใจของผู้เข้ารว่ มโครงการที่มตี ่อการจัดกระบวนการเรียนร

โครงการอบรมและศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาสงั คมและชุมชนสเู่ มืองแห่งการเรยี นรู้ซึง่ มลี กั ษณะเป็นแบบมาตราสว่ น

ประมาณคา่ โดยมเี กณฑ์การให้ผู้ตอบพิจารณา ดงั น้ี

มากท่สี ดุ หมายถึงระดบั คะแนน 5 คะแนน

มาก หมายถงึ ระดบั คะแนน 4 คะแนน

ปานกลาง หมายถึงระดับคะแนน 3 คะแนน

น้อย หมายถึงระดับคะแนน 2 คะแนน

น้อยทสี่ ุด หมายถงึ ระดบั คะแนน 1 คะแนน

แจกแบบสอบถามใหแ้ ก่ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมโครงการ จำนวน 98 คน

รวบรวมขอ้ มลู และวเิ คราะห์โดยใช้สถติ ิคา่ เฉลีย่ ( X ) และค่ารอ้ ยละ (Percentage)

เกณฑ์ทใี่ ช้ในการแปรผลคา่ เฉล่ยี (X) เปน็ ดงั นี้

4.50 – 5.00 หมายถึง ดีมากทสี่ ุด/เหมาะสมมากท่ีสดุ

3.50 – 4.49 หมายถึง ดีมาก/เหมาะสมมาก

2.50 – 3.49 หมายถงึ ปานกลาง

1.50 – 2.49 หมายถงึ พอใช้

1.00 – 1.49 หมายถึง ตอ้ งปรบั ปรุง

5. สรุปผลการวิเคราะหแ์ ละจัดทำรายงาน

41

ผลการวิเคราะห์
การสำรวจความพึงพอใจของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการขอ้ มูลจากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 100 คน
สถติ ิท่ีใช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

ผู้ประเมนิ ไดน้ ำขอ้ มูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉล่ีย (ˉx ) ค่าส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน
(S.D.)
1) คา่ เฉลยี่ (Mean) หรอื เรยี กว่าค่ากลางเลขคณติ ค่าเฉล่ีย คา่ มชั ฌิมเลขคณิต เปน็ ต้น

X = x
n

เมอื่ X แทน คา่ เฉลีย่
X แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดของกลุม่
n แทน จำนวนของคะแนนในกลุ่ม

2) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เป็นการวดั การกระจายที่นยิ มใช้กนั มากเขียนแทนด้วย S.D.

S.D. = (X - X)2
n–1

หรือ
S.D. = nX2 - (X)2
n(n – 1)

เม่ือ S.D. แทน ค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน
X แทน ค่าคะแนน
n แทน จำนวนคะแนนในแตล่ ะกลุ่ม
 แทน ผลรวม

42

วเิ คราะหผ์ ลดงั ตารางตอ่ ไปนี้ รอ้ ยละ
35.00
ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป ของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน 100 คน 65.00
ตารางที่ 1 ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม จำแนกตามเพศ 100

เพศ จำนวน ( คน )
หญงิ 35
ชาย 65
รวม 100

จากตารางท่ี 1 แสดงว่าผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรม เปน็ ผู้หญิง จำนวน 35 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 35.00 เปน็ ชาย
จำนวน 65 คน คดิ เป็นร้อยละ 65.00

ตารางท่ี 2 ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมจำแนกตามอายุ

อายุ จำนวน ( คน ) รอ้ ยละ
15 – 39 ปี 99 99.00
40 – 59 ปี 1 1.00
60 ปี ขน้ึ ไป 0 0.00
100 100
รวม

จากตารางท่ี 2 แสดงวา่ ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมส่วนใหญ่มอี ายุ 15 - 39 ปี จำนวน 39 คน
คิดเป็นรอ้ ย 99.00 รองลงมาอายุระหว่าง 40-59 ปี จำนวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1.00

ตารางที่ 3 ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมจำแนกตามระดบั การศึกษา

ระดบั การศกึ ษา จำนวน ( คน ) ร้อยละ
ต่ำกวา่ ประถมศึกษา - -
ประถมศึกษา 2
ม.ตน้ 58 2.00
ม.ปลาย 40 58.00
100 40.00
รวม 100

43

จากตารางที่ 3 แสดงวา่ ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรมสว่ นใหญ่มีการศกึ ษาระดบั ม.ตน้ จำนวน 58 คน คิดเปน็ รอ้ ย
ละ 58.00 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 40 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 40.00 ระดับประถมศึกษา จำนวน 2 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 2.00 ตามลำดับ

ตารางที่ 2 แสดงจำนวนความคิดเหน็ ของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการขอ้ มลู จากผูต้ อบแบบสอบถาม จำนวน
100 คน

ระดบั ความคิดเห็น (รอ้ ยละ)

รายการประเมิน มาก มาก ปาน น้อย น้อย

ทสี่ ุด กลาง ทีส่ ุด

ดา้ นหลกั สตู ร

1. หลกั สูตรสอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของผู้เข้ารว่ มโครงการ 62.22 32.78 5.00 -

2. เนื้อหาหลกั สูตรตรงกบั ความตอ้ งการของผู้เขา้ รว่ มโครงการ 68.56 31.44 - -

3. หลกั สูตรส่งเสริมให้ผเู้ ข้าร่วมโครงการทำเปน็ คิดเปน็ แกป้ ัญหาเป็น 57.22 33.58 9.20 -

ดา้ นการจดั กจิ กรรมหรอื การเรียนรู้

4. เวลาในการจัดกจิ กรรมมคี วามเหมาะสม 65.80 22.10 12.10 -

5. กจิ กรรมสง่ เสรมิ ให้ผู้เข้าร่วมโครงการไดร้ บั ความรแู้ ละนำไปปฏบิ ัตไิ ด้ 47.23 40.52 12.25 -

ด้านวิทยากร

6. วทิ ยากรมคี วามรูค้ วามชำนาญในเร่อื งทีพ่ ูด 57.42 40.05 2.53 -

7. วิทยากรมกี ารเตรยี มตวั กอ่ น 59.53 32.23 8.24 -

8. การถ่ายทอดความร้ขู องวิทยากรมีความชัดเจนและเข้าใจงา่ ย 41.67 29.69 2.86 -

ด้านสอื่ และวสั ดอุ ปุ กรณ์

9. สอ่ื และวัสดอุ ุปกรณม์ คี วามทนั สมยั 61.32 32.49 6.19 -

10. สอื่ และวัสดุอุปกรณ์มจี ำนวนเพยี งพอกบั ผู้เข้าร่วมโครงการ 57.13 39.02 3.85 -

11. สถานที่มีความเหมาะสมในการจดั กิจกรรม 62.23 34.21 3.06 -

จากตารางท่ี 2 ผลการวิเคราะห์การแสดงความคิดเหน็ ของผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมสว่ นใหญ่ ความคิดเห็นสว่ น
ใหญ่ของนกั ศึกษา ทีม่ ตี ่อการจัดโครงการ อยูใ่ นระดับปานกลาง ซง่ึ สามารถจัดลำดับตามคะแนนทไ่ี ด้ดังน้ี (ตาม
ระดบั ความคดิ เหน็ มากทสี่ ดุ ของแต่ละข้อ)

44

1. คะแนน อันดบั ท่ี 1 คอื เนือ้ หาหลกั สตู รตรงกับความตอ้ งการของเขา้ ร่วมโครงการ
2. คะแนน อนั ดับที่ 2 คอื เวลาในการจดั กิจกรรมมีความเหมาะสม
3. คะแนน อนั ดับที่ 3 คือ สถานทีม่ ีความเหมาะสมในการจดั กิจกรรม
4. คะแนน อันดบั ท่ี 4 คอื หลักสูตรสอดคล้องกับความตอ้ งการของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ
5. คะแนน อนั ดับที่ 5 คอื ส่อื และวสั ดุอปุ กรณม์ ีความทันสมัย
6. คะแนน อันดับที่ 6 คือ วทิ ยากรมีการเตรยี มตวั ก่อน
7. คะแนน อนั ดับที่ 7 คือ วิทยากรมีความร้คู วามชำนาญในเรอื่ งทพี่ ดู
8. คะแนน อันดับท่ี 8 คือ หลักสตู รสง่ เสรมิ ให้ผู้เขา้ ร่วมโครงการ ทำเป็น คดิ เปน็ แก้ปญั หา

9. คะแนน อันดับท่ี 9 เป็น
10. คะแนน อนั ดบั ที่ 10 คอื สื่อและวสั ดอุ ปุ กรณ์มีจำนวนเพียงพอกบั ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ
คอื กิจกรรมส่งเสรมิ ให้ผู้เข้ารว่ มโครงการไดร้ ับความร้แู ละนำไป
11. คะแนน อันดบั ที่ 11
ปฏิบัติได้
คือ การถ่ายทอดความรู้ของวทิ ยากรมคี วามชัดเจนและเขา้ ใจงา่ ย

45

บทท่ี 5

สรปุ ผลการประเมนิ และขอ้ เสนอแนะ

การดำเนนิ งานในโครงการคา่ ยลูกเสอื วสิ ามญั กศน.อำเภอเมอื งนครราชสีมา ระหวา่ งวันท่ี 29 กมุ ภาพนั ธ์
– 2 มนี าคม 2563 ณ ณ ค่ายลกู เสือโกล์เดน้ แลนด์ รีสอรท์ ตำบลไชยมงคล อำเภอเมืองนครราชสีมา
จงั หวัดนครราชสีมา ไดด้ ำเนินการโครงการ ฯ มีผู้เขา้ ร่วมโครงการจำนวน 100 คน

มีวัตถุประสงค์ เพ่อื ให้ผูเ้ รียนมคี วามรู้เรื่องเกยี่ วกบั วิชาลกู เสือ และกิจการลูกเสือไทย ลกู เสือโลก รวมท้ัง
กจิ กรรมที่เกย่ี วกับลกู เสือ สามารถนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ กลุ่มเปา้ หมายนกั ศึกษา กศน.อำเภอเมือง
นครราชสมี า ผู้เข้ารว่ มกจิ กรรม จำนวน 100 คน เคร่ืองมอื ท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล คือแบบประเมนิ ความพึง
พอใจ และใช้วธิ ีคิดวเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยการหาค่าร้อยละ ผลจากการประเมนิ ความพงึ พอใจต่อการจัดการจดั
กจิ กรรม ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมมีความพงึ พอใจในรูปแบบกจิ กรรมมคี วามเหมาะสมกบั กลุ่มเป้าหมาย เนือ้ หา
สอดคลอ้ งกับสภาพปญั หาและความต้องการของกลุม่ เนื้อหามีความทันสมัยตรงตามสภาพของสังคมปจั จบุ ัน
กจิ กรรมส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียน คิดเปน็ ทำเป็น แก้ปัญหาเปน็ กจิ กรรมส่งเสรมิ ให้ผู้เรียน มคี วามสนุ ทรีย์
(นันทนาการ) กจิ กรรมเป็นไปตามลำดับขั้นตอน วิทยากรมคี วามรู้ความชำนาญในการจดั กจิ กรรม การถ่ายทอด
ความรู้ของวิทยากรเข้าใจง่าย วทิ ยากร มีการใช้สือ่ ทีห่ ลากหลาย สถานทจี่ ัดกจิ กรรมมีบรรยากาศทเ่ี ออ้ื ตอ่ การ
เรียนรู้ ความเหมาะสมของเวลาในการจัดกจิ กรรม ความรูท้ ไ่ี ดร้ บั มีประโยชน์สำหรบั นำไปใช้ในชีวิตประจำวันการ
อำนวยความสะดวก/การให้บริการของครู กระบวนการจัดกจิ กรรมตรงกบั วัตถปุ ระสงคโ์ ครงการเวลาและสถานท่ี
สำหรบั การให้บริการมคี วามเหมาะสมได้รบั ความร้หู รอื ประโยชน์จากกระบวนการจัดกิจกรรมทุกขน้ั ตอนสามารถ
นำความรจู้ ากการเข้าร่วมกจิ กรรมไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวันได้ และวิทยากรให้คำแนะนำ และวิธีแกป้ ัญหาไดถ้ ูกต้อง
อยใู่ นระดับดมี าก

ขอ้ เสนอแนะสำหรับการนำผลการประเมนิ ไปใช้
- กิจกรรมนีท้ ำให้เรียนรู้การอยรู่ ว่ มกนั ด้วยความสามคั คี
- ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมมีความรเู้ ก่ยี วกบั ลกู เสอื วสิ ามัญ
- จะนำผลการประเมนิ ที่ไดจ้ ากการประเมินไปพัฒนาโครงการในคราวตอ่ ไป

46

ภาคผนวก

47

ภาพกจิ กรรม


Click to View FlipBook Version