1
2
คำนำ
โครงการค่ายวิชาการภาษาไทย และทักษะการเรียนรู้ ณ กศน.ตำบลหนองระเวยี ง ตำบลหนอง
ระเวยี ง อำเภอเมือง จงั หวัดนครราชสีมา วันที่ ๑๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๑ มวี ตั ถุประสงค์ เพ่อื ใหน้ ักศึกษา
กศน.อำเภอเมืองนครราชสมี า มีความรู้ ความเข้าใจและทกั ษะการเรียนรู้ หลักการฟัง,การพูด,การอ่าน,การ
เขยี นภาษาไทยได้อยา่ งถกู ต้อง
ตามที่รัฐบาลมีนโยบายด้านการศึกษา เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาและกระจายโอกาสทาง
การศึกษาในสังคมไทย โดยคำนึงถึงการสร้างความเสมอภาค ความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่ประชากรทุกกลุ่ม
รวมถึงผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องทางกาย/ทางการเรียนรู้ ชนกลุ่มน้อย โดยสนับสนุนการจัด
การศึกษาตามวัยและพัฒนาการอย่างมีคุณภาพตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการจัด
การศึกษาชุมชนเพื่อมุ่งให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้และการศึกษาตลอดชีวิตนั้น สำนักงาน กศน. ได้กำหนด
นโยบายด้านการจัดการศึกษานอกระบบ แผนงานสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสนับสนุนค่าเล่า
เรียน ค่าหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างทั่วถึง เพื่อเพิ่มโอกาสในการรับการศึกษาที่มี
คุณภาพโดยไมเ่ สียค่าใช้จา่ ย โดยเฉพาะกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในกรอบกิจกรรมพฒั นาวิชาการ เป็นการ
จดั กจิ กรรมเพ่อื พฒั นาใหผ้ ู้เรยี นมีพ้ืนฐานความรูเ้ พียงพอกับการศึกษาในแต่ละระดับและพฒั นาผู้เรียนให้มีความรู้
ความสามารถทางด้านวิชาการเพิ่มมากขึ้นในรายวิชาตามหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือวิชาอื่น ๆ ตามความต้องการของนักศึกษา กศน. โดยมีรูปแบบการดำเนินงาน
ดังนี้ วิทยากรหรือผู้สอน ควรเป็นผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ในการสอนวิชานั้น ๆ โดยตรง ซึ่งอาจจะเป็น
บุคคลภายนอกหรือครู กศน. ได้ตามความเหมาะสม สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้กับ
นักศึกษา กศน. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีเจตคติ ค่านิยมที่ถูกต้อง และมีทักษะหรือความสามารถพื้นฐานท่ี
จำเป็นในการเผชิญกับปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิต รวมทั้งมีคุณสมบัติที่พึงประสงค์ในการอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้
อย่างมีความสุข และสามารถนำความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
ดังนั้นเพื่อให้นักศึกษา กศน. มีความรู้ ความเข้าใจรายวชิ าภาษาไทยและทักษะการเรียนรู้ จึงได้จัดโครงการคา่ ย
วิชาการภาษาไทย และทกั ษะการเรียนรู้ ข้ึน
ดังนั้นเพื่อให้นักศึกษา กศน. มีความรู้ ความเข้าใจรายวิชาภาษาไทยและทักษะการเรียนรู้ จึงได้จัด
โครงการค่ายวิชาการภาษาไทย และทกั ษะการเรยี นรู้ ข้นึ
ผู้ดำเนินการทำงาน
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
ตำบลหนองระเวยี งอำเภอเมืองนครราชสีมาจังหวดั นครราชสีมา
สารบัญ 3
บทที่ ๑ บทนำ หนา้
บทที่ ๒ เอกสารท่เี ก่ียวข้อง ๔
บทที่ ๓ วิธกี ารประเมินโครงการ ๖
บทท่ี ๔ ผลการประเมินโครงการ ๓๔
บทที่ ๕ สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ ๓๙
ภาคผนวก ๔๕
- แบบสอบถาม
- แบบทดสอบความรกู้ ่อนเรียนและหลงั เรียน
- เฉลยแบบทดสอบความร้กู ่อนเรียนและหลงั เรยี น
- หนังสือราชการตา่ งๆ
4
บทท่ี ๑
บทนำ
ความเปน็ มาของการประเมินโครงการ
ตามที่รัฐบาลมีนโยบายดา้ นการศึกษา เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาและกระจายโอกาสทาง
การศึกษาในสังคมไทย โดยคำนึงถึงการสร้างความเสมอภาค ความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่ประชากรทุกกลุ่ม
รวมถึงผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องทางกาย/ทางการเรียนรู้ ชนกลุ่มน้อย โดยสนับสนุนการจัด
การศึกษาตามวัยและพัฒนาการอย่างมีคุณภาพตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการจัด
การศึกษาชุมชนเพื่อมุ่งให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้และการศึกษาตลอดชีวิตนั้น สำนักงาน กศน. ได้กำหนด
นโยบายด้านการจัดการศึกษานอกระบบ แผนงานสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสนับสนุนค่าเล่า
เรียน ค่าหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างทั่วถึง เพื่อเพิ่มโอกาสในการรับการศึกษาที่มี
คุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยเฉพาะกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในกรอบกิจกรรมพัฒนาวิชาการ เป็น
การจดั กิจกรรมเพ่ือพฒั นาให้ผ้เู รียนมีพ้ืนฐานความรู้เพียงพอกบั การศึกษาในแตล่ ะระดับและพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความรู้ ความสามารถทางด้านวิชาการเพิ่มมากขึ้นในรายวิชาตามหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ ภาษาไทย
ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรือวิชาอน่ื ๆ ตามความต้องการของนักศึกษา กศน. โดยมีรูปแบบ
การดำเนินงาน ดังนี้ วทิ ยากรหรือผสู้ อน ควรเปน็ ผทู้ ีม่ ีความรหู้ รือประสบการณ์ในการสอนวิชานน้ั ๆ โดยตรง
ซง่ึ อาจจะเป็นบุคคลภายนอกหรือครู กศน. ไดต้ ามความเหมาะสม สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพ
ผู้เรียนให้กับนักศึกษา กศน. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีเจตคติ ค่านิยมที่ถูกต้อง และมีทักษะหรือ
ความสามารถพนื้ ฐานทีจ่ ำเป็นในการเผชญิ กับปัญหาทีเ่ กดิ ขึ้นในชวี ติ รวมท้ังมคี ณุ สมบตั ิที่พึงประสงค์ในการอยู่
ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข และสามารถนำความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปปรับใช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ดังนั้นเพื่อให้นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนครราชสีมา มีความรู้ ความเข้าใจวิชาภาษาไทย ด้าน
หลักการฟัง,การพูด,การอ่าน,การเขียนภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง และการเรียนรู้ด้วยตนเองและการใช้แหล่ง
เรียนรู้ การคดิ เป็นและการทำวิจยั อยา่ งง่าย
๑.วัตถุประสงคข์ องการประเมนิ โครงการ
เพอ่ื ใหน้ กั ศึกษา กศน.อำเภอเมืองนครราชสมี า มีความรู้ ความเขา้ ใจวิชาภาษาไทย หลกั การฟัง,การ
พูด,การอ่าน,การเขียนภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง และการเรียนรู้และการเรียนรูด้ ้วยตนเองและการใช้แหลง่
เรียนรู้ การคิดเป็นและการทำวิจยั อย่างง่าย
๒.กลมุ่ เป้าหมาย
เชงิ ปริมาณ นักศกึ ษา กศน.หนองระเวยี ง จำนวน ๔๐ คน
เชิงคุณภาพ เพ่อื ใหน้ กั ศึกษา กศน.อำเภอเมอื งนครราชสมี า มคี วามรู้ ความเข้าใจวชิ าภาษาไทย
ดา้ นหลักการฟงั ,การพูด,การอา่ น,การเขียนภาษาไทยได้อย่างถกู ต้องและการเรยี นร้ดู ว้ ยตนเองและการใชแ้ หล่ง
เรียนรู้ การคดิ เป็นและการทำวิจยั อย่างงา่ ย
5
๓.วิธีดำเนินการ
๑ ประชุมวางแผนการดำเนนิ งานร่วมกันระหว่างผบู้ ริหารสถานศึกษา ครู ครูอาสาสมคั ร ครู กศน.
ตำบล และเสนอขออนุมตั โิ ครงการ
๒ ประสานงานด้านสถานที่ ส่ืออุปกรณ์ และหลักสตู รเนื้อหา
๓ จัดกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะการเรียนรู้
วนั ท่ี ๑๘ – ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ณ กศน. หนองระเวยี ง อำเภอเมอื งนครราชสีมา จังหวดั นครราชสีมา
๔ ติดตามและประเมินผลกจิ กรรมฯ
๕ สรุปผลและรายผลการจัดกิจกรรมเป็นรูปเลม่ และนำเสนอผบู้ ริหารต่อไป
๔.ระยะเวลาดำเนินการ
วันที่ ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๑
๕.สถานท่ีดำเนนิ การ
ณ กศน. หนองระเวยี ง อำเภอเมืองนครราชสมี า จงั หวดั นครราชสมี า
๖.วิธีประเมินผล
๑ แบบทดสอบกอ่ นและหลังการเรียนรู้
๒ แบบประเมนิ ผลโครงการ
๓ แบบสอบถามความพึงพอใจ
๗.ประโยชนท์ ่ีจะไดร้ ับ
นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอเมอื งนครราชสีมา มีความรู้ ความเข้าใจวิชาภาษาไทย ด้านหลักการฟงั ,การพดู ,
การอา่ น,การเขยี นภาษาไทยไดอ้ ยา่ งถูกต้องและการเรยี นรู้ด้วยตนเองและการใชแ้ หล่งเรียนรู้ การคิดเปน็ และ
การทำวิจยั อยา่ งงา่ ย
๘. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ
นางกรแกว้ แบบกลาง ผอ.กศน.อำเภอเมืองนครราชสีมา ท่ปี รกึ ษา
นางสาวสริ พิ ร จันทร์ศริ ิ ครู กศน.ตำบล กรรมการและเลขานุการ
๙.ดัชนีวดั ผลสำเร็จของโครงการ
๑ ตัวชี้วัดผลผลติ (Output)
ร้อยละ ๘๐ ของนักศึกษาที่เข้ารว่ ม มีความรู้ ความเขา้ ใจวชิ าภาษาไทย ดา้ นหลักการฟงั ,การ
พดู ,การอ่าน,การเขียนภาษาไทยได้อยา่ งถูกต้องและการเรียนรดู้ ว้ ยตนเองและการใชแ้ หล่งเรียนรู้ การคิดเป็น
และการทำวจิ ยั อย่างง่าย
๒.ตัวชวี้ ดั ผลลัพธ์ (outcome)
นกั ศึกษา กศน.อำเภอเมืองนครราชสีมา มีความรู้ ความเข้าใจวชิ าภาษาไทย ด้านหลกั การฟัง
,
การพูด,การอา่ น,การเขยี นภาษาไทยได้อยา่ งถูกต้องและการเรียนรดู้ ้วยตนเองและการใช้แหล่งเรียนรู้ การคิด
เป็นและการทำวจิ ยั อย่างง่าย
6
บทท่ี ๒
เอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง
ตามที่รัฐบาลมีนโยบายด้านการศึกษา เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาและกระจายโอกาสทาง
การศึกษาในสังคมไทย โดยคำนึงถึงการสร้างความเสมอภาค ความเป็นธรรมให้เกิดขึ้นแก่ประชากรทุกกลุ่ม
รวมถึงผู้ยากไร้ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ ผู้บกพร่องทางกาย/ทางการเรียนรู้ ชนกลุ่มน้อย โดยสนับสนุนการจัด
การศึกษาตามวัยและพัฒนาการอย่างมีคุณภาพตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน และการจัด
การศึกษาชุมชนเพื่อมุ่งให้เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้และการศึกษาตลอดชีวิตนั้น สำนักงาน กศน. ได้กำหนด
นโยบายด้านการจัดการศึกษานอกระบบ แผนงานสนับสนุนการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสนับสนุนค่าเล่า
เรียน ค่าหนังสือเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างทั่วถึง เพื่อเพิ่มโอกาสในการรับการศึกษาที่มี
คุณภาพโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย โดยเฉพาะกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ในกรอบกิจกรรมพัฒนาวิชาการ เป็น
การจัดกิจกรรมเพื่อพฒั นาใหผ้ ู้เรียนมีพ้ืนฐานความรู้เพียงพอกับการศึกษาในแตล่ ะระดับและพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความรู้ ความสามารถทางด้านวิชาการเพิ่มมากขึ้นในรายวิชาตามหลักสูตรสถานศึกษา ได้แก่ ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ หรอื วิชาอน่ื ๆ ตามความต้องการของนักศึกษา กศน. โดยมีรูปแบบ
การดำเนินงาน ดังน้ี วิทยากรหรอื ผูส้ อน ควรเปน็ ผู้ที่มีความรู้หรือประสบการณ์ในการสอนวิชาน้ัน ๆ โดยตรง
ซึง่ อาจจะเปน็ บคุ คลภายนอกหรือครู กศน. ไดต้ ามความเหมาะสม สถานศกึ ษาตอ้ งจัดกิจกรรมพฒั นาคุณภาพ
ผู้เรียนให้กับนักศึกษา กศน. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ มีเจตคติ ค่านิยมที่ถูกต้อง และมีทักษะหรือ
ความสามารถพน้ื ฐานทจ่ี ำเป็นในการเผชญิ กบั ปัญหาทีเ่ กิดข้นึ ในชีวติ รวมทั้งมคี ุณสมบตั ทิ ่ีพงึ ประสงค์ในการอยู่
ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข และสามารถนำความรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรมไปปรับใช้ใน
ชวี ติ ประจำวันไดอ้ ย่างเหมาะสม
ดังนั้นเพื่อให้นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนครราชสีมา มีความรู้ ความเข้าใจวิชาภาษาไทย ด้าน
หลักการฟัง,การพูด,การอ่าน,การเขียนภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง และการเรียนรู้ด้วยตนเองและการใช้แหล่ง
เรียนรู้ การคิดเป็นและการทำวิจัยอยา่ งงา่ ย
มนุษย์จำเป็นต้องมีการติดต่อสื่อสารซึ่งกันและกัน เพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึกให้ผู้อื่น
รบั รู้ ทกั ษะหนึง่ ทีใ่ ช้ในการสื่อสาร คือ การพดู ซ่งึ มคี วามสำคญั ต่อการดำเนินชวี ติ และสร้างความสัมพันธ์อันดี
ต่อกัน จึงจำเป็นตอ้ งอาศยั จรรยามารยาท และคณุ ธรรมในการพูด การพูดโดยมีจรรยามารยาทและคณุ ธรรมใน
การพูด จึงเป็นการจรรโลงสังคมได้อีกทางหนึ่ง มารยาทในการพูด หมายถึง ผู้พูดที่มีกิริยาวาจาเรียบร้อย
ท่าทางสง่างาม อ่อนโยนสุภาพ หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส ไมใช้ท่าทางประกอบคำพูดให้มากจนเกินไป ย่อมช่วย
เสริมสร้างใหผ้ ูฟ้ ังเกดิ ความเช่ือถอื เลือ่ มใสผพู้ ูดได้เป็นอนั มา
การพูด เป็นการสื่อสารของมนุษย์โดยใช้ปากและกล่องเสียงเพื่อเปล่งเสียงออกมา เพื่อใช้ในการ
ส่อื สารระหว่างบคุ คล โดยอาศัย ภาษา เป็นตวั สอ่ื ความหมายของสง่ิ ที่พูด การพูดเปน็ ความสามารถเฉพาะของ
มนุษย์ แต่ก็มีสัตว์บางประเภทสามารถเลยี นเสียงพูดของมนษุ ย์ได้ เช่น นกแก้ว ผู้ที่พูดไม่ไดเ้ รียกว่าเป็น คนใบ้
7
การพดู มหี ลายรปู แบบ เชน่ การพูดระหวา่ งบุคคล การพดู ในกลมุ่ การพดู ในที่ชมุ ชน บคุ คลทม่ี ีทกั ษะในการพูด
สร้างแรงจูงใจให้บคุ คลอน่ื ได้ ก็สามารถจัด ทอล์กโชว์ (talk Show) สรา้ งเป็นอาชีพนกั วิชาการ ด้านการพูดได้
การพูด มคี วามสำคญั ต่อชวี ติ มนษุ ยเ์ ปน็ อนั มาก ไม่วา่ จะอยู่ ณ ทใ่ี ด ประกอบกิจการงานใด
หรือคบหาสมาคมกบั ผใู้ ด กต็ ้องสื่อสารดว้ ยการพดู เสมอ จึงมักพบว่า ผูท้ ่ปี ระสบความสำเรจ็ ในกิจธรุ ะการ
งาน การคบหาสมาคมกบั ผู้อื่น ตลอดจนการทำประโยชน์แก่สังคมส่วนรวม ลว้ นแต่เป็นคนทม่ี ปี ระสิทธิภาพ
ในการพูดท้งั ส้นิ สว่ นหน่งึ ของการพูดสามารถสอนและฝกึ ได้ อาจกลา่ วไดว้ า่ การพูดเปน็ " ศาสตร "์ มี
หลักการ และกฎเกณฑ์เพื่อให้ผเู้ รยี นมที ักษะ ถงึ ข้ันเปน็ ที่พอใจอีกสว่ นหนึ่งเป็นความสารถพิเศษหรอื ศิลปะ
เฉพาะตวั ของผ้พู ดู แตล่ ะบุคคล บางคนมคี วามสามารถท่จี ะตรงึ ผู้ฟงั ให้นงิ่ อยู่กับทีจ่ ติ ใจจดจอ่ อยู่กบั การฟงั เร่ือง
ท่ีพูด ผ้พู ดู บางคนสามารถพูดใหค้ นฟังหัวเราะไดต้ ลอดเวลา ศิลปะเฉพาะตัวน้ี เปน็ สง่ิ ท่ลี อกเลียนกนั ได้
ยาก แตอ่ าจพัฒนาขนึ้ ไดใ้ นแต่ละบุคคล ซง่ึ การพูดที่มปี ระสิทธภิ าพเกดิ จากการสงั เกตวธิ กี ารทดี่ ีและมีโอกาส
ฝกึ ฝน
ประเภทของการพดู แบง่ ได้ ๒ ประเภท คือ
๑. การพูดระหว่างบุคคล ไดแ้ ก่
▪ การทักทายปราศยั ลักษณะการทักทายปราศัยที่ดดี ังน้ี
▪ หน้าตาย้ิมแย้มแจม่ ใส แสดงอาการยนิ ดีทไี่ ด้พบผทู้ เ่ี ราทกั ทาย
▪ กล่าวคำปฏิสนั ถารทเ่ี ป็นทยี่ อมรับกนั ในสงั คม เชน่ สวสั ดคี รบั สวสั ดคี ะ่
▪ แสดงกริ ยิ าอาการประกอบคำปฏสิ ันถาร
▪ ข้อความทใี่ ช้ประกอบการทักทายควรเป็นเร่อื งท่ีก่อให้เกดิ ความสบายใจ
▪ การแนะนำตนเอง การแนะนำเป็นสง่ิ จำเป็น และมีความในการดำเนิน
ชีวติ ประจำวนั บุคคลอาจแนะนำตนเองในหลายโอกาสดว้ ยกัน การแนะนำตนเองมี
หลกั ปฏิบตั ดิ ังน้คี ือ ต้องบอกช่ือ นามสกลุ บอกรายละเอยี ดกบั ตัวเราและบอก
วัตถุประสงค์ในการแนะนำตัว
▪ การสนทนา หมายถึง การพดู คุยกนั พดู จาเพ่อื นส่ือสารแลกเปล่ียน
ความรู้ ความคิด ความรสู้ ึก และประสบการณ์ การรบั สารท่ีง่ายที่สุด คอื
การสนทนา
▪ คณุ สมบัตขิ องการสนทนาทีด่ ี คอื
▪ หนา้ ตายิม้ แย้มแจ่มใส
▪ ใช้ถอ้ ยคำสำนวนภาษาที่ง่าย ๆ สุภาพคำพูดและน้ำเสียงน่าฟัง เปน็ กนั เองกับคู่
สนทนา
๒. การพูดในกลุ่ม
การพดู ในกลมุ่ เปน็ กจิ กรรมทส่ี ำคญั ในสมัยปัจจบุ ัน ทั้งในชวี ติ
ประจำวนั และในการศึกษาเป็นเปิดโอกาสใหส้ มาชิกในกลุ่มไดซ้ ักถาม แสดงความคิดเห็น หรอื เกย่ี วกับ
เหตุการณท์ เ่ี กิดข้ึนแลว้ มาเล่าใหฟ้ ังกัน มวี ิธกี ารดังตอ่ ไปน้ี
8
▪ เล่าถงึ เนอื้ หาและประเด็นประเดน็ สำคญั ๆ ว่ามีอะไรบา้ ง
▪ ภาษาท่ีใช้ควรเป็นภาษาท่ีงา่ ย
▪ นำ้ เสยี งชัดเจนนา่ ฟงั เน้นเสียงในตอนที่สำคญั
▪ ใชก้ ิริยาทา่ ทางประกอบการเล่าเรอื่ งตามความเหมาะสม
▪ ผเู้ ลา่ เรือ่ ควรจำเรื่องไดเปน็ อย่างดี
▪ มกี ารสรุปข้อคิดในตอนทา้ ย
1. ความหมายของการพดู
การพดู เปน็ พฤตกิ รรมการสือ่ สารท่ีใชก้ ันแพรห่ ลายท่ัวไป ผู้พูดสามารถใชท้ ง้ั วจนะภาษาและ
อวจั นะภาษาในการสง่ สารตดิ ต่อไปยังผฟู้ งั ไดช้ ัดเจนและรวดเร็วการพูด หมายถึง การสื่อความหมายของมนุษย์
โดยการใชเ้ สยี ง และกิริยาท่าทางเป็นเคร่ืองถ่ายทอดความรูค้ วามคิด และความรูส้ ึกจากผูพ้ ดู ไปสผู่ ูฟ้ ัง
วาทการ เปน็ คำศัพทห์ นงึ่ ซง่ึ ทางวชิ าการนยิ มใชแ้ ทน การพูด พจนานุกรมราช-บัณฑิตยสถาน (๒๕๑๓:๘๓๑)
ได้ให้ความหมายของคำวา่ “วาท” หมายถึง คำพูด ถ้อยคำ,ลทั ธริ วมกนั เข้าเปน็ วาทการ “วาทการ” หมายถงึ กิจ
พูดหรือกิจเกีย่ วกับถ้อยคำ, งานพูดหรอื งานเกี่ยวกบั ถอ้ ยคำในการสอ่ื สาร การพูด หมายถึง การใชถ้ ้อยคำ
นำ้ เสยี งรวมทง้ั กริ ิยาอาการถา่ ยทอดความรู้ความคดิ และความรู้สึกของผพู้ ูดใหผ้ ฟู้ ังได้รับรู้และเกิดการ
ตอบสนอง ในการติดต่อสือ่ สารดว้ ยการพูด ผพู้ ูดจะต้องระลึกว่าไม่เพยี งแต่พูดเท่านั้นจะต้องรู้จกั พดู ให้ดีดว้ ย
ดงั นัน้ การพูดทีด่ มี ีความหมายดังนี้ การพดู ทด่ี ี คือ การใชถ้ ้อยคำ น้ำเสียงรวมทงั้ กริ ยิ าอาการอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
และถูกตอ้ งตามจรรยามารยาทและประเพณนี ยิ มของสังคม เพือ่ ถ่ายทอดความคดิ ความรู้ ความร้สู ึกและความ
ตอ้ งการ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ ใหไ้ ดร้ ับรแู้ ละเกิดการตอบสนอง สมั ฤทธผิ์ ลตามจดุ มงุ่ หมายของผพู้ ดู มีนักการศึกษา
หลายคนให้ความหมายของการพดู ไว้พอจะสรปุ ได้ ดังน้ี การพดู คือกระบวนการสือ่ สารความคิดจากคนหนง่ึ ไปยัง
อกี คนหนึ่งหรอื กลุม่ หนง่ึ โดยมีภาษานำ้ เสยี งและอากัปกริ ยิ าเปน็ สื่อการพูดคือการแสดงออกถึงอารมณ์และ
ความร้สู กึ โดยใช้ภาษาและเสยี งสื่อความหมายการพดู เปน็ เครอื่ งมือสื่อสารท่ีมีอานภุ าพมากที่สดุ ในโลกการพูด
เป็นสัญลกั ษณ์แห่งความเขา้ ใจระหว่างมนษุ ย์กบั มนษุ ย์
๒. ความสำคญั ของการพูด
การพูดเป็นปัจจยั สำคญั ของกระบวนการสื่อสารของมนุษยม์ าแตส่ มยั โบราณ คนสมยั เกา่ ใช้วิธีพูดดว้ ย
การบอกเล่าต่อๆ กันเพือ่ ประโยชน์ตอ่ การถ่ายทอดความรูใ้ หแ้ ก่ลกู ๆ หลานๆหรือผทู้ ีม่ ีความเก่ียวข้องกับตน
สบื เนอื่ งกันมาไมข่ าดสาย ปจั จบุ นั การพดู ก็ยงิ่ ทวคี วามสำคัญมากขึ้นท้งั นี้เพราะโลกไดม้ ีความเจรญิ กา้ วหนา้
ทางดา้ นเทคโนโลยอี ยา่ งรวดเร็ว เกิดมีนวตั กรรมทางการศกึ ษา ผา่ นสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกสไ์ ด้แก่ วทิ ยุกระจายเสยี ง
วิทยุโทรทศั นภ์ าพยนตร์แถบบนั ทึกเสยี งและภาพ ส่ืออิเลก็ ทรอนิกสเ์ หล่านแี้ พร่หลายอยู่ท่วั ประเทศโดยเฉพาะ
อยา่ งยง่ิ คือ วทิ ยกุ ระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์มสี ่วนชว่ ยให้การส่ือสารทางการพูดให้เป็นประโยชน์ตอ่ ผู้ฟงั
ท้ังในดา้ นการศึกษาและการเรยี นรู้ทุกชนดิ ได้อยา่ งรวดเรว็ อทิ ธิพลของคำพูดสามารถทำใหผ้ ู้พูดประสบ
ความสำเรจ็ ในด้านตา่ งๆมาแลว้ จำนวนมากโดยเฉพาะอาชีพดา้ นการพูด เช่น ครอู าจารย์ พระสงฆ์
นักการเมือง นักประชาสมั พนั ธ์ ฯลฯ
การพดู ดียอ่ มถอื วา่ เป็นคณุ สมบตั เิ ด่นที่จะสรา้ งศรัทธา ความเล่อื มใสใหเ้ กดิ แก่ผฟู้ ังในทาง
9
พระพทุ ธศาสนายกยอ่ งการพูดดีว่า วจสี จุ รติ หรอื มธรุ สวาจา เพราะเปน็ การพดู ในทางสร้างสรรค์ เปน็ การพูด
ของคนฉลาดสามารถให้เกิดประโยชน์แกผ่ ู้พดู และผฟู้ ัง ดังสนุ ทรภู่จินตกวีเอกของไทยได้ประพนั ธ์กล่าวถึง
ความสำคญั ของการพูดไวใ้ นสุภาษิตสอนหญงิ ว่า” เปน็ มนุษยส์ ดุ นยิ มท่ลี มปาก จะได้ยากโหยหิวเพราะชิวหา
แม้นพูดดีมคี นเขาเมตตา จะพูดจาพเิ คราะหใ์ หเ้ หมาะความ”ในนริ าศภเู ขาทอง ทา่ นสนุ ทรภกู่ ็ได้ประพนั ธเ์ น้น
ความสำคญั ของการพูดเอาไว้ตอนหน่ึงวา่ “ ถึงบางพูดพูดดีเป็นศรีศักดิ์ มีคนรกั รสถอ้ ยอร่อยจติ แมน้ พูดชว่ั ตวั
ตายทำลายมิตร จะชอบผิดในมนุษยเ์ พราะพดู จา “
๓. จดุ มุง่ หมายของการพูด
การพูดแตล่ ะครงั้ มจี ุดม่งุ หมายต่างกัน ผู้พดู จะต้องรูจ้ ักจุดมงุ่ หมายทพ่ี ดู ได้อย่างถูกต้องตรงความ
ตอ้ งการของผูฟ้ ังมนี ักพูดบางท่านเวลาพูดในโอกาสตา่ งๆ ไม่เขา้ ใจไมร่ ้ซู ้ึงถงึ ความมุง่ หมายที่เขาต้องการให้พูด
แตก่ ลบั ไปพดู นอกเร่ืองที่ไมต่ รงกับจดุ มงุ่ หมายทวี่ างไว้ ก็เป็นผลทำให้ผ้ฟู งั เกิดความเบ่ือหน่ายไม่ไดร้ บั ประโยชน์
จากการฟังเทา่ ท่ีควร เมื่อเปน็ เช่นนนี้ ักพดู ทด่ี ีจะต้องศึกษาวิเคราะห์ให้เขา้ ใจความมงุ่ และวัตถปุ ระสงค์ท่ีจะพดู
แตล่ ะครงั้ ใหช้ ัดเจนและพูดตรงกับความมงุ่ หมายที่วางไว้ โดยกำหนดได้ดังนี้
๑) การพูดเพ่อื ให้ความรูห้ รอื ข้อเทจ็ จริงแก่ผฟู้ งั การพูดแบบนีเ้ ป็นการพดู โดยอาศัยข้อมลู ตา่ ง ๆ
ในเรื่องที่ผู้ฟังต้องการจะทราบ การพูดต้องพูดใหต้ รงประเด็นและหัวขอ้ ทีก่ ำหนดให้ บางครง้ั ผพู้ ดู ต้องเตรยี ม
อุปกรณ์ประกอบการบรรยายไปด้วย เพ่อื ให้ผฟู้ ังเข้าใจแจ่มแจง้ ในเรอ่ื งท่ีพูดมากท่ีสุดเทา่ ท่ีจะทำได้ การพูด เชน่ น้ี
สว่ นมากจะใช้วิธกี ารพูดด้วยการบรรยาย อธบิ าย พรรณนา เล่าเร่อื ง ชแี้ จง สาธติ และวธิ ีเสนอรายงาน ฯ
๒) การพูดเพ่อื โนม้ นา้ วจิตใจผฟู้ ังการพดู แบบนี้ ผู้พูดจะต้องใช้ศลิ ปะในการพูดหลายๆ แบบเพื่อจูงใจ
ให้ผู้ฟงั เกดิ ความศรัทธาเลื่อมใสมคี วามคดิ เห็นคล้อยตาม หรือกระทำอย่างใดอย่างหน่ึงตามทผ่ี พู้ ดู ตั้งความ
ม่งุ หมายไว้ เช่น การพูดชักชวนให้เลอื่ มใสในลัทธิทางศาสนา การพูดให้ประชาชนเลือกตนเองเปน็ ผูแ้ ทนของ
นกั การเมือง การพดู โฆษณาขายสินคา้ ของผูแ้ ทนบริษทั ฯ
๓) การพดู เพอ่ื ใหเ้ กิดความเพลดิ เพลนิ หรอื เพ่ือจรรโลงใจแก่ผฟู้ งั การพดู แบบนี้ ผพู้ ูดตอ้ งเข้าใจวา่
บรรยากาศในการพูดก็ดี ความต้องการของผู้ฟังกด็ ี เปน็ การพูดที่ผ้พู ูดจะต้องเนน้ ใหผ้ ู้ฟังเกิดความสนกุ สนาน
บันเทิงควบคู่ไปกบั การได้รับความรู้สึกนึกคดิ ท่ีแปลกใหม่ เล็ก ๆ นอ้ ย ๆ เปน็ การพูดในลักษณะเสริมสรา้ ง
ความนึกคิดของผูฟ้ ังใหเ้ กดิ ความคดิ สรา้ งสรรค์ เพื่อยกระดับจติ ใจของผู้ฟงั ในทางท่ีดมี คี วามสุขในขณะที่
ฟงั การพูด เชน่ การกล่าวคำสดุดี กลา่ วคำอวยพร กลา่ วขอบคณุ หรอื กล่าวคำปราศรยั ในงานบันเทิงตา่ งๆ
ที่จัดข้นึ ในโอกาสต่างๆ
๔) การพดู เพ่อื หาทางแกป้ ญั หาหรือคำตอบต่างๆกบั การพดู แบบนี้ ผ้พู ูดจะต้องมีความรเู้ กีย่ วกับเร่ือง
ที่พูดไดเ้ ปน็ อย่างดีหรอื สามารถตอบปญั หาตา่ งๆ ท่ีผู้ฟงั สงสัยอยากจะรู้อยากจะฟงั จากผู้พดู จึงเปน็ การพดู
ในเชงิ วชิ าการหรือในแนวทางขจัดปัญหาข้อสงสัยต่างๆ ให้ปรากฏอยา่ งมีเหตมุ ผี ล บางคร้ังก็เปน็ การพดู เพ่ือ
ตอบปญั หาของผู้ที่มคี วามสงสัยถามปัญหาขึ้นมา เช่น การพูดสัมมนาในทางวชิ าการ การพูดตอบกระทู้
คำถามของรฐั มนตรี หรือนายกรฐั มนตรี
๕) การพูดเพือ่ แนะนำและช้ีแนะเรื่องตา่ งๆการพูดแบบนี้ เปน็ การพดู ในเวลาจำกดั ตามลักษณะเรื่อง
แนะนำและเวลาท่จี ะอำนวยให้ สว่ นมากเปน็ การพูดแนะนำบุคคล แนะนำการปฏบิ ตั งิ านและลกั ษณะ
10
ของงานท่ที ำของหนว่ ยต่างๆ การพูดให้คำแนะนำมุ่งการพูดเพอื่ ใหผ้ ูฟ้ งั ทราบเฉพาะขอ้ เท็จจริงตา่ งๆ
อยา่ งย่อๆ พอกับเวลา ใชก้ บั การรายงานตวั ของผู้ใต้บงั คบั บัญชาต่อผู้บงั คบั บัญชา การแนะนำสรปุ งานในหนา้ ท่ี
รับผิดชอบของผู้ใต้บงั คบั บัญชาต่อผู้บังคับบัญชาในโอกาสตรวจเยี่ยม ฯ
๔. องคป์ ระกอบของการพูด
ธรรมชาตขิ องการพูดโดยทั่วไปมีองค์ประกอบดังน้ี
๑) ผพู้ ดู ผูพ้ ูดทำหน้าทีส่ ่งสารผา่ นสื่อไปใหผ้ ้ฟู งั ดงั น้ัน ผู้พูดจะต้องมคี วามสามารถใช้ทั้งศาสตร์
และศลิ ปะของตนเอง ถา่ ยทอดความรู้สกึ นกึ คิดไปสูผ่ ู้ฟงั ให้ไดอ้ ย่างสมบูรณ์ครบถว้ น ความสามารถของ
ผู้พดู ที่จะทำให้ฟงั ไดเ้ ขา้ ใจมากน้อยแค่ไหนน้ัน ย่อมขนึ้ อยกู่ ับสงิ่ ตอ่ ไปน้ี
- ผู้พูดมคี วามสามารถในการใช้ภาษา เสียง และกิรยิ าท่าทางเพยี งไรผู้พูดมีเจตคติต่อเรอ่ื ง
ทจี่ ะพูด และต่อผ้ฟู ังแค่ไหน ผพู้ ดู มีระดับความร้ใู นเร่ืองท่พี ูดมากน้อย และลกึ ซึ้งเพยี งใดผูพ้ ูดมีฐานะทางสังคม
พ้นื ฐานทางจรยิ ธรรม และวฒั นธรรมอยูใ่ นระดับใด
๒) สาร เน้ือหาท่ผี ู้พดู ส่งไปน้ันจะต้องมีคุณค่า และค้มุ ค่าแก่การเสียเวลาของผู้ฟงั ดังน้ัน
สารท่ีผู้พูดสง่ ไปนั้นจะต้องเตรียมมาแลว้ อยา่ งดี เช่น การ คัดเลือก จัดลำดบั ขนั้ ตอน และการฝกึ ฝนตนเองของผู้
พูดอีกสว่ นหน่งึ
๓) สอ่ื หมายถึง ส่ิงทีน่ ำสารไปสู่ผฟู้ งั ได้แก่ เวลา สถานที่ อากาศ และเคร่ืองรบั รู้ตา่ ง ๆ เช่น ตา หู
จมูก ลน้ิ กาย นอกจากนี้ยังรวมไปถงึ ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส์ อ่ืน ๆ เช่น วทิ ยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ เป็นต้น
๔) ผฟู้ งั ผฟู้ ังอยใู่ นฐานะทจ่ี ะต้องรับสารของผู้พูดโดยอาศัยส่ือเป็นเคร่อื งนำพาผฟู้ ังจะสามารถรับสาร
ได้ตรงกับเจตนาของผพู้ ูดได้มากนอ้ ยหรือไมน่ ั้น ข้นึ อยู่กับสิ่งอื่น ๆ เชน่ ทกั ษะ ความพรอ้ ม ความสนใจ พื้น
ความรูว้ ัฒนธรรม และเจตคติของผู้ฟังอีกด้วย
๕) ปฏิกิรยิ าจากผฟู้ งั ในขณะทีผ่ ู้ฟังรับสารและแปลสารนน้ั กจ็ ะเกิดปฏกิ ิริยาตอบ เช่น เมือ่ พดู ถูกใจ
หรือเปน็ ท่ีพอใจ กจ็ ะมีอาการผงกศรีษะ ปรบมือหัวเราะ ย้ิม และแสดงใหเ้ หน็ ถึงการช่นื ชมพรอ้ มกับตัง้ ใจฟงั แต่
เมื่อพูดไมถ่ ูกใจหรอื ไม่พอใจ ก็จะมีการโหแ่ ละแสดงให้เหน็ ถึงความชงั และขัดแยง้ ต่อผพู้ ดู เปน็ ตน้
๕. ส่งสารดว้ ยการพูด
การพดู มคี วามสำคัญกับมนษุ ย์เราอยา่ งมาก ไมว่ า่ จะอยู่ ณ ท่ีใด ประกอบกิจกรรมใด สว่ นหน่ึง
ของการพูดนัน้ สามารถสอนและฝึกกันได้ ซึ่งการพดู ท่มี ปี ระสิทธิภาพเกดิ จากการสังเกตและการฝกึ ฝน
(การพูดที่มีประสิทธภิ าพหมายถงึ การพูดทชี่ ดั เจน พูดไดต้ รงตามความคิดของผู้พดู หรอื เนื้อเร่ืองท่ีพดู
สามารถรวบรวมเน้ือหาได้ตรงประเดน็ )การพดู แบง่ ได้ ๒ ประการ คือ การพดู ระหวา่ งบคุ คล
และ การพูดในกลุ่ม
• การพดู ระหว่างบุคคล
เป็นการพดู ท่ีไม่เป็นทางการ ไมม่ ีเนื้อหาจำกัดแนน่ อน ท้งั ผพู้ ดู และผู้ฟงั ไมไ่ ดเ้ ตรียมตัวมาลว่ งหน้า
แตเ่ ปน็ การพดู ทใี่ ช้มากที่สุด ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน การพดู ชนิดนี้พอจะแยกได้ดังน้ี
11
๑) การทกั ทายปราศรัย
การพดู ชนดิ นี้เป็นการช่วยสรา้ งสมั พนั ธภาพทด่ี ตี อ่ กนั ทง้ั ผู้ท่เี รารจู้ ักอยู่แล้วหรอื ผ้ทู ่ีเรายังเคยไมร่ ูจ้ กั
โดยการพูดชนิดนผ้ี ้พู ดู ควรย้ิมแย้มและไม่ควรกา้ วก่ายเรื่องส่วนตัวของผู้อ่นื เม่ือเราทักทายผู้ทอี่ าวุโสมากกว่า
กค็ วรท่จี ะกลา่ วคำว่า สวัสดคี รับ พรอ้ มทงั้ พนมมือไหว้ การกระทำดงั กลา่ วนน้ั จะก่อใหเ้ กิดไมตรจี ิตแก่กนั
ท้ังผู้พดู และผูฟ้ ัง
๒) การแนะนำตนเอง
การแนะนำตวั เองน้นั มคี วามสำคัญในการดำเนนิ ชวี ติ ในชวี ิตประจำวนั เพราะเราตอ้ งไดพ้ บ ไดร้ ู้จกั
กับคนอื่นๆอยู่เสมอ การแนะนำตนเองมี ๓ โอกาสสำคญั ดังนี้
- การแนะนำตนเองในท่สี าธารณะ การแนะนำชนิดนี้ควรจะพดู จากนั เล็กนอ้ ยก่อนแล้ว
ค่อยแนะนำตัว มิใชว่ ่าจๆู่ ก็แนะนำตวั ขนึ้ มา
- การแนะนำตนเองในการทำกจิ ธรุ ะ การแนะนำชนดิ น้มี ักจะต้องไปพบผู้ทีย่ งั ไมร่ จู้ ักกันซึ่ง
จะต้องนัดหมายไว้ลว่ งหน้า ควรแต่งกายให้สุภาพเรียบร้อย ไปให้ตรงตามเวลานดั แนะนำตนเองด้วยนำ้ เสียงท่ี
สุภาพไมด่ ังหรือค่อยจนเกินไป
- การแนะนำตนเองในกลุ่มย่อย ควรแนะนำตนเองเพอ่ื ให้เกิดความเป็นกันเอง และสามารถคุย
หรือประชมุ ได้อย่างสะดวกใจย่ิงข้นึ
๓) การสนทนา
เป็นกิจกรรมท่ีบุคคลสองคนหรอื มากกว่านั้น พูดคุยกันเพ่ือแลกเปล่ยี นความรู้ ความคดิ ความรู้สึก
และประสบการณร์ ะหวา่ งกันอย่างไม่เปน็ ทางการ แบ่งได้ ๒ แบบคือ
- การสนทนาระหวา่ งบคุ คลที่คนุ้ เคยกนั การสนทนาชนดิ น้ผี ู้พดู ไม่ตอ้ งคำนงึ ถงึ มากนกั
แตก่ ไ็ มค่ วรก้าวก่ายเรือ่ งสว่ นตวั ของกนั และกนั
- การสนทนากับบุคคลแรกรูจ้ กั ควรที่จะสำรวมถอ้ ยคำ กิริยา มารยาท ควรจะสงั เกตวา่
คู่สนทนานนั้ ชอบพูดหรือชอบฟัง
• การพูดในกลุ่ม
การพูดในกลุ่มน้ันเปน็ กจิ กรรมทีส่ ำคัญในสมัยปัจจุบัน ทัง้ ในชวี ติ ประจำวันและในการศึกษา
โดยเฉพาะในการศึกษานั้นหากมกี ารแบง่ กลุม่ ใหท้ ุกคนได้ช่วยกนั ออกความคิดเห็น กจ็ ะเป็นการเสรมิ สรา้ ง
ทั้งดา้ นความคดิ และด้านทกั ษะภาษา
๑) การเล่าเรื่องทไ่ี ด้อ่านหรอื ฟังมา
การเล่าเร่ืองที่ตนไดอ้ ่านหรือฟังมาน้นั ไม่จำเป็นต้องเลา่ ทุกเหตกุ ารณ์แต่ควรเล่าแต่ประเดน็ ท่ี
สำคญั ๆภาษาที่ใช้เลา่ ก็ควรเป็นภาษาที่เข้าใจได้ง่ายๆ ใช้น้ำเสียงประกอบในการเลา่ เร่ือง เช่น เน้นเสียงในตอน
ที่สำคัญ รวมไปถงึ การใช้กรยิ าทา่ ทางประกอบตามความเหมาะสมของเร่ืองทเี่ ล่า ผเู้ ลา่ ควรเรียงลำดับเร่อื งให้
ถกู ต้องและอาจจะสรปุ เปน็ ข้อคดิ ในตอนท้ายก็ได้
๒) การเลา่ เหตกุ ารณ์
ในชวี ิตประจำวนั ของเรานั้น มักจะมเี หตุการณต์ า่ งๆเกิดขน้ึ ไดเ้ สมอ ในบางครงั้ ผู้พูดกม็ ีความ
12
จำเป็นท่ีจะต้องเล่าเหตุการณ์น้นั ให้ผอู้ ืน่ ฟัง อาจจะเปน็ เหตุการณท์ ่ีประทบั ใจ ตืน่ เตน้ โดยการท่จี ะเลา่
เหตกุ ารณ์นน้ั ๆใหน้ ่าสนใจ กค็ วรท่จี ะเรมิ่ ตน้ ด้วยการแสดงเหตผุ ลว่าเหตกุ ารณน์ ้ีมเี ร่ืองท่ีนา่ สนใจยงั ไง ใช้
ถ้อยคำและภาษาสำนวนทที่ ำใหผ้ ้ฟู ังได้เหน็ ภาพ เลา่ เหตกุ ารณ์ให้ตอ่ เน่ืองกันเพ่ือผูฟ้ ังจะได้ตดิ ตามเรื่องได้ดี
นำ้ เสียงชัดเจน เนน้ ตอนท่สี ำคัญ ใช้ทา่ ทาง กิริยาประกอบในการเลา่ ด้วยเพื่อที่จะได้ดเู ป็นธรรมชาติ แหละ
สุดทา้ ยควรที่จะแสดงข้อคดิ เพิ่มเตมิ ตามสมควร
๖. ประเภทของการพดู
การพดู อาจแบ่งตามเกณฑ์ต่าง ๆ ได้หลายแบบด้วยกนั ในทน่ี ีจ้ ะกลา่ วถึงการพูดเพยี ง๒ แบบ คือ
• แบบที่ ๑ แบง่ ตามวิธีพดู มี ๔ ประเภท คือ
๑) การพดู โดยฉับพลันหรือกระทันหนั (Thelmpromptuspeech)ได้แก่การพดู ที่ผู้พูดไม
ร่ ู้ตัวมากอ่ นจะต้องพูดไม่ไดม้ ีการเตรียมตวั ลว่ งหน้าท้ังในดา้ นเน้ือเรือ่ งทจี่ ะพดู แต่ก็ได้รบั เชิญหรือไดร้ ับ
มอบหมายให้พูด เชน่ การพูดกล่าวอวยพรในวนั เกิด กล่าวอวยพรคบู่ ่าวสาว กล่าวต้อนรับผ้มู าเยือน
กล่าวขอบคณุ ผมู้ ีอปุ การะสนับสนุน การพูดกะทนั หันนี้ หากผ้พู ดู ไดร้ ับเชิญในลักษณะดังกล่าวข้อที่ควร
ปฏิบตั ิเพอื่ ให้การพดู ประสบความสำเรจ็ ก็ควรปฏิบัตติ นดังต่อไปนี้
- ต้องคุมสตใิ หม้ ่นั อย่าประหมา่ หรือตกใจตืน่ เต้นจนเกนิ ไป ทำจิตใจใหป้ กตแิ ละ
สร้างความมัน่ ใจให้แก่ตนเองด้วยการสร้างความพงึ พอใจและความยินดีทจี่ ะไดพ้ ูดในโอกาสเช่นนน้ั
- ให้นกึ ถงึ ประสบการณ์ต่างๆ ทีเ่ รียนรหู้ รอื ได้พบเห็นมา ซึ่งเหน็ ว่าเป็นเร่ืองท่ีดีมปี ระโย
ชนแก่ผ้ฟู งั และเป็นเร่อื งราวทเ่ี ข้ากับบรรยากาศทจ่ี ะพดู แม้ว่าขณะนั้นจะมเี วลาโอกาสสน้ั ๆ กอ่ นจะพูดกค็ วรนกึ
คิดรวมทง้ั ขณะที่เดินจากที่นง่ั ไปยงั ทจ่ี ะพดู
- กำหนดเรือ่ งท่ีจะพูดใหช้ ัดเจน กำหนดเวลาพดู ให้เหมาะสมกับโอกาสและงานนน้ั ๆ
อย่าพูดไปโดยไมม่ ีการกำหนดหัวเรอ่ื งและกำหนดเวลาไวเ้ พราะจะมีผลให้การพูดไม่ดี คนฟงั ก็เบ่ือหน่าย
๒) การพูดโดยการเตรียมการมาล่วงหนา้ (The Extemperamous) การพูดแบบน้เี ป็น
การพูดทผ่ี พู้ ดู ได้มีโอกาสเตรยี มตัวมาก่อนคือ ผู้พูดร้วู ่าตนเองไดร้ บั เชญิ หรือจะต้องพูดในเรอื่ งอะไรบ้าง จึงต้อง
มกี ารเตรียมตวั ลว่ งหนา้ เทา่ ที่โอกาสเวลาจะอำนวยให้ ดงั นนั้ การเตรยี มในเรื่องต่างๆ ท่จี ะพูดเป็นคุณสมบัติ
สำคญั ที่นกั พดู จะตอ้ งปฏิบัติตนอยา่ งสมำ่ เสมอ
๓) การพดู โดยอาศยั อา่ นจากต้นฉบับ (Thespeakingfrommanuscripts) การพดู
ประเภทน้ีเป็นการพูดตามต้นฉบบั ทเี่ ขยี นขนึ้ ซง่ึ เปน็ การเตรียมไวล้ ว่ งหนา้ เปน็ อย่างดี สว่ นมากเป็นการพดู ทาง
พธิ ีการต่าง ๆสำคัญๆ เช่น การกล่าวเปดิ งานการกล่าวรายงาน การกล่าวเปดิ ประชุม การกลา่ วรายงานการ
ประชมุ การกล่าวคำปราศรัย การกลา่ วคำสดดุ ีการกล่าวคำใหโ้ อวาท การกลา่ วต้อนรับทเ่ี ป็นพธิ ีการสำคัญๆ
ฯลฯการพูดประเภทน้ผี ูพ้ ูดจะตอ้ งฝกึ ฝนตนในเรื่องการอ่านต้นฉบบั ใหค้ ล่อง การฝกึ สายตาเวลาพดู การฝึกอา่ น
ยอ่ หนา้ วรรคตอนและคำศัพท์ท่ยี ากตลอดท้งั สำนวนการพดู ให้เหมาะสม
๔) การพดู โดยวิธีท่องจำ (The memorized speaking) การพดู ลกั ษณะนเี้ ป็นการพูด
ที่ผู้พูดจะต้องเตรยี มตัวท่องจำเน้ือหาอยา่ งละเอียดจากเอกสาร ตำรา หนงั สอื ต่างๆ อย่างแม่นยำ เชน่
การทอ่ งจำตวั เลข จำสุภาษิตคำพังเพย เนอื้ หาท่ีสำคัญๆ การพดู แบบนี้เป็นการพดู ท่ผี ูพ้ ูดจะต้องใช้ความเพีย
13
รพยายามมากในการจดจำเน้ือหา และจะต้องมเี วลาในการเตรยี มตัว เชน่ การเทศนข์ องพระสงฆ์
การสวดออ้ นวอนบวงสรวงพิธกี รรมของพราหมณ์ การทำพิธีกรรมทางไสยศาสตร์
และการทำพธิ ีกรรมของศาสนาต่างๆ เป็นต้น
• แบบท่ี ๒ แบ่งตามจำนวนผู้ฟัง มี ๒ ประเภท คือ
๑) การพูดรายบคุ คล เปน็ การพูดตัวต่อตวั ไดแ้ ก่ การพูดท่ีใชอ้ ยู่ในชวี ิตประจำวนั เชน่
การสนทนา การสมั ภาษณ์ การเล่าเรอื่ ง การแนะนำตัว เป็นต้น
๒) การพูดในทช่ี มุ นุมชน เปน็ การพูดท่ีมีผูฟ้ ังเป็นจำนวนมาก เปน็ การพูดท่มี แี บบแผน
ตอ้ งมีการเตรียมตวั และฝึกฝนใหเ้ กดิ ความชำนาญ การพดู ประเภทนีไ้ ด้แก่ การบรรยาย การอภิปราย
การปาฐกถา การแสดงสนุ ทรพจน์ เปน็ ต้น
๗. ขอ้ ดีของการส่ือสารด้วยคำพดู
๑) สรา้ งความเขา้ ใจให้กับผูฟ้ งั ได้อย่างรวดเรว็ เพราะการใชค้ ำพดู สอ่ื สารกันน้ัน มกั จะเป็นการ
ส่ือสารสองทาง ทั้งผู้พูดและผู้ฟงั มโี อกาสพดู จาโตต้ อบกนั ซึ่งจะชว่ ยให้เกิดความเข้าใจและสะดวกรวดเร็วใน
การตดิ ต่อส่ือสาร
๒) เปน็ เคร่ืองมือสร้างมนษุ ย์สมั พนั ธก์ ับบุคคลไดผ้ ลทสี่ ดุ แมแ้ ตค่ นทไ่ี มเ่ คยรจู้ กั กันการทไี่ ดพ้ บปะ
พูดคยุ สนทนากนั ได้เห็นหนา้ ตา อากัปกริ ยิ า ท่าทาง บุคลิกลักษณะนำ้ เสยี ง ท่วงทำนองการพูด ของแต่ละฝ่าย
ยอ่ มจะมีอิทธพิ ลชักจูงความสนใจ ก่อใหเ้ กดิ ความประทับใจความสนทิ สนมเปน็ กันเองได้โดยง่าย
๓) สามารถพสิ ูจน์ไดว้ า่ คำพูดท่ีพูดไปได้ผลหรือไมท่ ันที เพราะในขณะที่พูดจาโต้ตอบกนั น้นั ทัง้ สอง
ฝ่ายจะมีโอกาสเห็นปฏิกิรยิ าตอบสนองซ่ึงกันและกนั ซ่ึงจะทำใหท้ ราบได้ว่าสิ่งที่พูดออกไปนนั้ ได้ผลหรอื ไม่
หรือเกิดผลอยา่ งไร
๔) สามารถดัดแปลงแกไ้ ขคำพูดหรือยืดหย่นุ ใหเ้ หมาะสมกับโอกาส เวลา หรือเหตุการณ์ทเ่ี กดิ ขน้ึ
ตัวอย่างเชน่ ในการพดู ถึงเร่อื งอะไรกต็ าม ถา้ ผู้พดู สงั เกตเห็นว่าผ้ฟู งั มกี ิรยิ าทา่ ทางไม่ค่อยเข้าใจในเร่ือง
ท ผี่ ู้พดู กำลังพูดอยู่ ผู้พูดอาจปรบั เรอื่ งที่พูดให้ง่ายขึน้ เปน็ ต้น
๘. ขอ้ จำกดั ของการสื่อสารดว้ ยคำพูด
๑) สถานท่ไี ม่เอ้อื อำนวย ต่อการสื่อสารดว้ ยคำพูด เชน่ สถานที่อยหู่ า่ งไกล หรือมสี ่ิงรบกวนมาก
หรือเวลาจำกัดก็ไม่อาจใช้วธิ สี อ่ื สารโดยการพูดใหไ้ ด้ผลได้ นอกจากนี้การสื่อสารด้วยคำพูดมักม ี
ขอบข่ายครอบคลุมผู้ฟังได้ไม่มากนกั
๒) เรื่องส่อื สารมีความซับซ้อน หรือเปน็ เรื่องนามธรรมที่เขา้ ใจยาก หรือเปน็ เรือ่ งทต่ี ้องกล่าว
รายละเอยี ด
ขอ้ มลู ตา่ งๆมาก การใชค้ ำพดู เพยี งประการเดยี วอาจทำให้ผู้ฟงั ไมเ่ ขา้ ใจการเขยี นจะเหมาะสมกวา่
๓) สารจากคำพดู เปน็ สารทีไ่ ม่คงทน กล่าวคือ พดู เสร็จแล้วก็ผา่ นหายไปผู้ฟงั ไม่มีโอกาสฟังซ้ำ
หรอื ไมส่ ามารถกลบั มาทบทวนทำความเข้าใจอีกครงั้ หนึ่งได้ เมื่อสารนัน้ ไมค่ งทนย่อมจะนำมา
14
เป็นหลักฐานไมส่ ะดวกนกั
๔) มีโอกาสผดิ พลาดในแง่ข้อเทจ็ จรงิ หรือผิดจากเจตนาท่ีแทจ้ ริงของผูพ้ ูดได้ง่าย เพราะผู้พูดอาจ
จะเผอเรอหรอื พลาดพล้ังคำพูดตา่ งๆ ไดน้ อกจากนี้การสือ่ สารด้วยคำพดู ยังเปิดโอกาสให้ผฟู้ ังนำคำท่ไี ด้ฟงั
ไปตีความผดิ พลาดคลาดเคลอ่ื นได้ เชน่ จะเห็นบอ่ ยๆ จากบุคคลทีม่ ชี ่ือเสยี งใหส้ มั ภาษณ์ ภายหลงั ก็มี
การแถลงขอ้ เท็จจริง หรือแถลงแกข้ ่าวในหนงั สือพิมพ์ ในวิทยกุ ระจายเสยี ง วทิ ยุโทรทศั น์ เป็นตน้
๙. ลกั ษณะของผู้พดู ทดี่ ี
การพดู ที่ดี หมายถึง การรู้จกั ใชถ้ ้อยคำ นำ้ เสียง และบุคลกิ ภาพตา่ งๆ ของผพู้ ูดใหส้ ือ่ ความหมาย
แกผ่ ฟู้ งั อยา่ งมปี ระสิทธิภาพ รวมทั้งรจู้ ักใชจ้ รรยามารยาท และประเพณนี ิยมอันดงี ามเพ่อื ถ่ายทอดความรู้
ความคิด และความต้องการท่ีเปน็ ประโยชนใ์ ห้แก่ ผฟู้ งั ตามจดุ ประสงคท์ ี่ตั้งไว้อยา่ งครบถ้วน นพิ นธ์ ศศธิ ร
ไดก้ ลา่ วถึงการพูดทีด่ ีต่อชมุ ชนวา่ มีองค์ประกอบที่สำคญั อยู่ประการ คือ
๑) การพดู ท่ีมีถ้อยคำดี ไดแ้ ก่ถอ้ ยคำทเี่ ป็นความจรงิ ถ้อยคำท่มี ปี ระโยชน์ถ้อยคำท่เี ป็นที่พึงใจแก่ผูฟ้ งั
๒) การพดู ที่มคี วามเหมาะสม ได้แก่ความเหมาะสมกบั กาลสมยั ความเหมาะสมกับเวลาทก่ี ำหนด
ให้ความเหมาะสมกับโอกาส
๓) การพูดท่ีมคี วามม่งุ หมาย ได้แก่ความมงุ่ หมายท่ัวไปความมุ่งหมายเฉพาะบคุ คล
๔) การพูดท่ีมศี ลิ ปะการแสดงดีการใช้กริยา สีหนา้ และท่าทางใหส้ อดคล้องกับเร่ืองการใชเ้ สยี ง
ชดั เจน มีการเน้นยำ้ และจังหวะวรรคตอน
มารยาทในการฟัง ถือเป็นวัฒนธรรมประจำ ชาติอย่างหนึง่ ท่ผี ูฟ้ งั ควรยึดถือและปฏิบตั ิให้ถกู ต้องเหมาะสม การ
มมี ารยาทในการฟังยอ่ มแสดงใหเ้ ห็นว่า บุคคลน้นั ได้รับการอบรมบม่ นสิ ยั ให้เปน็ ผู้มีวัฒนธรรมอนั ดงี าม การมี
มารยาทที่ดี ถอื เป็นการใหเ้ กียรติต่อผู้พดู ใหเ้ กยี รติ ต่อสถานที่และใหเ้ กียรตติ ่อชมุ ชน มารยาทเหลา่ นี้จงึ เป็น
เร่ืองจำเป็นที่ทุกคนควรยดึ ถือ และปฏบิ ตั ิโดยเคร่งครดั
ความหมายของการฟัง
การฟัง หมายถงึ การรับสาร หรอื เสยี งทไี่ ด้ยินทางหู การฟงั อย่างมีจดุ มุง่ หมาย มีมารยาทและรจู้ กั พนิ ิจ
พิเคราะห์เนื้อหาของสาร ที่รับวา่ มขี ้อเท็จจรงิ อย่างไร รูจ้ ักจบั ใจความสำคัญ ใจความย่อย ส่งิ เหล่านี้
จะชว่ ยใหผ้ รู้ ับสาร ไดป้ ระโยชนจ์ ากการฟงั อย่างเต็มที่ การฟงั ทด่ี ี หลกั การฟังทด่ี ี มีดังน้ี การฟงั ต้องมี
จดุ มงุ่ หมาย ในการฟังเรอ่ื งใด ๆ ก็ตาม ผูฟ้ ังควรต้ังจดุ มุง่ หมาย ในการฟัง ซง่ึ มีจุดมงุ่ หมายหลัก ๓ ประการ คือ
๑) ฟังเพ่ือความรู้ ไดแ้ ก่ การฟงั เรอ่ื งราวท่เี ป็นวิชาการ ขา่ วสารและขอ้ แนะนำต่าง ๆ การฟงั เพ่ือ
ความรู้ จำเปน็ ต้องฟงั ใหเ้ ขา้ ใจและจดจำสาระสำคญั ให้ได้
๒) ฟังเพื่อความเพลดิ เพลิน คือ การฟังเรอื่ งราวท่ีสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ ทำใหผ้ อ่ นคลายความตึง
เครียดจากภารกจิ การงานและสง่ิ แวดลอ้ ม
๓) ฟงั เพ่ือให้ไดร้ บั คตหิ รือความจรรโลงใจ คอื การฟงั เรื่องที่ทำให้เกิดแนวคิด และสติปัญญา เกดิ
วิจารณญาณ ขัดเกลาจิตใจให้มคี ณุ ธรรม การฟังประเภทนีต้ ้องรู้จักเลือกฟัง และเลือกเช่ือในส่ิงทถี่ ูกทีค่ วรซ่งึ จะ
15
ชว่ ยใหผ้ ู้ฟัง มีคติในการดำเนินชวี ติ ไปในทางดงี าม และรจู้ ักสร้างสรรคป์ ระโยชน์เพ่ือสงั คม
การฟังทั้ง ๓ ประการ อาจรับฟังไดจ้ ากสอ่ื ต่าง ๆ เชน่ วิทยุ โทรทศั น์ การประชุม ปาฐกถา ฯลฯ นอกจากน้ีการ
ฟงั ในแตล่ ะครง้ั ผู้ฟังอาจได้รับประโยชนท์ ้งั ๓ ดา้ น หรอื ด้านใด ด้านหนงึ่ เฉพาะด้านซ่งึ เปน็ การฟังเพื่อ
ประโยชน์ของตนเอง
การฟังตอ้ งมีความพรอ้ ม
ซง่ึ หมายถงึ ความพรอ้ มทางกาย คือมสี ุขภาพสมบรู ณ์ แขง็ แรง ไม่เจบ็ ป่วย ความพรอ้ มทางใจ คือมี
จติ ใจพร้อมที่จะรับฟงั ไมว่ ิตกกังวลในเร่อื งอนื่ และมีความพร้อม ทางสตปิ ญั ญา หมายถึง มกี ารเตรียมตัวที่จะ
ใฝห่ าความรเู้ ป็นพืน้ ฐาน กอ่ นท่จี ะรับฟังเพราะเร่ืองบางเร่ืองอาจต้องอาศยั ความรู้และประสบการณ์เดมิ หรอื
คำศัพท์ ทางวชิ าการ เป็นตน้ ถา้ ผ้ฟู ัง ไม่มีความรมู้ าก่อน อาจฟังไม่รเู้ รอื่ งหรือจับใจความไม่ได้ ซึง่ ทำใหเ้ กิด
ความเบอื่ หนา่ ยไม่ได้ประโยชนจ์ ากการรับฟงั เท่าท่ีควร
การฟงั ตอ้ งมีสมาธิ
ในการฟังหรือการกระทำสง่ิ ใดก็ตาม จำเป็นต้องมสี มาธิ คือมีจติ ใจจดจ่อในเร่ืองน้นั ๆ ในการฟัง หาก
ผ้ฟู งั ฟงั อยา่ งใจลอย หรอื ไมต่ ั้งใจฟงั เทา่ ที่ควร ก็ไมส่ ามารถจับใจความที่ฟงั ได้หมดครบถ้วน อาจทำให้เข้าใจ
ไขว้เขว หรอื ไม่ได้เน้อื หาสมบูรณ์ การมสี มาธิในการฟังผฟู้ ังตอ้ งฝกึ ฝนตนเองใหร้ จู้ ักควบคุมจิตใจ โดยเอาใจจด
จอ่ ในเรอื่ งที่ฟงั เปน็ พเิ ศษ การฟังต้องมีความกระตอื รือรน้ คือสนใจและเลง็ เห็นประโยชนจ์ ากการฟังอย่าง
แท้จริง ไม่ใช่ฟงั ดว้ ยจำใจหรือถูกบงั คับ การฟังต้องไมม่ ีอคติ
การมีอคติ ได้แก่ การลำเอียง อาจจะเป็นลำเอยี งเพราะรัก ลำเอียงเพราะโกรธ ลำเอยี งเพราะหลง การลำเอยี ง
ทำให้แปลเจตนาในการฟงั ผิดความหมาย หรอื คลาดเคลื่อนจากทเ่ี ป็นจรงิ ได้ ถ้าผู้เรยี นยึดถอื หลักการฟงั ท้ัง ๕
ข้อน้ี กจ็ ะเปน็ ผู้รับสารด้วยการฟัง ได้ครบถ้วนตามความมุง่ หมาย
มารยาทในการฟงั ผ้มู ีมารยาท ในการฟังควรปฏิบตั ติ น ดังนี้
๑. เมอื่ ฟังอย่เู ฉพาะหน้าผู้ใหญ่ ควรฟงั โดยสำรวมกิรยิ ามารยาท ฟังด้วยความสุภาพเรียบรอ้ ย และ
ตง้ั ใจฟงั
๒. การฟังในท่ปี ระชมุ ควรเข้าไปนง่ั ก่อนผพู้ ูดเร่มิ พดู โดยนั่งที่ดา้ นหน้าใหเ้ ต็มก่อนและควรตั้งใจฟงั จน
จบเรอื่ ง
๓. จดบนั ทกึ ข้อความท่ีสนใจหรือข้อความทีส่ ำคัญ หากมขี ้อสงสยั เกบ็ ไวถ้ ามเมอื่ มีโอกาสและถามด้วย
กิริยาสภุ าพ เมื่อจะซักถามตอ้ งเลือกโอกาสทีผ่ ู้พูดเปดิ โอกาสใหถ้ าม หรอื ยกมือข้ึนขออนุญาตหรอื แสดงความ
ประสงค์ในการซักถาม ถามด้วยถ้อยคำสุภาพ และไมถ่ ามนอกเร่ือง
๔. มองสบตาผ้พู ูด ไมม่ องออกนอกห้องหรอื มองไปที่อ่ืน อนั เปน็ การแสดงวา่ ไม่สนใจเรื่องที่พดู และไม่
เอาหนงั สือไปอา่ นขณะท่ีฟัง หรือนำอาหารเครื่องดื่มเข้าไปรับประทานระหวา่ งฟัง
๕. ฟังดว้ ยใบหนา้ ย้ิมแยม้ แจ่มใสเป็นกนั เองกบั ผู้พูด แสดงสหี นา้ พอใจในการพดู ไมม่ ีแสดงกริ ิยาก้าวร้าว
เบื่อหนา่ ย หรอื ลกุ ออกจากที่นง่ั โดยไมจ่ ำเปน็ ขณะฟัง
๖. ฟังดว้ ยความสขุ ุม ไม่ควรก่อความรำคาญให้บุคคลอน่ื ควรรกั ษามารยาทและสำรวมกริ ิยา ไมห่ ัวเราะ
เสียงดังหรือกระทืบเทา้ แสดงความพอใจหรอื เปา่ ปาก
16
๗. ฟงั ด้วยความอดทนแมจ้ ะมีความคิดเหน็ ขัดแย้งกบั ผูพ้ ูดก็ควรมีใจกวา้ งรับฟงั อยา่ งสงบ
๘. ไมพ่ ดู สอดแทรกขณะที่ฟงั ควรฟังเรอ่ื งให้จบก่อนแล้วค่อยซักถามหรือแสดงความคิดเหน็
๙. ควรใหเ้ กียรติวทิ ยากรดว้ ยการปรบมือ เมื่อมกี ารแนะนำตวั ผพู้ ูด ภายหลงั การแนะนำ และเมือ่ วทิ ยากร
พูด จบ
ประโยชน์ของการฟัง
ประโยชนส์ ว่ นตน
๑.๑ การฟงั เปน็ เคร่ืองมอื ของการเขยี น ผูท้ ี่เรียนหนังสอื ได้ดีตอ้ งมีการฟังที่ดีด้วย คือ ต้องฟังคำอธิบายใหร้ ู้
เร่ืองและจับใจความสำคญั ให้ไดจ้ งึ จะทำให้การเรียนมี ประสิทธภิ าพ ไม่วา่ จะเปน็ การฟังคำอธบิ ายในห้องเรยี น
การฟงั อภปิ ราย การฟังบทความ ล้วนแต่ช่วยพัฒนาสติปัญญาทำใหเ้ กิดความรูแ้ ละเกิดความเฉลียวฉลาดจาก
การฟัง
๑.๒ การฟงั ชว่ ยใหผ้ ู้ฟังพัฒนาความสามารถในการพูด พฒั นาความสามารถในการใช้ภาษา เพราะการฟงั
ทำให้ผ้ฟู งั มคี วามรู้กวา้ งขนึ้ และมีประสบการณ์มากขึน้
๑.๓ การฟงั ชว่ ยปูพืน้ ฐานความคดิ ทีด่ ีใหก้ ับผู้ฟงั ซ่ึงจะไดจ้ ากการฟงั เรื่องราวที่มีคุณคา่ มีประโยชนจ์ าก
ผูอ้ นื่ ช่วยพัฒนาสติปญั ญาแก่ผฟู้ งั การไดร้ ับข้อคดิ เห็นท่ีมีประโยชน์ทำใหเ้ กดิ แนวความคิดใหม่ ๆ ได้
๑.๔ การฟังชว่ ยให้ผมู้ มี ารยาทในการฟัง สามารถเข้าสงั คมกับผู้อนื่ ได้เช่น รจู้ กั ฟงั ผู้อนื่ รจู้ กั ซักถามโต้ตอบ
ได้ตามกาลเทศะ ประโยชน์ทางสงั คม
๒.๑ การฟงั ทำใหเ้ กดิ ความรูท้ เี่ ปน็ ประโยชน์ตอ่ ชาติบ้านเมือง เชน่ การฟงั ประกาศ ฟังปราศรัย ฟงั การ
อภิปราย เปน็ ตน้
๒.๒ การฟงั ชว่ ยใหป้ ระพฤตดิ ี ปฏบิ ตั ใิ ห้สงั คมเปน็ สขุ เช่น ฟังธรรม ฟงั เทศนา ฟังคำแนะนำ การอบรม
เป็นตน้
การพฒั นาสมรรถภาพการฟงั
๑. สร้างความสนใจและความต้องการที่จะฟงั ผฟู้ ังท่ีดีตอ้ งใหค้ วามสนใจกบั เรือ่ งท่ีฟงั แมว้ า่ เรอื่ งท่ฟี ังจะ
ไมต่ รงกบั ความสนใจของตนเองกต็ าม ผูฟ้ ังต้องรหู้ วั ข้อเร่อื งรวมทั้งจดุ ประสงคว์ า่ ฟังเพือ่ อะไร
๒. ฟังดว้ ยความตั้งใจ เป็นการฟังอย่างมีสมาธิ จิตใจจดจอ่ กับเร่ืองที่ฟงั
๓. จบั ใจความสำคัญของเรือ่ งและคดิ วิเคราะห์วิจารณเ์ รือ่ งราวที่ฟงั
๑. จบั ใจความใหไ้ ด้วา่ เรือ่ งท่ีฟงั เป็นเรื่องอะไร เกิดทีไ่ หน เรื่องเป็นอย่างไร
๒. วิเคราะห์วิจารณ์เร่ืองราวท่ีฟังวา่ เปน็ อยา่ งไร อะไรเป็นสาเหตุ ผลเปน็ อยา่ งไร
๓. แยกแยะข้อความวา่ ตอนใดเป็นขอ้ เทจ็ จริง ตอนใดเป็นข้อคิดเหน็
๔. พิจารณาจดุ มุ่งหมายในการพดู ของผู้พูด รวมท้งั เหตผุ ลท่ีนำมาสนับสนุนการพูด ในการฟัง ดู และพดู
เรอ่ื งราวตา่ งๆ จากการผา่ นสื่อใดหรอื โดยใครก็ตาม ผฟู้ ัง ผู้ดแู ละผพู้ ูด จะต้องพิจารณาใหถ้ ่ีถว้ น ว่าเป็นไปได้
อย่างไร แค่ไหนเพราะถา้ เชื่อทกุ เรือ่ ง บางครง้ั อาจจะตกเป็นเครื่องมือของผู้ไม่ปรารถนาดไี ด้ง่าย ผู้ฟังตอ้ ง
วิเคราะห์จุดประสงค์ในการพูดว่าผู้พูดตอ้ งการให้อะไรกบั ผู้ฟงั ข้อความตอนใดเปน็ ขอ้ เท็จจริง ตอนใดเป็น
17
ข้อคิดเห็น ขอ้ เทจ็ จรงิ มหี ลกั ฐานเป็นที่ยอมรบั หรือไม่ ข้อคิดเหน็ นั้นมเี หตผุ ลมคี วามเปน็ ไปได้หรือนา่ เชื่อถือมาก
นอ้ ยเพยี งใด
ความสำคัญของการอ่าน
การอา่ นมีความสำคัญตอ่ ชวี ิตมนุษย์ตั้งแต่เกิดจนโต และจนกระท่งั ถงึ วยั ชรา การอา่ นทำให้รู้
ขา่ วสารข้อมลู ต่าง ๆ ท่วั โลก ซง่ึ ปจั จุบนั เป็นโลกของข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ท่วั โลก ทำให้ผู้อ่านมคี วามสุข มี
ความหวัง และมีความอยากรูอ้ ยากเห็น อนั เป็นความต้องการของมนุษย์ทกุ คน การอ่านมปี ระโยชนใ์ นการ
พัฒนาตนเอง คือ พฒั นาการศกึ ษา พัฒนาอาชพี พฒั นาคุณภาพชีวติ ทำให้เปน็ คนทันสมยั ทันตอ่ เหตุการณ์
และมคี วามอยากร้อู ยากเหน็ การทีจ่ ะพฒั นาประเทศใหเ้ จริญร่งุ เรืองก้าวหนา้ ไดต้ ้องอาศัยประชาชนท่ีมีความรู้
ความสามารถ ซ่ึงความรู้ต่าง ๆ กไ็ ดม้ าจากการอา่ นน่นั เอง
ความหมายของการอ่าน
การอ่าน คอื กระบวนการท่ีผอู้ ่านรับรสู้ ารซ่ึงเปน็ ความรู้ ความคดิ ความรูส้ ึก และ ความ
คิดเหน็ ทผี่ ู้เขียนถ่ายทอดออกมาเปน็ ลายลักษณอ์ ักษร การทผี่ ูอ้ า่ นจะเขา้ ใจสารได้มากน้อยเพียงไร ขึน้ อยกู่ ับ
ประสบการณ์และความสามารถในการใชค้ วามคดิ
จดุ มุ่งหมายของการอ่าน
๑. อ่านเพอื่ ความรู้ ได้แก่ การอ่านจากหนงั สือตำราทางวิชาการ สารคดีทางวิชาการ การวจิ ัย
ประเภทตา่ ง ๆ หรือการอา่ นผ่านสอื่ อีเล็กทรอนิกส์ ควรอา่ นอย่างหลากหลาย เพราะความรใู้ นวชิ าหน่ึง อาจ
นำไปช่วยเสรมิ ในอีกวิชาหนึ่งได้
๒. อา่ นเพอ่ื ความบันเทงิ ได้แก่ การอา่ นจากหนังสอื ประเภทสารคดที ่องเท่ียว นวนิยาย เรื่อง
ส้ัน เรอ่ื งแปล การต์ ูน บทประพันธ์ บทเพลง แมจ้ ะเปน็ การอ่านเพื่อความบันเทงิ แต่ผู้อ่านจะไดค้ วามรู้ท่ี
สอดแทรกอยู่ในเรอ่ื งดว้ ย
๓. อา่ นเพอื่ ทราบขา่ วสารความคิด ได้แก่ การอ่านจากหนังสอื ประเภทบทความ บท
วิจารณ์ ขา่ ว รายงานการประชุม ถ้าจะใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งแทจ้ รงิ ต้องเลือกอ่านให้หลากหลาย ไม่เจาะจง
อา่ นเฉพาะสื่อ ท่ีนำเสนอตรงกับความคิดของตน เพราะจะทำให้ได้มุมมอง ที่กวา้ งขึ้น ชว่ ยให้มเี หตุผลอนื่ ๆ มา
ประกอบการวิจารณ์ วิเคราะห์ได้หลายมุมมองมากขึ้น
๔. อา่ นเพ่ือจุดประสงค์เฉพาะทางแต่ละคร้ัง ไดแ้ ก่ การอา่ นที่ไม่ไดเ้ จาะจง แตเ่ ปน็ การอ่านใน
เรอ่ื งทีต่ นสนใจ หรืออยากรู้ เชน่ การอา่ นประกาศตา่ ง ๆ การอ่านโฆษณา แผน่ พบั ประชาสัมพันธ์ สลาก
ยา ข่าวสงั คม ข่าวบันเทงิ ข่าวกีฬา การอ่านประเภทนี้มักใช้เวลาไมน่ าน สว่ นใหญ่เป็นการอ่านเพื่อใหไ้ ด้
ความรู้และนำไปใช้ หรอื นำไปเปน็ หวั ขอ้ สนทนา เช่อื มโยงการอ่าน สู่การวิเคราะห์ และคดิ วิเคราะห์ บางคร้งั ก็
อ่านเพ่ือใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์
ประโยชนข์ องการอ่าน
๑. เป็นการสนองความตอ้ งการของมนุษย์
๒. ทำให้มนษุ ย์เกิดความรู้ ทกั ษะต่าง ๆ ตลอดจนความก้าวหนา้ ทางวชิ าชพี
๓. ทำให้มนษุ ย์เกดิ ความคดิ สร้างสรรค์ ความเพลิดเพลนิ บันเทิงใจและเกิดความบนั ดาลใจ
18
๔. เปน็ การใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
๕. ทำใหม้ นษุ ย์ทนั ต่อเหตกุ ารณค์ วามเคล่ือนไหวตา่ ง ๆ ของโลก
๖. เป็นการส่งเสริมสขุ ภาพของมนุษย์
๗. ชว่ ยให้มนษุ ย์แกป้ ัญหาสงั คม การเมอื ง เศรษฐกิจและปญั หาสว่ นตัว
คุณสมบตั ขิ องนักอ่านทด่ี ี
๑. มีนสิ ัยรกั การอ่าน
๒. มีจิตใจกวา้ งขวางพร้อมท่จี ะอ่านหนังสือทดี่ มี ีคุณค่าไดท้ กุ ประเภท
๓. มเี จตคตทิ ด่ี ีต่อการอ่านและเร่ืองท่อี า่ น
๔. หม่นั หาเวลาหรอื จดั เวลาสำหรับการอา่ นให้กบั ตนเองทุกวนั อยา่ งสมำ่ เสมอ
๕. เป็นคนรักหนังสือและแสวงหาหนงั สอื ทดี่ อี า่ นอยู่เสมอ
๖. มคี วามสามารถในการเลอื กหนังสอื ท่ีดอี ่าน
๗. มคี วามอดทน มีอารมณ์หรอื มสี มาธใิ นการอา่ น
๘. มสี ุขภาพกาย สุขภาพจิตท่ีสมบูรณ์
๙. มคี วามเบกิ บาน แจ่มใส และปลอดโปรง่ อยเู่ สมอ
๑๐. มนี สิ ยั ใฝ่หาความรู้ ความคดิ และประสบการณ์ใหม่ ๆ อยเู่ สมอ
๑๑. มีทกั ษะในการอ่านสรปุ ความ วเิ คราะห์ความ และวินจิ ฉัยความ
๑๒. มีความคิดหรอื มีวิจารณญาณท่ีดีต่อเร่ืองที่อ่านสามารถที่จะแยกแยะขอ้ เทจ็ จรงิ ความถกู ต้อง
ความเหมาะสมตา่ ง ๆ และสามารถเลือกนำไปใช้ประโยชน์
๑๓. มีนสิ ัยชอบจดบันทกึ เรอ่ื งราวต่าง ๆ ที่พบในการอา่ นและเห็นวา่ มคี ณุ คา่
๑๔. มีความจำดี รูจ้ กั หาวิธชี ่วยจำ และเพิ่มประสิทธภิ าพของการจำ
๑๕. มนี ิสัยชอบเข้ารา้ นหนงั สือและห้องสมดุ
๑๖. มีโอกาสหรอื หาโอกาสพดู คุยกับผู้รักการอ่านด้วยกันอยเู่ สมอ เพ่ือแลกเปล่ียน ทรรศนะในการ
อา่ นใหแ้ ตกฉานย่ิงขน้ึ
๑๗. มนี สิ ยั หมัน่ ทบทวน ตดิ ตาม คน้ คว้าเพิ่มเติม
ทกั ษะการอา่ นจะต้องเข้าในท้ังความหมายและองค์ประกอบของทักษะการอ่าน อันจะได้
หาทางสง่ เสรมิ ให้เยาวชนในปัจจุบันไดม้ ุ่งสู่แนวทางทีจ่ ะบรรลุเป้าหมายไดด้ ยี งิ่ ข้ึน การอ่านแต่เดมิ นนั้ หมายถงึ
การแปลสัญญาณให้ออกมาเป็นคำพดู ปจั จบุ นั การอา่ นหมายถงึ ความสามารถในการใช้ประโยชน์ของการ
ผสมผสานของตวั อักษรแลว้ ไดร้ ับความรู้ การสอนอา่ นในยุคปจั จบุ นั จงึ เนน้ ทจ่ี ะมุ่งสนองความตอ้ งการและ
ความสนใจของผเู้ รียนมากข้ึน สำหรบั ทักษะในการอ่านหมายถงึ ความคล่องตัวทจ่ี ะใช้กรประสมประสานของ
ตวั อกั ษรโดยผ่านการไตร่ตรองแลว้ เก็บเป็นความรอบร้แู หง่ ตน หรอื ความคล่องตัวในการใช้กระบวนการอา่ น
กระบวนการอา่ นเปน็ การฝึกใช้ความคิดในการรับรสู้ ่อื ความหมายทผี่ ู้เขียนสอ่ื ถึงผู้อ่านกระบวนการอ่านจงึ เป็น
แนวทางในการคน้ คว้าหาความรู้ ความเขา้ ใจจากการอ่านเพือ่ นำไปใช้ประโยชน์ ขน้ั ตอนในการฝกึ อ่านไปสู่การ
สร้างทกั ษะในการอา่ น
19
๑.สามารถเขา้ ใจสาระสำคญั ของส่ิงหรือเร่ืองท่ีอ่านได้
๒. วเิ คราะห์และจัดประเภทความรู้ที่ไดจ้ ากการอ่าน
๓. สรา้ งความสัมพันธ์ระหวา่ งความรใู้ หม่กับประสบการณ์เดิม
๔. สรุป มโนทศั น์
๕. ทบทวนพจิ ารณา อุทาหรณ์
๖. คิดยอ้ นกลบั พร้อมอา้ งองิ
๗. การใช้สำนวน คำคม
๘. เกดิ อารมณเ์ ห็นประโยชน์
๙. วจิ ารณ์ ไตต่ รอง
๑๐. กลน่ั กรองเป็นความรอบรู้ จากขน้ั ตอนในการเสรมิ สร้างทกั ษะในการอ่านนข้ี ึ้นอยูก่ บั ครจู ะใช้วธิ ี
สอนกระตุน้ สง่ เสริมโดยจัดกิจกรรม หากอ่านนบั เป็นกุญแจดอกสำคัญทีจ่ ะช่วยพัฒนาการอา่ นของเด็กให้
ก้าวหนา้ ไปส่กู ารใชป้ ระโยชน์ได้เตม็ ท่ี ครูผู้สอนบกพรอ่ งในความเข้าใจ ผเู้ รียนย่อมไม่ได้ประโยชน์จากการอา่ น
ข้นั ตอนในการฝกึ ทักษะในการ
หลกั การเขียนคำในภาษาไทย
การเขยี นสะกดคำในภาษาไทยให้ถูกต้อง จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั
หลักเกณฑ์การเขียนคำนนั้ ๆและตอ้ งหมน่ั ฝกึ ฝนเขยี นอยู่สม่ำเสมอ ท้ังนต้ี ้องยดึ พจนานุกรมฉบบั
ราชบณั ฑติ ยสถานเป็นหลักเกณฑใ์ นการอ่านและเขยี นคำ
๑. คำทป่ี ระวิสรรชนีย์ มีวธิ กี ารดังนี้
๑.๑ คำท่ีมาจากภาษาบาลี สนั สกฤตและเป็นคำท่ีมีหลายพยางค์เรียงกัน พยางคห์ ลังสดุ ให้
ประวิสรรชนีย์ เชน่ สรณะ อมตะ อสิ ระ ศิลปะ ฯลฯ
๑.๒ คำกรอ่ นเสียง ต้องประวสิ รรชนยี ์ เช่น สาวใภ้ เป็น สะใภ้ สายดอื เปน็ สะดอื
๑.๓ คำท่ีม่จากภาษาชวาและอา่ นออกเสยี งสระอะ ตอ้ งประวสิ รรชนยี ์ เชน่ มะเดหวี ระเด่น
ระตู อะนะ ตะหมงั สะตะหมัน มะตาหะรี
๑.๔ คำทข่ี ึ้นตน้ ดว้ นสะ แผลงเป็น ตะ และกระ แมภ้ าษาเดมิ จะไมป่ ระวิสรรชนียเ์ มอ่ื แผลง
มาตอ้ งประวิสรรชนีย์ เช่น สะพัง เป็น ตะพงั สะพาน เปน็ ตะพาน สะเทือน เป็น กระเทือน
๑.๕ เมอื่ แผลงบางคำประวิสรรชนยี ์ เพราะมีเสยี งตวั ร กลำ้ ในพยางค์หนา้ ซ่ึงอ่านออกเสียง
สระอะ เชน่ กลับ เปน็ กระลับ ขจาย เปน็ กระจาย กลอก เป็น กระลอก ผจญ เปน็ ประจญ
ตวั อยา่ งคำประวิสรรชนีย์
ขะมักเขมน้ ขะมุกขะมอม คะนงึ คะนอง คะเน คะยั้นคะยอ ชะงัก ชะโงก ตัวชะมด
ชะลอ ชะลา่ ชะลูด ตะลุ ตะขิดตะขวง ทะลาย(หมาก)ทะนง ทะมัดทะแมง ทะล่งึ ทะเยอทะยาน ทะนุบำรงุ
ทะลกั พะวง พะวง พะยูง พะเนนิ พะแนง พะว้าพะวง พะอืดพะอม รำสำ่ ระสาย ละคร ละเมยี ดละไม ละโมบ
ละเอียด สะกด สะดุ้ง สะคราญ สะพรัง่ สะเพรา่ สะระแหน่ สะโอดสะอง สะดวก สะพาน อะลุ้มอลว่ ย อะไหล่
เถระ สรณะ วฒั นะ วชิระ อัจฉรยิ ะ ฉนั ทะ วรี ะ
20
๒. คำทีไ่ มป่ ระวสิ รรชนีย์ มีวิธีการดังนี้
๒.๑ มคี ำไทยแท้พยางค์เดียว คือ ธ (ท่าน) ณ (ใน)
๒.๒ คำท่ีเป็นอกั ษรนำ เช่น สมาน ขยาย แถลง ตลาด ฉลาด ถวาย จมกู ตลก ฉลวย
๒.๓ คำสมาส เชน่ จิตแพทย์ มาฆบชู า อสิ รภาพ ลกั ษณนาม ภารกจิ ยทุ ธวิธี อาชวี ศกึ ษา
ทกั ษสมั พันธ์ วัฒนธรรม สุขศึกษา
ตัวอยา่ งคำทีไ่ ม่ประวิสรรชนีย์
ขโมย ขมกุ ขมัว ขยกั ขยอ่ น จรติ ฉบับ เฉพาะ ชมดชมอ้ ย ชมา้ ย ชโลม ชอมุ่ ตลิ่ง ตวดั ทโมน ทยอย
ทแยง เนรนาด พังทลาย พนัน พยกั ปรมั ปรา ผอบ รโหฐาน อำมหิต อตุ พติ อพั าต อนิ ทผลัม อเนก
อเนจอนาถ พลงั ชบา นานปั การ ศลิ ปศกึ ษา โบราณวตั ถุ หตั ถกรรม พลศกึ ษา
๓. การใช้ รร (ร หัน)
๓.๑ เปน็ คำท่ีแผลงาจากคำซึ่งมีตัว ร กลำ้ กับพยัญชนะอ่นื และหลัง ร มสี ระอะ เช่น คระไล
เป็น ครรไล ประจง เป็น บรรจง กระเชียง เป็น กรรเชยี ง กระโชก เปน็ กรรโชก ประโลม เป็น บรรโลม
๓.๒ คำที่มาจาก ร เรผะ(ร)ฺ ในภาษสนั สกฤต ให้เปลย่ี นเป็น รร เชน่ ธรมฺ เป็น ธรรม ครฺภ
เปน็ ครรภ หรษฺ เปน็ หรรษ สรวฺ เป็น สรรพ สวรฺค เปน็ สวรรค์
ตัวอย่างคำที่ใช รร หนั
ภรรยา มรรค ขรรค์ พรรค สรรพ อปุ สรรค สรา้ งสรรค์ ธรรมดา ผิวพรรณ วรรณะ อรรณพ
สรรพนาม มรรยาท ธรรมชาติ ไอศวรรย์ สรรเสริญ กรรไกร กรรโชก กรรชิง จรรโลง บรรทม บรรสาน บรรดา
บรรทุก บรรเทา บรรเจดิ บรรจบ กรรพุม่ ครรชติ ครรไล บรรยาย บรรษัท บรรจง พรรดึก พรรษา อาถรรพ
เวท
๔. การใช้ ณ มีวธิ ีการดงั นี้
๔.๑ คำบาลสี ันสกฤต ทม่ี ีตัวสะกดใน แม่ กน ถ้าตัวตามเปน็ พยญั ชนะวรรค ฏ (ฏ ฐ ฑ ฒ
ณ) หรอื ห ตวั สะกดตอ้ งใช้ ณ เช่น อุณหภูมิ ตัณหา กณุ ฑล สัณฐาน กัณหา
๔.๒ คำบาลีสันสกฤต เมอ่ื ข ฤ ร ษ อยูห่ น้าตัว “นอ” ให้ใช้ ณ เสมอ เช่น ขณะ ลกั ษณะ
โฆษณา ประณีต กรุณา โบราณ บรู ณะ ตฤณ
๔.๓ คำไทยทใี่ ช้ ณ แตโ่ บราณ เช่น ณ ฯพณฯ เณร
ตวั อย่าง กรณี เกษียณอายุ ปฏภิ าณ ประณต พาณิช(พ่อค้า) อุณาโลม อปั ระมาณ อาจิณ ทักษิณ
ปรณิ ายก พาราณสี อารมณ์ มว้ ยมรณ์ วจิ ารณ์ อุทธรณ์ ปฏสิ งั ขรณ์ อุทาหรณ์ นารายณ์
๕. การใช้ น มวี ธิ ีการดงั นี้
๕.๑ ใชใ้ นคำไทยทว่ั ไป เช่น ใน นอน นิ่ง แน่น หนู ฯลฯ
๕.๒ คำบาลีสันสกฤต ที่มตี วั สะกดอยูใ่ นมาตราแม่ กน มตี วั สะกดตัวตามทเี่ ป็นพยญั ชนะ
วรรค ตะ (ต ถ ท ธ น) เช่น มัทนะ วันทนา ขนั ที นินทา สนั ถาร ชนนี ฯลฯ
๕.๓ ใช้ในคำบาลสี นั สกฤตทวั่ ไปทไี มอ่ ยู่ในหลักการใช้ ณ เชน่ ชน สถาน นารี กรนิ นคร
ฯลฯ
21
๕.๔ ใช้ในคำท่มี าจากภาษาอน่ื เช่น ญป่ี ุ่น ไนโตรเจน ละติน จนี ปนิ่ โต นโปเลยี น ฯลฯ
ตวั อยา่ ง กังวาน กันแสง กำนนั กนั ดาร ของกำนลั ชุลมุน ชนั สตู ร ฌาน ตระเวร ตานขโมย
ทโมน เนรนาด ประนปี ระนอม เมตตาปรานี ปฏสิ นั ถาร พรรณนา พุดตาน มลทิน รโหฐาน รญั จวน เวนคืน
สนิ บน สันโดษ สนั นิฐาน อเนจอนาถ สงกรานต์ อวสาน อุปโลกน์
๖. การใช้ ซ – ทร มวี ิธกี ารดงั น้ี
๖.๑ การใช้ ซ ออกเสียง ซอ มีดงั นี้ คำไทยแท้ออกเสียง ซอ มักใช้ ซ เสมอ เชน่ ซบ ซึม ซบั
ซ่าน ซาก ซมึ ซาบ ไซ โซก ซาบซ่า แซม ซอกแซก แซง ,คำทีม่ าจากภาษาจนี เชน่ ซนิ แส แซยิด แซ่ เซียมซี
ไซโคลน
๖.๒ การใช้ ทร ออกเสยี ง ซ มหี ลกั ดังน้ี คำท่มี าจากภาษาเขมร เชน่ ไทร แทรก ฉะเชิงเทรา
เทริด ทรวง ,คำที่มาจากภาษาสนั สกฤต เชน่ ทรัพย์ มทั รี อินทีรย์ นนทรี อนิ ทรี
๗. การใชต้ ัวการนั ต์(ไม้ทัณฑฆาต) มีวิธกี ารดังน้ี
๗.๑ คำทมี พี ยญั ชนะตอ่ ทา้ ยตวั สะกดถ้าไม้องการออกเสียงให้ใส่ไมท้ ัณฑฆาตไว้บนพยัญชนะ
ตวั สุดทา้ ยของคำ
๗.๒ คำทีม่ าจากภาษาต่างประเทศใหเ้ ขยี นตวั การนั ต์เพ่ือออกเสยี งตัสะกดได้ถูกตอ้ งและ
รักษารปู ศัพทเ์ ดิม เชน่ ชอล์ก ฟลิ ม์ การ์ตูน บิลล์ ฟาร์ม
ตัวอยา่ งคำท่มี ีตวั การันต์
กาญจน์ ตน้ โพธิ์ สรรพ์ เลห์ ทกุ ข์ สงฆ์ องค์ องก์ ขรรค์ หัตถ์ บริสทุ ธ์ิ ประสทิ ธิ์ อาถรรพณ์ อโุ มงค์
ธุดงค์ รามเกยี รติ์ คำวิเศษณ์ โจทยเ์ ลข โจทก์จำเลย จุลทรรศน์ เดยี ดฉนั ท์ นัยน์ตา ยานัตถ์ุ ลูกบาศก์
ปาฏหิ ารยิ ์ ผลานสิ งส์ พชื พนั ธ์ุ พิสูจน์ สายสญิ จน์ มัคคเุ ทศก์ ศึกษานเิ ทศก์ รังสฤษฏ์ วงศ์วาน ปาติโมกข์ หงส์
อุปโลกน์ อัศจรรย์ อานิสงส์ พรหมจรรย์ สังหรณ์ อุปัชฌาย์ อัฒจนั ทร์ อุทาหรณ์ อุทธรณ์ นกั ปราชญ์ สกนธ์
ผูเ้ ยาว์ เปอร์เซ็นต์ เดลินิวส์ โปสเตอร์ รถเมล์ จกุ คอร์ก ฟวิ ส์ ฟสิ กิ ส์ ฟวิ ส์ ตอรป์ โิ ด ซีเมนต์ ไนต์คลบั เชียร์
ซกิ าร์ สวิตซ์
ตัวอย่างคำท่ไี ม่มตี ัวการนั ต์
เซน็ ชอื่ จำนง สำอาง ดำรง กระแส วิเศษ ไขม่ ุก จักพรรดิ จักวรรดิ โล่ สิงโต ปลน้ สะดม หนงั สอื อุเทศ
ดำริ พะอง นิตยา นัยนา สถิต บว่ งบาศ ผูกพนั มดื มน ปฐมนิเทศ ยอ่ มเยา อาจิณ เกม เฟิน ฉันมิตร เกียรติ
๘. การเขียนคำท่อี กเสียง อำ
๘.๑ การใช้สระ อำ มวี ธิ ีการดงั นี้
๘.๑.๑ ใชใ้ นคำไทยทวั่ ไป เช่น ทองคำ ลกู ประคำ ลำอ้อย รำมะนา ฯลฯ
๘.๑.๒ ใชใ้ นคำแผลงทม่ี าจากภาษาบาลสี ันสกฤตและภาษาเขมร เช่น ตริ เป็น ดำริ
ตรวจ เป็น ตำรวจ แข็ง เปน็ กำแหง รวิ เปน็ รำไพ อมฤต เปน็ อำมฤต
๘.๑.๓ ใชใ้ นคำภาษาอ่ืนๆทีน่ ำมาเขียนตามอักขรวธิ ีไทย เชน่ กำปน่ั กำมะลอ กำยาน
สำปัน่ กำมะหย่ี ตำมะหงง
ตวั อย่างคำทอ่ี อกเสยี ง อำ
22
อำเภอ ฮุนหนำ กำปง กำปนั้ กำแหง อำนาจ กำพดื ดำรง กำยำ ตำนาน จำนำ รำพนั กำบงั อำพน
สำมะโนครวั สำเนา คำรน สำราญ นำเรอ ไพ กำมลาสน์ ชำนิ กำหมดั กำเหน็จ บำบดั ชำนาญ จำนง
๘.๒ การใช้สระ อมั มีวธิ กี ารใชด้ งั น้ี
๘.๒.๑ คำที่มาจากภาษาบาลีและสันสกฤตทอี่ อกเสยี ง อะ และมี ม สะกด เชน่ อัมพร สัมผสั
อุปถัมภ์ สมั พนั ธ์ กัมพล คัมภีร์ สมั ภาษณ์ อมั พิกา
๘.๒.๒ คำทีม่ าตากภาษาอื่นนอกจากบาลีและสนั สกฤต เช่น ปั้ม อัลบม้ั กโิ ลกรัม สกรัม สเปกตรัม
กมั มันตภาพ
ตัวอย่างคำทีอ่ อกเสยี ง อมั
สัมฤทธิ์ บุษราคัม กมั พูชา อนิ ทผลมั สมั มนา สมั ภาษณ์ สัมประสิทธิ์ ปกรณัม สมั ปรายภพ สัมพัทธ์
สัมปทาน สมั ปชัญญะ สมั มาชีพ นมั เบอร์ คอลมั น์ บุษราคมั กมั ปนาท อัมพา อมั พาต สัมพันธ์ สัมภเวสี
สมั ภาระ
๘.๓ การใชสระ อำม ใชก้ บั คำในภาษาบาลแี ละสนั สกฤตที่มาจากคำ “อม” เช่น อำมาตย์ มาจาก
อมาตย์ อำมรนิ ทร์ จาก อมรินทร์ อำมร มาจาก อมร อำมฤต มาจาก อมฤต
๘.๔ การใช้สระ _รรม ใช้กับคำที่มาจาก รฺ (ร เรผะ) ในภาษาสนั สกฤตและ ตาม เช่น ธรรม มาจาก
ธรฺม กรรม มาจาก กรฺม
๙. การเขียนคำพ้องเสียง
การเขียนคำพ้องเสียง คือ คำที่ออกเสยี งเหมือนกนั แตก่ ารเขียนตา่ งกนั และควาหมายตา่ งกนั แยก
ได้ ๓ ชนดิ คือ
๙.๑ คำทใ่ี ชร้ ปู วรรณยุกต์ต่างกันโดยการใชอ้ ักษรทมี่ ีเสยี งคู่กนั คือ อักษรสูงกับอกั ษรตำ่
เชน่ ค่า กับ ขา้ เทา่ กับ เถ้า ยา่ กบั หญ้า
๙.๒ คำท่ใี ช้ ใ ไ อัย ไนย เชน่ ใน ใจ ไจไหม หมาใน ความหมาย ภูวไนย
๙.๓ คำทีเขียนตา่ งกนั เช่น เลอื กสรร สังสรรค์ พรอ้ มสรรพ สุขสนั ต์
ตวั อยา่ งคำพ้องเสยี ง เกรด็ ความรู้ กาลเวลา เกรียงไกร เกล็ดปลา การงาน ห่างไกล ไตร
มาส กาพย์กานท์ จณั ฑาล เมรุมาศ ดวงจนั ทร์ ตัวอย่างแบบทดสอบ
การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง
การเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง (Self-Directed Learning : SDL)
การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง คือ กระบวนการเรียนรู้ทีผ่ เู้ รยี นริเร่ิมการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง ตามความสนใจ
ความต้องการ และความถนัด มเี ปา้ หมาย ร้จู ักแสวงหาแหลง่ ทรัพยากรของการเรียนรู้ เลอื กวธิ กี ารเรียนรู้
จนถงึ การประเมนิ ความก้าวหน้าของการเรียนรขู้ องตนเอง โดยจะดำเนินการดว้ ยตนเองหรือร่วมมือชว่ ยเหลือ
กบั ผู้อน่ื หรือไม่กไ็ ด้
วัตถปุ ระสงค์การเรียนรู้ด้วยตนเอง
การเรยี นรดู้ ้วยตนเองเป็นคุณลกั ษณะทสี่ ำคญั ตอ่ การดำเนนิ ชวี ติ ท่มี ีประสิทธภิ าพ ซ่งึ มีความ
จำเป็นอย่างย่งิ สำหรับการศึกษาในปจั จบุ ันทจี่ ะต้องมีส่งเสริมใหบ้ คุ คลมีคณุ ลักษณะของการช้ีนำตนเองในการ
23
เรียนรเู้ พื่อใหบ้ ุคคลมีประสบการณ์ และมีศักยภาพในการแสวงหาความรเู้ พ่ือเปน็ พน้ื ฐานในการศึกษาตลอด
ชวี ิตต่อไป
การเรียนรดู้ ว้ ยตนเองมลี ักษณะดงั นี้ (พัชรี พลาวงศ์, ๒๕๓๖, หนา้ ๘๔-๘๕)
๑. Availability วิธเี รยี นชนิดนี้จะเรยี น เมือ่ ไรที่ไหน ก็ได้ตามความพอใจโดยเลือกเรยี นตามเวลา
ท่ีผู้เรยี นว่าง ทำใหผ้ ู้เรยี นเรียนได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ แตกต่างจากผู้เรียนบางคนทำให้การเรียนลม้ เหลวได้
๒. Self-paced เม่อื ผ้เู รยี นเลือกสถานทีไ่ ด้ตามความพอใจแลว้ ผเู้ รียนจะใช้เวลาในการทำความ
เขา้ ใจบทเรยี นไดเ้ ตม็ ที่ บางคนอาจใช้เวลา ๑ ช่วั โมงต่อหนึง่ บทเรยี น บางคนอาจใชเ้ วลา ๕ ชว่ั โมงก็ได้ แต่
ประสทิ ธภิ าพเทา่ กัน คือ เขา้ ใจทั้งบทเรียน เน่อื งจากความสามารถในการรบั รูข้ องผเู้ รยี นแต่ละคนย่อมไม่
เท่ากัน
๓. Objectives แบบเรยี นทผ่ี ้เู รียนเรียนด้วยตนเอง ต้องบอกวัตถปุ ระสงค์ในแตล่ ะบทไวใ้ ห้
ชัดเจนเพราะถา้ ผู้เรียนสามารถตอบคำถามของวตั ถุประสงค์ไดท้ ้ังหมดแสดงว่าผ้เู รยี นเขา้ ใจบทเรยี นนั้นๆ
๔. Interaction การมปี ฏสิ ัมพันธก์ ันในขณะเรียน ช่วยให้ผเู้ รยี นสนกุ กบั การเรียน โดยผู้สอนอาจ
ชแี้ นะหรอื ให้การปรกึ ษาเกีย่ วกับการวางแผนกจิ กรรมการเรยี น
๕. Tutor Help ผสู้ อนมีหน้าที่ให้ความช่วยเหลอื ในการเรียนรแู้ กผ่ เู้ รยี น
๖. Test as Learning Situation ในบทเรยี นหน่งึ ๆ จะมีแบบทดสอบ ซึ่งใชเ้ ป็นเครอ่ื งมือวัด
ตามวัตถปุ ระสงค์ ไม่ใชก่ ารประเมินผลการเรียนเพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนสอบได้หรือตก หรือในภาคปฏบิ ตั ิอาจใช้วธิ ี
ทดสอบเป็นรายบุคคล
๗. การเลอื กวธิ ีเรียน ผเู้ รยี นแต่ละคนยอ่ มมวี ิธีเรียนแบบท่ีตนชอบ ฉะนัน้ ผเู้ รียนสามารถเลอื กวิธี
เรยี นท่ีเหมาะกับตนเอง ขณะเดียวกนั ผู้เรียนก็มีอิสระในการเลือกเรียนบทเรียนก่อนหลังได้การเรยี นรู้ดว้ ย
ตนเอง (self-directed learning) เปน็ วธิ ีการเรยี นรู้ทท่ี ำให้ผเู้ รยี นมคี วามตระหนักและรับผิดชอบตอ่ แผนการ
เรียนของตนเอง ผู้เรียนจะทำการวางแผนและกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้ เลอื กแหลง่ ข้อมูลเลือกวธิ ีการเรียนรู้
และการประเมินผลดว้ ยตนเอง โดยจะมผี ชู้ ่วยเหลอื หรอื ไม่มผี ชู้ ่วยเหลอื กไ็ ดร้ ปู แบบกจิ กรรมที่ส่งเสริมการ
เรียนรู้ด้วยตนเองวัฒนาพร ระงบั ทุกข์ (๒๕๔๕ : ๕๐-๕๑) ได้เสนอหลักการจดั การเรียนร้เู พื่อสง่ เสรมิ การเรยี นรู้
ด้วยตนเอง ดงั นี้
๑. ศกึ ษาผูเ้ รียนเปน็ รายบุคคล เนอื่ งจากผเู้ รียนแต่ละคนมีความแตกตา่ งกันทงั้ ในด้านความสามารถใน
การเรยี นรู้ วิธกี ารเรยี นรู้ เจตคติ ฯลฯ ดงั นน้ั การจัดการเรียนรูจ้ ึงต้องคำนงึ ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล
โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งด้านความสามารถในการเรยี นรู้ และวิธีการเรยี นรู้ โดยจัดการเรยี นรู้ เนอื้ หา และสื่อที่เอ้อื
ต่อการเรียนรู้รายบุคคล รวมท้งั เปิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนไดน้ ำเอาประสบการณ์ของตนมาใช้ในการเรียนรู้ดว้ ย
๒. จดั ใหผ้ เู้ รยี นมีส่วนรับผดิ ชอบในการเรยี น การเรียนรจู้ ะเกดิ ข้ึนไดด้ เี มอ่ื ผเู้ รียนมีสว่ นรว่ มรบั ผิดชอบ
การเรยี นร้ขู องตนเอง ดังนั้น การจัดการเรยี นรูจ้ ึงควรเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนมีบทบาทต้ังแต่ การวางแผนกำหนด
เปา้ หมายการเรียนท่สี อดคลอ้ งกับความต้องการของตน หรือกลมุ่ การกำหนดกิจกรรมการเรยี นรู้ สอ่ื การเรียน
การเลอื กใชว้ ิธีการเรยี นร้กู ารใชแ้ หลง่ ข้อมลู ตลอดจนถึงการประเมินผลการเรียนของตน
24
๓. พัฒนาทักษะการเรียนร้ขู องผูเ้ รยี น การจดั การเรยี นรู้เพ่ือส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วย
ตนเองจำเปน็ อยา่ งยง่ิ ที่ผู้เรียนจะตอ้ งไดร้ บั การฝึกให้มที ักษะและยทุ ธศาสตร์การเรยี นรู้ที่จำเป็นตอ่ การเรยี นรู้
ดว้ ยตนเอง เช่น การบนั ทึกข้อความ การจัดประเภทหมวดหมู่ การสังเกตการแสวงหาและใชแ้ หล่งความรู้
เทคโนโลยีและสอื่ ทสี่ นับสนนุ การเรียนรวมท้งั เปดิ โอกาสให้ผ้เู รียนไดม้ ปี ระสบการณ์ในการตัดสินใจ แก้ปญั หา
กำหนดแนวทางการเรยี นรู้ และเลอื กวิธกี ารเรยี นรู้ทเ่ี หมาะสมกบั ตนเอง
๔. พัฒนาทักษะการเรียนรู้รว่ มกับผู้อ่นื การเรยี นรู้ดว้ ยตนเองไมไ่ ด้หมายความว่าผเู้ รียนตอ้ งเรียนคน
เดียว โดยไม่มีช้ันเรยี นหรอื เพื่อนเรียน ยกเว้นการเรยี นแบบรายบุคคล โดยทัว่ ไปแล้ว ในการเรียนร้ดู ้วยตนเอง
ผเู้ รยี นจะไดท้ ำงานร่วมกบั เพ่ือน กับครูและบุคคลอื่นๆ ทีเ่ ก่ียวข้องดังน้นั จงึ ต้องพฒั นาทักษะการเรียนรรู้ ่วมกบั
ผ้อู ่นื ให้กบั ผู้เรียนเพอ่ื ให้ร้จู กั การทำงานเป็นทีม โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การทำกิจกรรมกล่มุ ร่วมกบั เพือ่ นท่ีมคี วามรู้
ความสามารถ ทักษะเจตคตทิ ่ีแตกต่างกัน เพื่อใหส้ ามารถแลกเปล่ยี นเรียนรู้ และแบง่ หน้าทคี่ วามรับผิดชอบใน
กระบวนการเรียนรู้
๕. พฒั นาทักษะการประเมินตนเอง และการร่วมมอื กนั ประเมินในการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง ผู้เรียนเปน็ ผู้
มบี ทบาทสำคัญในการประเมินการเรียนรู้ ดงั นั้น จงึ ต้องพัฒนาทักษะการประเมนิ ให้แก่ผเู้ รยี น และสรา้ งความ
เข้าใจให้แกผ่ ูเ้ รียนวา่ การประเมนิ ตนเองเป็นส่วนหนง่ึ ของระบบประเมินผล รวมทง้ั ยอมรับผลการประเมนิ จาก
ผอู้ ่ืนดว้ ย นอกจากนตี้ ้องจัดให้ผู้เรียนไดร้ ับประสบการณก์ ารประเมินผลหลาย ๆ รูปแบบ
๖. จัดปจั จัยสนบั สนนุ การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเองของผู้เรียน สภาพแวดล้อมเป็นปจั จัยสำคญั อย่างหนึ่งใน
การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง ดังนัน้ บริเวณในโรงเรียนจึงต้องจดั ใหเ้ ป็นแหลง่ ความร้ทู นี่ ักเรียนจะคน้ คว้าด้วยตนเองได้
เช่น ศนู ยว์ ิทยาการ บทเรียนสำเรจ็ รปู ชดุ การสอน ฯลฯ รวมทง้ั บคุ ลากร เชน่ ครปู ระจำศนู ยว์ ทิ ยบริการทช่ี ว่ ย
อำนวยความสะดวกและแนะนำเมื่อผู้เรียนต้องการดงั นัน้ หลกั การจัดการเรยี นรูเ้ พื่อสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ด้วย
ตนเองผู้จัดกจิ กรรมต้องศึกษาผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คล จดั ให้ผู้เรยี นมีสว่ นรบั ผดิ ชอบในการเรียน พฒั นาทักษะการ
เรยี นรู้ของผู้เรียน พัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้รว่ มกับผอู้ ืน่ พฒั นาทักษะการประเมนิ ตนเอง และการรว่ มมือกนั
ประเมินและจัดปจั จัยสนับสนุนการเรยี นร้ดู ้วยตนเองของผู้เรยี นในสังคมแหง่ การเปล่ยี นแปลงทท่ี ว่ั โลกเต็มไป
ดว้ ยข่าวสารและข้อมูลตา่ งๆ ท่ีลว้ นสง่ ผลกระทบตอ่ การดำเนินชวี ิตและการตดั สนิ ใจของผคู้ นอยา่ งหลีกเล่ยี ง
ไม่ได้ ผูท้ ี่สามารถเข้าถึง และมคี วามแม่นตรงของข่าวสารและข้อมลู มากกวา่ ย่อมตดั สนิ ใจในส่ิงตา่ งๆ ได้อย่าง
เหมาะ สมและถูกตอ้ ง การรบั รูข้ า่ วสารและข้อมลู เหล่าน้เี ก่ียวขอ้ งโดยตรงกบั การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ บน พื้นฐาน
ของการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง เรียนรู้ดว้ ยตนเอง คอื กระบวนการเรยี นร้ทู ผ่ี ู้เรียนริเริม่ การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ตาม
ความสนใจ ความต้องการ และความถนัดมีเปา้ หมาย ร้จู กั แสวงหาแหลง่ ทรพั ยากรของการเรียนรู้ เลอื กวิธีการ
เรยี นรู้ จนถึงการประเมินความกา้ วหน้าของการเรยี นรู้ของตนเอง โดยจะดำเนนิ การด้วยตนเองหรอื ร่วมมือ
ชว่ ยเหลอื กับผู้อืน่ หรอื ไม่กไ็ ด้
วัตถปุ ระสงค์การเรยี นรู้ด้วยตนเอง
การเรียนรู้ด้วยตนเองเปน็ คุณลกั ษณะทีส่ ำคัญต่อการดำเนนิ ชีวิตทมี่ ปี ระสิทธิภาพ ซ่ึงมีความจำเปน็
อยา่ งยิ่งสำหรบั การศึกษาในปัจจุบันทีจ่ ะต้องมีส่งเสรมิ ใหบ้ ุคคลมคี ุณลักษณะของการชนี้ ำตนเองในการเรยี นรู้
เพ่ือให้บคุ คลมีประสบการณ์ และมศี ักยภาพในการแสวงหาความร้เู พื่อเป็นพื้นฐานในการศกึ ษาตลอดชีวิตต่อไป
25
การเรียนร้ดู ้วยตนเองมีแนวคดิ พ้ืนฐานมาจากทฤษฎกี ลมุ่ มานษุ ยนยิ ม (Humanism) ซง่ึ มีความเช่ือเร่อื ง
ความเปน็ อิสระ และความเป็นตัวของตวั เองของมนุษย์ ดังท่ีมีผกู้ ลา่ วไว้วา่ มนษุ ย์ทกุ คนเกดิ มาพรอ้ มกับความดมี ี
ความเป็นอสิ ระเป็นตวั ของตวั เองสามารถหาทางเลือกของตนเองมีศกั ยภาพและพัฒนาศักยภาพของตนเอง
อย่างไมม่ ีขดี จำกัดมคี วามรับผิดชอบต่อตนเองและต่อผ้อู ่ืน ซ่งึ เปน็ แนวคิดทส่ี อดคล้องกับนักจติ วทิ ยามานุษย
นิยม (Humanistic Psychology) ทใี่ ห้ควาสำคัญในฐานะทผ่ี ู้เรยี นเป็นปจั เจกบุคคล และมีแนวคิดว่า มนุษย์
ทุกคนมศี กั ยภาพ และมีความโน้มเอยี งท่จี ะใสใ่ จ ใฝ่รู้ ขวนขวายเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง มนษุ ย์สามารถรบั ผิดชอบ
พฤติกรรมของตนเองและถือว่าตนเองเป็นคนทม่ี ีค่า
การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง มกี ระบวนการ ดังต่อไปนี้
1. การประเมนิ ความต้องการของตนเอง (Assessing Needs)
2. การกำหนดจุดมุ่งหมาย (Setting goals)
3. การกำหนดส่ิงท่ีต้องการเรยี นรู้ (Specifying learning content) โดยกำหนดระดับความยากง่าย
ชนิดของส่ิงทต่ี ้องการเรียน พิจารณาเกี่ยวกับคา่ ใช้จ่ายทีต่ ้องใช้ในการเรยี น ความต้องการความ
ช่วยเหลอื แหลง่ ทรัพยากร ประสบการณ์ ท่ีจำเปน็ ในการเรียน
4. การจดั การในการเรยี น โดยกำหนดปริมาณเวลาทต่ี ้องการให้อาจารยส์ อน ปริมาณเวลาที่ต้องการให้มี
ปฏสิ มั พันธ์ระหวา่ งอาจารย์กับผู้เรียน ปรมิ าณเวลาท่ตี อ้ งการใหม้ ีปฏิสมั พนั ธ์ระหว่างผู้เรียนกบั ผเู้ รียน
ปริมาณเวลาทตี่ ้องการใหก้ บั กิจกรรมการเรยี นดว้ ยตนเองของแต่ละคน โดยกำหนดกจิ กรรมการเรยี น
ตามประสบการณท์ ่ีผา่ นมา พรอ้ มทง้ั กำหนดวา่ กิจกรรมควรสิน้ สุดเมื่อใด
5. การเลอื กวิธีการเรยี นและสือ่ การเรยี นการสอน อุปกรณ์การสอน เทคนิคการสอน ทรพั ยากรการ
เรยี นรทู้ ่ีตอ้ งใช้
6. การกำหนดวิธกี ารควบคุมส่ิงแวดล้อมในการเรยี นรู้ ทั้งสงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพ และทางด้านอารมณ์
7. การกำหนดวธิ ีการตรวจสอบตนเอง โดยกำหนดวธิ ีการรายงาน/บันทึกการสะท้อนตนเอง จะใช้
reflective practitioner techniques แบบไหน การใหโ้ อกาสไดฝ้ กึ ตัดสินใจ การแกป้ ัญหา และการ
กำหนดนโยบาย การเปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รียนสามารถ clarify ideas ให้ชัดเจนข้นึ
8. การกำหนดขอบเขตบทบาทของผู้ช่วยเหลือ
การกำหนดวธิ กี ารประเมินผลการเรียนโดยเลอื กประเภทของการทดสอบลักษณะของกาFeedbackท่ีจะใช้
วิธีการประเมินความถกู ต้องของผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นและการตดิ ตามประเมินผล
รปู แบบการเรยี นรู้ด้วยตนเอง
1. การทำสมดุ บันทึกสว่ นตัวเพื่อใชบ้ นั ทึกข้อมลู ความคิดเร่ืองราวตา่ งๆทเ่ี ราไดเ้ รยี นร้หู รอื เกิดขนึ้ ในสมอง
ของเราสมุดน้จี ะช่วยเกบ็ สะสมความคิดทลี ะน้อยเข้าไวด้ ้วยกนั เพ่ือเปน็ แนวทางในการศกึ ษาเพิ่มเตมิ
ใหก้ ว้างไกลออกไป
2. การกำหนดโครงการเรียนร้รู ายบคุ คลท่ีมีการวางแผนไวล้ ว่ งหนา้ ว่าจะเรยี นร้อู ยา่ งไรโดยพิจารณาว่าา
ความรทู้ เี่ ราจะปสวงหานน้ั ช่วยให้เราถงึ จุดประสงคท์ ี่ตง้ั ไว้หรอื ไม่ทำใหเ้ กิดความพึงพอใจ ความ
สนุกสนานที่จะเรียนหรือไม่ ประหยดั เงินและเวลามากน้อยเพยี งใด
26
3. การทำสัญญาการเรยี น เปน็ ข้อตกลงระหวา่ งผูส้ อนกับผูเ้ รียน โดยอยบู่ นพ้นื ฐานความต้องการของ
ผเู้ รยี นท่ีสอดคล้องกบั เป้าหมายและหลักการของสถาบันการศกึ ษาโดยกำหนดกจิ กรรมการเรียนที่
เหมาะสม
4. การสร้างหอ้ งสมุดของตนเองหมายถึงการรวบรวมรายช่อื ข้อมูล แหล่งความรูต้ า่ งๆ ที่คิดวา่ จะเป็น
ประโยชนต์ รงกับความสนใจเพ่อื ใชใ้ นการศึกษาคน้ ควา้ ต่อไป
5. การหาแหล่งความรู้ในชมุ ชนเชน่ ผู้รู้ผู้ชำนาญในอาชพี ต่างๆ ห้องสมดุ สมาคม สถานทีร่ าชการ ฯลฯ ซ่ึง
แหลง่ ความรูเ้ หล่านีจ้ ะเปน็ แหลง่ สำคัญในการค้นควา้
6. การหาเพ่ือนร่วมเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนความร้กู ัน
7. การเรียนรู้จากการฝึกและปฏบิ ตั ิ ซึ่งจะก่อให้เกดิ ความรู้และประสบการณ์ทเ่ี ป็นประโยชน์
ลกั ษณะของผู้ทม่ี กี ารเรยี นรู้ด้วยตนเอง
1. มคี วามสมัครใจทจี่ ะเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง (Voluntarily to Learn) มไิ ดเ้ กิดจากการบงั คบั แต่มีเจตนาที่
จะเรยี นด้วยความอยากรู้
2. ใช้ตนเองเป็นแหล่งข้อมลู ของตนเอง (Self Resourceful) น่ันคือผู้เรียนสามารถบอกได้ว่าสิง่ ท่ตี นจะ
เรียนคืออะไร ร้วู า่ ทกั ษะและขอ้ มูลที่ตอ้ งการหรือจำเป็นต้องใช้มีอะไรบ้าง สามารถกำหนดเป้าหมาย
วิธีการรวบรวมข้อมูลที่ต้องการ และวิธกี ารประเมนิ ผลการเรียนรู้ ผเู้ รียนตอ้ งเปน็ ผูจ้ ดั การการ
เปลีย่ นแปลงตา่ ง ๆ ด้วยตนเอง (Manage of Change) ผ้เู รียนมีความตระหนักในความสามารถ
สามารถตัดสนิ ใจได้ มีการรบั ผดิ ชอบต่อหนา้ ท่ีและบทบาทในการเปน็ ผูเ้ รียนรู้ท่ดี ี
3. รู้ "วิธีการทจ่ี ะเรยี น" (Know how to Learn) นน่ั คือ ผู้เรยี นควรทราบขนั้ ตอนการเรียนรู้ของตนเอง รู้
วา่ เขาจะไปสู่จดุ ท่ที ำให้เกิดการเรียนร้ไู ด้อยา่ งไร
4. มบี ุคลกิ ภาพเชงิ บวก มแี รงจูงใจ และการเรียนแบบร่วมมือกบั เพื่อนหรอื บุคคลอ่ืน ตลอดจนการให้
ข้อมูล (ปฐมนเิ ทศ) ในเชงิ บวกเกีย่ วกับสงิ่ แวดลอ้ มในการเรียน(Charismatic Organizational
Player)
5. มีระบบการเรียนและการประยุกตก์ ารเรยี นและมีการชื่นชมและสนุกสนานกบั กระบวนการเรียน
(Responsible Consumption)
6. มีการเรียนจากข้อผิดพลาดและความสำเร็จ การประเมนิ ตนเองและความเขา้ ใจถึงศักยภาพของตน
(Feedback and Reflection)
7. มคี วามพยายามในการหาวิธีการใหม่ๆในการหาคำตอบ การประยุกต์ความรูท้ ี่ไดจ้ ากการเรียนไปใช้กบั
สถานการณ์ของแต่ละบุคคลการหาโอกาสในการพัฒนาและค้นหาขอ้ มูลเพ่ือแกป้ ัญหา(Seeking and
Applying)
8. มกี ารชีแ้ นะการอภิปรายในห้องเรียนการแสดงความคดิ เห็นสว่ นตัวและการพยายามมคี วามเห็นที่
แตกต่างไปจากผู้สอน (Assertive Learning Behavior)
9. มีการรวบรวมขอ้ มลู จากการไดป้ ฎิสมั พนั ธ์กับบุคคลและมีวิธกี ารนำข้อมูลทีไ่ ดไ้ ปใช้ (Information
Gathering)
27
สงิ่ ท่เี ป็นตวั กำหนดศกั ยภาพของการเรยี นแบบ Self-Directed Learning คือ ความสามารถ
และความตงั้ ใจของ
บุคคล นั่นคอื ผูเ้ รยี นมีทางเลือกเกี่ยวกบั ทศิ ทางท่ีต้องการไปแตส่ ง่ิ ทจี่ ะต้องมีควบคูก่ นั ไปด้วยคอื ความ
รับผดิ ชอบและการยอมรับต่อสง่ิ ทจี่ ะตามมาจากความคิดและการกระทำของตนเอง
ผ้เู รยี นแบบ Self-Directed จะประสบความสำเร็จได้มกั จะมีลักษณะที่มี Self-concept ทางบวก
พรอ้ มทจี่ ะเรียนแบบ self-direction มปี ระสบการณ์ และมี styles การเรยี นเปน็ ของตนเอง โดยการเรียน
แบบนจี้ ะเน้นท่ลี ักษณะของผเู้ รียน(ปจั จัยภายใน)ทจี่ ะช่วยสรา้ งให้ผเู้ รยี นยอมรบั ความรับผิดชอบตอ่ ความคดิ
และกระทำของตนและจะให้ความสำคญั กับปัจจยั ภายนอกทชี่ ่วยให้ผู้เรยี นสามารถรบั ผิดชอบต่อการเรยี นได้
ปจั จยั ทง้ั ภายในและภายนอกนี้ จะสามารถเหน็ ได้จากความต่อเนื่องในการเรยี นรู้และสถานการณก์ ารเรียนที่
เหมาะสม
ขณะที่ลกั ษณะบุคลิกของบคุ คล การสอน กระบวนการเรยี นรู้ เป็นจดุ เร่มิ ตน้ ของการทำความเขา้ ใจ
นนั้ การเรียนแบบ Self-Directed บริบททางสังคมจะเป็นตัวกำหนดกิจกรรมการเรียน หรอื ผลทีจ่ ะได้ เพ่ือจะ
เขา้ ใจกจิ กรรมการเรยี นแบบSelf-Directedอยา่ งแทจ้ รงิ ท้ังนเี้ ราจะตอ้ งตระหนักถึงปฏิสมั พันธร์ ะหว่างผเู้ รยี น
ผูส้ อน แหล่งทรัพยากร และมิติทางสังคมด้วย
นอกจากน้ี Hiemstra ผศู้ กึ ษาถึงการเรยี นรดู้ ้วยตนเองมานานหลายทศวรรษ ไดใ้ หข้ ้อคิดเหน็ ว่า ควร
มกี ารทำงานวิจยั เพื่อศึกษาหารปู แบบของการเรียนรดู้ ว้ ยตนเองใหล้ ะเอยี ดย่ิงขึน้ หาวธิ ใี นการนำ และหาวธิ กี าร
วดั คุณภาพของการเรยี นดว้ ยวธิ นี ใ้ี หช้ ดั เจนข้ึนและศกึ ษาว่าควรจะกำหนดบทบาทของผ้สู อนและหน่วยงานที่
รบั ผิดชอบอย่างไรบ้าง
วิธกี ารแสวงหาความรูข้ องมนุษย์(Methods of acquiring knowledge)
ความร้ตู า่ งๆของมนุษย์ประกอบดว้ ยข้อเทจ็ จริงและทฤษฎีตา่ งๆ ซงึ่ เมื่อมนุษย์มีความรู้ความเขา้ ใจ สามารถท่ี
จะอธบิ าย ควบคุมหรือพยากรณ์เหตุการณ์ต่างๆในสถานการณ์ที่กำหนดใหไ้ ด้ การแสวงหาความรขู้ องมนุษย์
เป็นกระบวนการทีต่ ้องอาศัยสติปัญญาและการฝกึ ฝนต่างๆ วิธีเสาะแสวงหาความรู้ของมนุษย์ จำแนกไดด้ งั น้ี
๑. การสอบถามจากผูร้ ู้ (Authority) เช่นในสมยั โบราณ เมอ่ื เกดิ น้ำท่วมหรือโรคระบาด ผ้คู นก็จะ ถามผ้ทู ี่
เกิดก่อนว่าจะทำอยา่ งไร ซ่ึงในสมัยนั้นผู้ท่ีเกิดก่อนก็จะแนะนำให้ทำพธิ ีสวดมนต์อ้อนวอนสิง่ ศักดิ์สทิ ธิต์ า่ งๆ
ปัจจบุ นั ก็มีการแสวงหาความรู้ท่ใี ช้วิธกี ารสอบถามจากผรู้ ู้ เช่น ผ้พู ิพากษาในศาลเวลาตดั สินคดเี กีย่ วกับการ
ปลอมแปลงลายมือยังต้องอาศยั ผ้เู ชยี่ วชาญทางดา้ นลายมือให้ชว่ ยตรวจสอบให้ ขอ้ ควรระมัดระวังในการเสาะ
แสวงหาความรู้โดยการสอบถามจากผูร้ ู้คือตอ้ งม่ันใจว่าผรู้ นู้ ั้นเป็นผรู้ ใู้ นเรอื่ งที่จะสอบถามอยา่ งแท้จริง
๒. การศึกษาจากขนบธรรมเนียมประเพณี (Tradition) วิธีการเสาะแสวงหาความร้ขู องมนุษย์อกี วธิ ีหนงึ่ ที่
ใกลเ้ คียงกนั กบั การสอบถามจากผรู้ ู้ก็คือการศกึ ษาจากขนบธรรมเนียมประเพณหี รือวัฒนธรรมต่างๆ เช่น ใน
การศึกษาหาความร้เู กย่ี วกับการแตง่ กายประจำชาตติ ่างๆ ซ่ึงผใู้ ช้วิธีการแสวงหาความรู้แบบนีต้ อ้ งตระหนกั ว่า
สิ่งต่างๆทีเ่ กิดข้ึนในอดีตจนเป็นขนบธรรมเนยี มนน้ั ไม่ใชว่ า่ จะเป็นสิ่งทีถ่ ูกต้องและเท่ียงตรงเสมอไป ถา้ ศึกษา
เหตุการณต์ า่ งๆทางดา้ นประวัติศาสตรจ์ ะพบว่ามีข้อปฏบิ ตั ิหรอื ทฤษฎีต่างๆ ที่เป็นผลสบื เน่ืองมาจากวัฒนธรรม
28
หรอื ขนบธรรมเนยี มประเพณีน้ันซงึ่ ไดย้ ดึ ถอื ปฏิบัติกันมาหลายปี และพบข้อเทจ็ จริงในภายหลังถงึ ความ
ผิดพลาดข้อปฏิบัตหิ รือทฤษฎีเหล่านนั้ ก็ตอ้ งยกเลกิ ไป ดังน้ันผทู้ ีจ่ ะใช้วธิ ีการเสาะแสวงหาความรโู้ ดยการศึกษา
จากขนบธรรมเนยี มประเพณีนน้ั ควรจะไดน้ ำมาประเมนิ อย่างรอบคอบเสยี ก่อนทีจ่ ะยอมรบั ว่าเปน็ ขอ้ เท็จจรงิ
๓. การใช้ประสบการณ์ (Experience) วธิ ีการเสาะแสวงหาความร้ทู มี่ นุษย์การใช้กันอยบู่ อ่ ยๆคือ การใช้
ประสบการณ์ตรงของตนเอง เมอื่ เผชญิ ปญั หามนุษยพ์ ยายามทีจ่ ะค้นคว้าหาคำตอบในการแก้ปัญหาโดยใช้
ประสบการณ์ตรงของตนเองที่เคยประสบมา เชน่ เดก็ มักจะมคี ำถามมาถามครู บดิ ามารดา ญาติผูท้ ่ีมีอาวโุ ส
มากกวา่ บคุ ลเหล่านั้นมักจะใชป้ ระสบการรต์ รงของตนเองในการตอบคำถามหรอื แก้ปญั หาใหก้ บั เดก็ การใช้
ประสบการณ์ตรงน้ันเป็นวธิ กี ารเสาะแสวงหาความรู้ แต่ถ้าใชไ้ ม่ถูกวิธีอาจจะทำใหไ้ ดข้ ้อสรปุ ทไี่ ม่ถูกต้องได้
๔. วิธกี ารอนมุ าน (Deductive method) การเสาะแสวงหาความรโู้ ดยใช้วธิ กี ารอนมุ านนเี้ ป็นกระบวนการ
คดิ ค้นจากเรื่องทว่ั ๆไป ไปสเู่ รอื่ งเฉพาะเจาะจง หรือคดิ จากส่วนใหญ่ไปสู่ส่วนย่อย จากสง่ิ ทรี่ ู้ไปสูส่ ง่ิ ท่ีไม่รู้
วิธกี ารอนุมานน้ปี ระกอบดว้ ย
• ข้อเท็จจรงิ ใหญ่ ซง่ึ เปน็ เหตุการณท์ ่เี ป็นจริงอยู่แล้วในตวั มันเอง
• ขอ้ เท็จจรงิ ย่อย ซง่ึ มีความสมั พันธก์ ับกรณีของข้อเทจ็ จรงิ ย่อย และ
• ขอ้ สรุป(Conclusion) ถ้าข้อเทจ็ จรงิ ใหญแ่ ละขอ้ เทจ็ จรงิ ยอ่ ยเป็นจรงิ ขอ้ สรปุ กจ็ ะต้องเป็นจรงิ เชน่
สตั ว์ทุกชนิดต้องตาย สุนขั เป็นสตั วช์ นิดหน่ึง ข้อสรปุ สนุ ขั ต้องตาย
๕. วิธกี ารอปุ มาน (Inductive method) จะเรมิ่ จากสว่ นยอ่ ยไปหาสว่ นใหญ่ วธิ ีการอุปมานน้อี าจ จะ
จัดแยกเปน็ ๒ ชนดิ คือ
1. วธิ กี ารอปุ มานแบบสมบูรณ์ (perfect inductive method) เป็นวิธกี ารเสาะแสวงหาความรโู้ ดย
รวบรวมขอ้ เทจ็ จริงย่อยๆจากทุกหนว่ ยของกลุม่ ประชากร จงึ สรปุ ไปสสู่ ว่ นใหญ่ เช่นตอ้ งการทราบวา่ ผู้
ทอ่ี าศยั อยู่ในเขตกรุงเทพมหานครนบั ถอื ศาสนาอะไร กต็ ้องมาถามจากผูท้ ่ีอาศัยอยู่ใน
กรุงเทพมหานครวา่ ทกุ คนนบั ถอื ศาสนาอะไร แลว้ จงึ นำมาสรุปรวมวา่ ผู้ท่อี าศยั ในกรุงเทพมหานครนบั
ถือศาสนาอะไรบ้าง
2. วิธีการอปุ มานแบบไมส่ มบูรณ์ (Imperfect inductive method) เปน็ วิธกี ารเสาะแสวงหาความรู้
โดยรวบรวมข้อเท็จจรงิ ยอ่ ยๆจากบางสว่ นของกลมุ่ ประชากรแล้วสรปุ รวมไปสู่ส่วนใหญ่ ในทางปฏิบตั ิ
เป็นไปได้ยากที่จะรวบรวมข้อเทจ็ จรงิ ยอ่ ยๆจากทุกๆหน่วยของกลมุ่ ประชากร จึงใชว้ ิธีรวบรวม
ข้อเทจ็ จรงิ ย่อยๆจากกล่มุ ตวั อยา่ งซึ่งเป็นสว่ นหนึง่ ของกลมุ่ ประชากร
๖. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) เป็นวิธกี ารแสวงหาความรโู้ ดยใช้หลกั การของ
วิธีการอุปมานและวธิ กี ารอนุมานมาผสมผสานกนั โดยมขี น้ั ตอนการเสาะแสวงหาความรู้โดยเริม่ จากการท่ี
มนษุ ย์เร่มิ เรียนรูท้ ลี ะเล็กทีละน้อยจากประสบการณ์ตรง ความรู้เก่าๆและการสงั เกตเปน็ ต้น จนกระทัง่ รวบรวม
แนวความคดิ เป็นแนวความรู้ต่างๆทสี่ มมติขน้ึ มา ซง่ึ เปน็ วธิ ีการอุปมานและหลังจากนน้ั ก็ใช้วิธีการอนุมานใน
การแสวงหาความรทู้ ัว่ ไป โดยเรมิ่ จากสมมตฐิ านซ่งึ เป็นส่วนรวม แลว้ ศกึ ษาไปถงึ สว่ นย่อยๆเพื่อทจี่ ะศกึ ษาถึง
การหาความสัมพนั ธ์ระหว่างส่วนย่อยกบั สว่ นรวม เพอื่ ใหไ้ ด้ข้อสรุปของความรตู้ า่ งๆ
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) เป็นวิธีการแสะแสวงหาความรทู้ ี่ดีในการแก้ ปญั หาต่างๆ ไม่
29
เพยี งแต่ปัญหาทเ่ี กดิ ขึน้ ในห้องปฏบิ ตั ิการวทิ ยาศาสตร์เทา่ นั้น แต่ยังสามารถนำมาประยุกตใ์ ช้ในการแกป้ ัญหา
ทางการศึกษาไดด้ ว้ ย
ทกั ษะการสรา้ งปญั ญา
ทักษะการสรา้ งปัญญาให้กับผเู้ รยี น เพื่อนำไปสู่การแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเองมี ๑๐ ขนั้ ตอน ดังน้ี
ขน้ั ตอนท่ี ๑ ทักษะการสงั เกต คือ การสงั เกตสงิ่ ทเ่ี ราเห็น ส่งิ แวดล้อม หรือสงิ่ ท่ีเราจะศึกษา
โดยสังเกตเก่ยี วกับแหล่งทมี่ าความเหมอื น ความแตกตา่ ง สาเหตขุ องความแตกตา่ ง ประโยชน์ และ
ผลกระทบ วิธีฝกึ การสงั เกต คือ การฝกึ สมาธิ เพ่อื ใหม้ ีสติ และทำให้เกิดปัญญา มีโลกทรรศน์ มีวธิ คี ดิ
ขั้นตอนท่ี ๒ ทักษะการบนั ทึก คือ การบนั ทึกสงิ่ ที่ต้องจำหรือต้องศกึ ษามีหลายวิธี ไดแ้ ก่ การทำสรุปยอ่
การเขียนเค้าโครงเรือ่ ง การขีดเส้นใต้ การเขียนแผนภูมิ การทำเป็นแผนภาพ หรอื ทำเปน็ ตาราง เป็นตน้ วธิ ฝี กึ
การบนั ทึกคอื การบันทึกทุกคร้งั ทมี่ กี ารสงั เกต มีการฟังหรอื มีการอ่านเปน็ การพฒั นาปัญญา
ขนั้ ตอนที่ ๓ ทักษะการนำเสนอ คอื การทำความเขา้ ใจในเรื่องทจ่ี ะนำเสนอใหผ้ ู้อน่ื รบั ร้ไู ดโ้ ดยจดจำใน
สิง่ ทีจ่ ะนำเสนอออกมาอยา่ งเปน็ ระบบ ซึง่ สามารถทำไดห้ ลายรปู แบบ เช่น การทำรายงานเป็นรูปเล่ม การ
รายงานปากเปล่า การรายงานดว้ ยเทคโนโลยี เปน็ ตน้ วธิ ีฝกึ การนำเสนอ คือ การฝึกตามหลกั การของการ
นำเสนอในรูปแบบต่าง ๆ ดงั กล่าวอยา่ งสม่ำเสมอ จนสามารถนำเสนอ ได้ดซี ึ่งเปน็ การพัฒนาปญั ญา
ขน้ั ตอนที่ ๔ ทักษะการฟงั คือ การจับประเดน็ สำคัญของผู้พูด สามารถต้ังคำถามเรอ่ื งที่ฟังไดร้ ู้
จุดประสงคใ์ นการฟัง ผเู้ รยี นจะต้องคน้ หาเร่ืองสำคัญในการฟังให้ได้ วธิ ฝี กึ การฟงั คือการทำเคา้ โครงเร่ืองที่ฟัง
จดบนั ทึกความคิดหลัก หรือถ้อยคำสำคัญลงในกระดาษบนั ทกึ ท่เี ตรยี มไว้ อาจต้ังคำถามในใจ เช่น ใคร อะไร ท่ี
ไหน เม่อื ไร เพราะเหตใุ ด อย่างไร เพราะจะทำให้การฟัง มีความหมายและมปี ระสิทธภิ าพมากขึน้
ขนั้ ตอนท่ี ๕ ทกั ษะการถาม คือ การถามเรื่องสำคัญ ๆ การต้ังคำถามสน้ั ๆ เพอ่ื นำคำตอบมา เชื่อมต่อ
ให้สัมพันธก์ ับส่งิ ท่ีเรารแู้ ล้วมาเป็นหลักฐานสำหรบั ประเด็นท่กี ลา่ วถงึ สงิ่ ทที่ ำใหเ้ ราฟัง ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
คือ การถามเก่ยี วกบั ตัวเราเอง การฝกึ ถาม-ตอบ เป็นการฝึกการใชเ้ หตผุ ลวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ทำใหเ้ ขา้ ใจใน
เรื่องนัน้ ๆ อยา่ งชัดเจน ถา้ เราฟังโดยไม่ถาม-ตอบ ก็จะเข้าใจในเรือ่ งนน้ั ๆ ไมช่ ัดเจน
ขน้ั ตอนท่ี ๖ ทกั ษะการต้ังสมมตฐิ านและต้งั คำถาม คือ การตง้ั สมมติฐาน และต้ังคำถาม สิง่ ท่เี รียนรไู้ ป
แลว้ ได้ว่า คืออะไร มปี ระโยชน์อย่างไร ทำอยา่ งไรจึงจะสำเรจ็ ได้ การฝึกตั้งคำถาม ทม่ี ีคุณคา่ และมคี วามสำคญั
ทำให้อยากได้คำตอบ
ขน้ั ตอนท่ี ๗ ทกั ษะการค้นหาคำตอบจากแหลง่ การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ เชน่ จากหนังสือ อินเทอรเ์ น็ต คุยกับ
คนแก่ แลว้ แตธ่ รรมชาตขิ องคำถาม การคน้ หาคำตอบต่อคำถามที่สำคญั จะสนุก และทำใหไ้ ด้ความรู้มาก บาง
คำถามหาคำตอบทุกวถิ ีทางแล้วไมพ่ บ ต้องหาคำตอบต่อไปด้วยการวจิ ัย
ข้ันตอนท่ี ๘ ทกั ษะการทำวจิ ัยสรา้ งความรู้ การวิจยั เพอื่ หาคำตอบเป็นสว่ นหนึง่ ของ กระบวนการ
เรยี นรู้ทุกระดบั การวจิ ัยจะทำใหค้ ้นพบความรู้ใหม่ ทำให้เกิดความภมู ใิ จ สนุก และมีประโยชนม์ าก
ขั้นตอนที่ ๙ ทกั ษะการเชือ่ มโยงบูรณาการ คือ การเชอ่ื มโยงเรอื่ งท่เี รียนรู้มาให้เหน็ ภาพรวม
ทั้งหมด มองเหน็ ความงดงาม มองใหเ้ ห็นตัวเอง ไม่ควรให้ความรนู้ น้ั แยกออกเป็นส่วน ๆ
ขน้ั ตอนท่ี ๑๐ ทักษะการเขียนเรียบเรยี ง คอื การเรียบเรยี งความคิดใหป้ ระณีตข้ึน โดยการค้นควา้ หา
30
หลักฐานอา้ งอิงความรู้ใหถ้ ี่ถ้วน แมน่ ยำขน้ึ การเรียบเรียงทางวิชาการจงึ เปน็ การพัฒนาปัญญาอยา่ งสำคัญ และ
เป็นประโยชนใ์ นการเรยี นรู้ของผ้อู ่ืนในวงกว้างออกไป
การพฒั นาทักษะการแสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง (กรมสามญั ศึกษา, ๒๕๔๕, หน้า ๑๒-๒๐)
การศึกษาหาความร้มู ีขั้นตอน ดังนี้
๑. การกำหนดประเด็นคน้ คว้า ประกอบดว้ ย
๑.๑ การต้งั ประเดน็ คน้ ควา้
๑.๒ การกำหนดขอบเขตของประเดน็ คน้ คว้า
๑.๓ การอธิบายประเดน็ ค้นคว้าซึ่งเป็นการนำเสนอรายละเอยี ดเกย่ี วกับประเด็นคน้ คว้า
๑.๔ การแสดงความคดิ เห็นต่อประเด็นคน้ ควา้
๒. การคาดคะเน ประกอบดว้ ย
๒.๑ การตง้ั ประเดน็ คาดคะเน
๒.๒ การอธิบายรายละเอยี ดเก่ยี วกบั ประเดน็ คาดคะเนผล
๒.๓ การแสดงความคดิ เหน็ ต่อประเด็นคาดคะเนผล
๓. การกำหนดวธิ คี น้ คว้าและการดำเนนิ การ ประกอบด้วย
๓.๑ จำแนกวธิ กี ารค้นคว้า คือ การระบุแนวทางตา่ ง ๆ
๓.๒ เลอื กวธิ ีการค้นควา้ พร้อมระบเุ หตุผล
๓.๓ วางแผนคน้ ควา้ ตามแนวทางท่ีได้แสดงขน้ั ตอนการดำเนนิ การค้นควา้
๓.๔ การคาดคะเนสิง่ ทจี่ ะเปน็ อปุ สรรคในการค้นคว้า
๓.๕ ดำเนินการค้นคว้า
๔. การวเิ คราะห์ผลการคน้ ควา้ ประกอบดว้ ย
๔.๑ การจำแนก จดั กลุ่ม และจดั ลำดับข้อมลู
๔.๒ การพิจารณาองค์ประกอบและความสมั พันธข์ องข้อมูล โดยจัดลำดบั ความสำคญั
๕. การสรปุ ผลการค้นควา้ ประกอบด้วย
๕.๑ การสังเคราะห์ข้อมูล คอื การเรียบเรียงข้อมูลทค่ี น้ พบจากการคน้ คว้าและสรุปเปน็ ประเด็น
๕.๒ การอภิปรายผลการคน้ ควา้ คือ การแสดงความเห็นอย่างมีเหตุผล เกี่ยวกับประเดน็ ท่ีพบจาก
การค้นควา้ พร้อมทง้ั แสดงให้เหน็ ความสมั พันธ์ของขอ้ มูลท่ีคน้ พบ ทส่ี ามารถเรยี บเรียงไป ถึงประเด็นค้นคว้า
ใหม่
๕.๓ การสรุปกระบวนการในการค้นคว้า คือ การระบขุ ้นั ตอนหลกั ของกระบวนการค้นคว้า
๕.๔ การประเมนิ กระบวนการท่ีใช้ในการค้นคว้า คอื การวิเคราะห์ จดุ ออ่ น จุดแข็ง และแนวทาง
แกไ้ ขกระบวนการค้นควา้ ทก่ี ำหนดในการประเมินทักษะการแสวงหาความรู้
ทฤษฎสี ร้างความร้ใู หม่โดยผเู้ รียนเอง (Constructivism)
เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ที่มีพื้นฐานทางจิตวิทยา ปรัชญา และมนุษยวิทยา โดยเฉพาะอย่างยิ่งจาก
จติ วิทยาด้านปัญญา เป็นทฤษฎี ทอี่ ธบิ ายถงึ การได้มาซงึ่ ความรู้ และนำความรู้นั้นมาเป็นของตนได้อย่างไร ซ่ึง
31
เพอร์กิน ได้อธิบายว่า Constructivism คือ การ ที่ผู้เรียน ไม่ได้รับเอาข้อมูล และเก็บข้อมูลความรู้นั้นมาเปน็
ของตนทันที แต่จะแปลความหมาย ของขอ้ มูลความรูเ้ หล่าน้นั โดย ประสบการณ์ของตน และเสรมิ ขยาย และ
ทดสอบการแปลความหมายของตนด้วย ซึ่งสัมพันธ์กับทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญา ของพีอาเจย์ การเรียนรู้
เกิดจาก การค้นพบและประสบการณ์ ทฤษฎีนี้เกิดจาก ความคิดที่ว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นได้จากการที่ แต่ละ
บคุ คลไดส้ ร้าง ความรู้ขึน้ และ ทำใหส้ ำเรจ้ โดยผ่านกระบวนการ ของความสมดลุ ซ่งึ กลไกของความสมดลุ เป็น
การปรับตัว ของตนเอง ให้เข้ากับ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้อยู่ใน สภาพสมดุล ประกอบด้วยกระบวนการ ๒ อย่าง
คอื
๑.การซึมซาบหรอื ดูดซมึ (Assimilation) เป็นกระบวนการทีม่ นุษย์มีปฏสิ มั พันธ์กบั สิ่งแวดล้อมและ
ซมึ ซาบหรือดูดซึมเอา ประสบการณ์ใหม่ เขา้ สปู่ ระสบการณ์เดมิ ท่ีเหมือนหรือ คลา้ ยคลึงกนั โดยสมองจะปรบั
เอาประสบการณ์ใหมเ่ ขา้ กบั ความคิด ความรู้ในโครงสร้างที่เกิดจาก การเรยี นรู้เดิมที่มอี ยู่
๒.การปรบั โครงสร้างทางปญั ญา (Accomodation) เปน็ กระบวนการท่ีต่อเนอ่ื งมาจากกระบวนการ
ซึมซาบหรือดูดซมึ คือ เมื่อได้ซมึ ซาบ หรอื ดูดซมึ เอาประสบการณใ์ หม่ เข้าไปในโครงสร้างเดมิ แลว้ กจ็ ะทำการ
ปรบั ประสบการณ์ใหม่ ให้เข้ากับ ครงสรา้ งของความรเู้ ดิมที่มีอยใู่ นสมองก่อนแลว้ แตถ่ า้ ไม่เข้ากนั ได้ก็จะทำ
การสรา้ งโครงสรา้ งใหม่ข้นึ มาเพ่ือรับประสบการณ์ ใหม่น้ัน
ทฤษฎีการสร้างความรูใ้ หม่โดยผูเ้ รียนเอง ผูเ้ รยี นจะปะทะสมั พันธ์กบั สิง่ แวดล้อมและวฒั นธรรม
การเรียนร้ขู องแต่ละบคุ คล จะมรี ะดบั แตกต่างกันไป เรียกได้ว่าสิง่ แวดล้อมมีอิทธิพลมาากขนึ้ เป็นลำดบั และ
ผเู้ รยี น จะควบคุมการเรยี นรดู้ ้วยตนเอง ทฤษฎสี รา้ งความร้ใู หม่ โดยผู้เรยี นเองมหี ลักการวา่ การเรยี นรู้ คอื
การแก้ปัญหา ซง่ึ ขึน้ อยกู่ ับการคน้ พบ ของแตล่ ะบุคคล และ ผู้เรียนจะมีแรงจงู ใจจากภายใน ผูเ้ รยี นจะเป็นผู้
กระตือรือร้น มีการควบคุมตนเองและเป็นผ้ทู ีม่ ีการตอบสนองดว้ ยจุดมุ่งหมาย ของการสอนจะมีการ ยดื หยุ่น
โดยยดึ หลกั ว่า ไม่มีวิธกี ารสอนใดทีด่ ที สี่ ดุ ดงั นั้นเป้าหมายของการออกแบบการสอนกค็ วรจะ ตอ้ ง พจิ ารณา
เกี่ยวกบั การสร้างความคดิ หรือปญั ญาให้เปน็ เคร่ืองมือ สำหรับนำเอาสง่ิ แวดล้อมของการเรียนทีม่ ีประโยชนม์ า
ช่วยใหเ้ กิดการสรา้ งความรู้ให้แกผ่ ้เู รยี น การนำเอาทฤษฎกี ารเรยี นรูก้ ารสร้างความร้ใู หม่โดยผูเ้ รยี นเองมาใช้
จะตอ้ งคำนงึ ถงึ เครื่องมืออปุ กรณ์การสอนดว้ ย เพราะทฤษฎนี เ้ี หมาะสำหรับเครื่องมืออุปกรณท์ ่ีผู้เรียนสามารถ
นำมาใช้เปน็ เคร่ืองมือหาความรู้ ด้วยตนเอง เชน่ คอมพิวเตอร์ ดังนัน้ เครื่องมือท้ังHardware และ Software
จะต้องเหมาะสมเพื่อสนับสนุนทฤษฎีนี้ แนวคิด ของทฤษฎีน้ีไดแ้ ก่
๑. ผเู้ รยี นจะมีการปะทะสมั พนั ธ์กับส่งิ แวดลอ้ ม บคุ คล เหตุการณ์ และสิง่ อื่นๆ และผู้เรยี นจะปรบั
ตนเองโดยการดูดซมึ สร้าง โครงสรา้ งทางปัญญาใหม่ และการบวนการของความสมดุล เพื่อให้รบั สิง่ แวดล้อม
หรือความจริงใหมเ่ ข้าสู่ความคิดของตนเองได้
๒. ในการนำเสนอหรืออธิบายความจริงทผี่ ู้เรียนสร้างข้ึนนน้ั ผ้เู รียนจะสรา้ งรูปแบบหรือตวั แทนของ
สิ่งของ ปรากฏการณ์ และ เหตกุ ารณ์ขน้ึ ในสมองของผ้เู รยี นเอง ซง่ึ อาจแตกต่างกนั ไปในแตล่ ะบคุ คล
• ๑. ผ้เู รียนอาจมีผใู้ หค้ ำปรึกษา (Mentor) เช่น ครผู ู้สอนหรอื บคุ คลที่เกี่ยวข้อง เพื่อชว่ ยใหไ้ ด้สร้าง
ความหมายต่อความจรงิ หรือ ความร้ทู ผ่ี ูเ้ รียนไดร้ ับเอาไว้ แต่อย่างไรกต็ าม ความหมายเหลา่ น้นั จะ
เกดิ ข้ึนได้ก็ต่อเมื่อผู้เรียนมสี ่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้
32
• ๒. ผู้เรียนจะควบคมุ การเรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง (Self-regulated Learning)
การออกแบบการสอนตามทฤษฎกี ารสรา้ งความร้ใู หมโ่ ดยผเู้ รยี นเอง
๑. ผสู้ อนต้องใหบ้ รบิ ทการเรียนรทู้ ่ีมีความหมาย เพ่ือสนบั สนุน แรงจงู ใจภายในของผเู้ รียนและ การ
ควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง ของผ้เู รียน
๒. สร้างรูปแบบการเรียนรใู้ หผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้ จากส่ิงทร่ี แู้ ลว้ ไปสูส่ ิ่งทไี่ มร่ ู้ รูปแบบนจี้ ะคล้ายกบั
ทฤษฎีการเรยี นรู้ อย่างมีความหมาย ของออสซเู บล คือให้เรยี นรู้จากส่งิ ทม่ี ปี ระสบการณ์มาก่อนไปส่สู ิ่งทีเ่ ปน็
เร่อื งใหม่
๓. ให้เกิดความสมดุลระหวา่ งการเรียนร้แู บบอนมุ าน (Deductive) และอุปมาน (Inductive) คือ
เรยี นจากเร่ืองทวั่ ไปไปสูเ่ ร่อื ง เฉพาะเจาะจง และเรยี นจากเร่อื งเฉพาะหรือตวั อย่างตา่ งๆ ไปสหู่ ลกั การ ให้มี
อย่างสมดลุ ไมม่ ากนอ้ ยกว่ากัน เพอื่ ให้รวู้ ิธีการเรยี น ในการแก้ปัญหาทั้ง ๒ แนวทาง
๔. เนน้ ประโยชน์ของความผิดพลาด แต่ทัง้ นี้การผดิ พลาดนั้นจะเกดิ ประโยชนก์ ็ต่อเม่ือเป้า ประสงค์
ของกิจกรรมนัน้ ชัดเจน เพ่ือผูเ้ รยี นจะได้หาวิธแี ก้ไขขอ้ ผดิ พลาดไสู่เปา้ ประสงคน์ ั้นได้ถูกต้อง
๕. ให้ผเู้ รียนคาดการณ์ลว่ งหน้า และรักษาไว้ซ่งึ การเรยี นรูท้ ี่เกิดขน้ึ ตามโอกาสอำนวยเนอ่ื งจาก
ทฤษฎกี ารเรียนรนู้ ้ีไม่ได้มี การกำหนดแนวทาง ความคิดอย่างแน่นอนตายตวั ดงั นน้ั ผเู้ รยี นอาจ แสวง
ประสบการณ์การเรยี นรไู้ ด้ ตามสภาพแวดลอ้ ม หรอื เหตุการณท์ ี่อำนวยให้ หลักการน้เี หมาะสม สำหรับการ
ออกแบบ การสอนท่ีให้ผู้เรียนเรยี นรู้ ผ่านคอมพิวเตอร์
รปู แบบกิจกรรมที่ส่งเสริมการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง
วัฒนาพร ระงับทุกข์ (๒๕๔๕ : ๕๐-๕๑) ไดเ้ สนอหลกั การจัดการเรยี นรู้เพ่ือส่งเสรมิ การเรียนรู้ด้วย
ตนเอง ดังน้ี คือ
๑. ศึกษาผ้เู รยี นเปน็ รายบุคคล เนอื่ งจากผู้เรยี นแตล่ ะคนมีความแตกตา่ งกนั ท้ังในด้านความสามารถในการ
เรยี นรู้ วิธกี ารเรยี นรู้เจตคติ ฯลฯ ดงั นนั้ การจดั การเรียนรจู้ ึงตอ้ งคำนงึ ถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล
โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงด้านความสามารถในการเรียนรู้ และวิธกี ารเรยี นรู้ โดยจดั การเรยี นรู้ เนือ้ หา และสื่อทเี่ อ้อื
ตอ่ การเรยี นรู้รายบุคคล รวมทัง้ เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนได้นำเอาประสบการณ์ของตนมาใชใ้ นการเรยี นรู้ดว้ ย
๒. จดั ใหผ้ เู้ รยี นมสี ่วนรบั ผิดชอบในการเรยี น การเรียนรู้จะเกิดขึ้นไดด้ ีเมือ่ ผเู้ รยี นมสี ่วนร่วมรบั ผิดชอบการ
เรียนรขู้ องตนเอง ดงั นนั้ การจดั การเรยี นรจู้ ึงควรเปดิ โอกาสให้ผู้เรียนมีบทบาทตงั้ แต่ การวางแผน
33
กำหนดเปา้ หมายการเรยี นท่สี อดคล้องกบั ความต้องการของตน หรือกลุ่มการกำหนดกิจกรรมการเรยี นรู้ ส่ือ
การเรียน การเลอื กใช้วิธีการเรียนรูก้ ารใช้แหล่งข้อมูล ตลอดจนถงึ การประเมนิ ผลการเรียนของตน
๓. พัฒนาทกั ษะการเรียนรู้ของผู้เรยี น การจดั การเรียนรเู้ พื่อส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนเกดิ การเรยี นรู้ด้วยตนเองจำเป็น
อย่างยงิ่ ทีผ่ ู้เรียนจะต้องได้รับการฝกึ ให้มีทักษะและยทุ ธศาสตรก์ ารเรยี นรทู้ จ่ี ำเปน็ ต่อการเรยี นร้ดู ้วยตนเอง เช่น
การบันทึกข้อความ การจัดประเภทหมวดหมู่ การสังเกตการแสวงหาและใช้แหล่งความรู้ เทคโนโลยแี ละส่ือที่
สนับสนนุ การเรียนรวมทั้งเปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนได้มปี ระสบการณ์ในการตัดสินใจ แกป้ ญั หากำหนดแนวทางการ
เรยี นรู้ และเลอื กวิธกี ารเรียนรู้ที่เหมาะสมกบั ตนเอง
๔. พฒั นาทกั ษะการเรียนรรู้ ว่ มกับผู้อ่นื การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง ไม่ได้หมายความวา่ ผเู้ รียนตง้ั เรยี นคนเดียว
หรือไม่มีชน้ั เรียนเพ่ือนเรยี น ยกเวน้ การเรยี นแบบรายบุคคลโดยท่ัวไปแล้วในการเรียนร้ดู ้วยตนเองผเู้ รยี นจะได้
ทำงานรว่ มกบั เพ่ือน กบั ครูและบคุ คลอนื่ ๆทเ่ี กีย่ วข้อง ดังน้ันจงึ ตอ้ งพฒั นาทักษะการเรยี นรู้รว่ มกับผ้อู ืน่ ให้กับ
ผู้เรยี นเพือ่ ใหร้ จู้ ักการทำงานเป็นทีม โดยเฉพาะอย่างยิง่ การทำกิจกรรมกลุม่ รว่ มกับเพ่ือนท่ีมคี วามรู้
ความสามารถ ทักษะเจตคตทิ ี่แตกตา่ งกัน เพื่อใหส้ ามารถแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ และแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบใน
กระบวนการเรียนรู้
๕. พัฒนาทักษะการประเมินตนเอง และการร่วมมือกนั ประเมิน ในการเรียนรู้ด้วยตนเอง ผ้เู รียนเปน็ ผู้มี
บทบาทสำคญั ในการประเมนิ การ เรียนรู้ ดังนนั้ จึงต้องพฒั นาทกั ษะการประเมินใหแ้ ก่ผ้เู รียน และสร้าง
ความเขา้ ใจให้แกผ่ ู้เรยี นวา่ การประเมินตนเองเป็นสว่ นหนง่ึ ของระบบ ประเมินผล รวมท้ังยอมรับผลการ
ประเมนิ จากผอู้ ่นื ด้วย นอกจากนตี้ อ้ ง จดั ใหผ้ ้เู รยี นได้รับประสบการณ์การประเมินผลหลาย ๆ รปู แบบ
๖. จดั ปัจจัยสนบั สนุนการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน สภาพแวดล้อมเปน็ ปจั จัยสำคญั อยา่ งหน่ึงในการ
เรียนรู้ดว้ ยตนเอง ดงั นัน้ บรเิ วณในโรงเรยี นจึงต้องจัดใหเ้ ป็นแหลง่ ความรู้ที่นักเรียนจะค้นคว้าด้วย ตนเองได้
เชน่ ศนู ย์วิทยาการ บทเรียนสำเรจ็ รปู ชดุ การสอน ฯลฯ รวม ทงั้ บคุ ลากร เชน่ ครูประจำศูนยว์ ทิ ยบรกิ ารทีช่ ่วย
อำนวยความสะดวกและ แนะนำเมื่อผูเ้ รียนต้องการ ดังนัน้ หลกั การจัดการเรียนรู้เพื่อสง่ เสริมการเรยี นรู้ดว้ ย
ตนเอง ผู้จดั กจิ กรรมต้องศึกษาผเู้ รียนเป็นรายบคุ คล จดั ให้ผเู้ รียนมีส่วนรับผิดชอบ ในการเรียน พฒั นาทกั ษะ
การเรียนรขู้ องผเู้ รียน พฒั นาทักษะการเรยี นรู้ รว่ มกบั ผอู้ น่ื พฒั นาทกั ษะการประเมินตนเอง และการรว่ มมือ
กนั ประเมิน และจดั ปจั จัยสนับสนนุ การเรยี นรู้ด้วยตนเองของผเู้ รยี น
สรปุ
แนวคิดการเรยี นรู้ด้วยตนเองมีแนวโน้มทีจ่ ะเป็นแนวคดิ ทสี่ ำคัญของวงการการศกึ ษาผใู้ หญใ่ นอนาคต
นอกจากนั้นคาดว่าจะเปน็ แนวคิดท่มี พี ลงั ขับเคลื่อนให้วงการการศึกษาผใู้ หญ่ก้าวหนา้ อย่างมาก อย่างไรก็ดยี งั
ควรคำนงึ ถงึ การชีน้ ำตนเองในการเรยี นรู้ หรอื การเรยี นร้ดู ้วยตนเองจะเนน้ ถงึ ความรับผดิ ชอบของบุคคลและ
เชอื่ ในศกั ยภาพท่ีไม่สิ้นสดุ ของ มนษุ ย์ (never–ending potential of human) ในการเรียนรดู้ ้วยตนเอง ท่ี
ประสบผลสำเร็จผู้อำนวยความสะดวกต้องมีบทบาทในการรว่ มปรกึ ษา แลกเปลีย่ นความคิด เปน็ แหล่งความรู้
ตามทผ่ี ูเ้ รียนต้องการ มีความสัมพันธ์ อนั ดกี ับผเู้ รียน มีส่วนร่วมในการถ่ายโอนบทบาทการเรยี นการสอน
และ สนับสนุนให้ผูเ้ รียนคดิ อยา่ งแตกฉาน (critical thinking)
34
บทท่ี ๓
วิธดี ำเนินการ
การดำเนินงานกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะการ
เรียนรู้ วันที่ ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ กศน. หนองระเวียง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด
นครราชสีมาดังนี้
๑. การประชมุ วางแผน
๒. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
๓. การติดตามและประเมินผล
๔. สรุปผล/รายงานผลการดำเนินงาน
การประชุมวางแผน
ครู กศน.ตำบล และตัวแทนนักศึกษา ได้จัดประชุมวางแผนการจัดกิจกรรมการดำเนินงานกิจกรรม
โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะการเรียนรู้ วันที่ ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม
๒๕๖๑ ณ กศน. หนองระเวยี ง อำเภอเมอื งนครราชสีมา จังหวดั นครราชสีมา ดังนี้
กำหนดการ
โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะการเรยี นรู้
วันท่ี ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๑
ณ กศน. หนองระเวียง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวดั นครราชสมี า
******************
วนั ท่ี ๑๘ สงิ หาคม ๒๕๖๑
๐๘.๐๐ น. – ๐๘.๓๐ น. รายงานตัว/ลงทะเบียน
๐๘.๓๐ น. – ๑๒.๐๐ น. ฐานที่ ๑ ทกั ษะการเรียนรกู้ ารฝึกพูด,มารยาทในการฟัง โดย ครู กศน.ตำบล
ฐานท่ี ๒ ทักษะการเรยี นรู้การฝกึ อา่ น,การเขยี นภาษาไทยให้ถูกต้อง
โดยวทิ ยากร นางปุณรศิ า หริ ญั ชาติ
๑๒.๐๐ น. – ๑๓.๐๐ น. รบั ประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ น. – ๑๖.๐๐ น. ฐานที่ ๑ ทกั ษะการเรียนรู้การฝกึ พูด,มารยาทในการฟัง โดย ครู กศน.ตำบล
ฐานท่ี ๒ ทกั ษะการเรียนรกู้ ารฝกึ อ่าน,การเขียนภาษาไทยให้ถูกต้อง
โดยวิทยากร นางปณุ ริศา หิรญั ชาติ
๑๖.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น. ครู นกั ศึกษา สรุปกิจกรรม/ปิดโครงการ
35
กำหนดการ(ต่อ)
โครงการพัฒนาทกั ษะการเรียนรู้รายวชิ าภาษาไทยและรายวชิ าทักษะการเรียนรู้
วนั ท่ี ๑๘ – ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๖๑
ณ กศน. หนองระเวียง อำเภอเมอื งนครราชสมี า จังหวัดนครราชสีมา
******************
วันที่ ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๖๑
๐๘.๐๐ น. – ๐๘.๓๐ น. รายงานตวั /ลงทะเบยี น
๐๘.๓๐ น. – ๑๒.๐๐ น. ฐานที่ ๓ การเรียนรู้ดว้ ยตนเองและการใช้แหลง่ เรยี นรู้ โดย ครู กศน.ตำบล
ฐานท่ี ๔ การคดิ เป็นและการทำวจิ ัยอย่างงา่ ย โดยวทิ ยากร นางปณุ ริศา หิรัญชาติ
๑๒.๐๐ น. – ๑๓.๐๐ น. รบั ประทานอาหารกลางวัน
๑๓.๐๐ น. – ๑๖.๐๐ น. ฐานที่ ๓ การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเองและการใช้แหลง่ เรียนรู้ โดย ครู กศน.ตำบล
ฐานที่ ๔ การคดิ เปน็ และการทำวจิ ยั อยา่ งง่าย โดยวทิ ยากร นางปุณรศิ า หิรัญชาติ
๑๖.๐๐ น. – ๑๖.๓๐ น. ครู นักศกึ ษา สรุปกจิ กรรม/ปดิ โครงการ
กระบวนการจดั กจิ กรรมโครงการพฒั นาทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะการเรยี นรู้
วนั ท่ี ๑๘ – ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ณ กศน. หนองระเวียง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
วนั ท่ี ๑๘ สิงหาคม ๒๕๖๑
36
ฐานทกั ษะการเรยี นรู้การฝกึ พูด,มารยาทในการฟัง
ฐาน ทกั ษะการเรยี นรู้การฝกึ อา่ น,การเขียนภาษาไทยใหถ้ กู ตอ้ ง
วันท่ี ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๑
37
ฐาน การเรยี นรูด้ ว้ ยตนเองและการใช้แหล่งเรยี นรู้
ครู นักศกึ ษา สรปุ กิจกรรม/ปิดโครงการ
ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองนครราชสีมา จงั หวัดนครราชสมี า ได้
วัดและประเมินผลกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะการเรียนรู้
วันที่ ๑๘ – ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ณ กศน. หนองระเวยี ง อำเภอเมืองนครราชสมี า จงั หวดั นครราชสีมา เพอ่ื
เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้าร่วมกิจกรรม และแจกแบบสอบถามจำนวน ๔๐ ชุด และได้แบบสอบถาม
กลับคืนมาจำนวน ๔๐ ชุด คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐
สรปุ ผล/รายงานผลการดำเนินงาน
ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมืองนครราชสมี า จังหวัดนครราชสมี า ได้
วดั และประเมนิ ผลกิจกรรม และไดส้ รุปผลการดำเนนิ งานใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในเดอื น ตลุ าคม ๒๕๖๑ สรุปได้
ดังนี้
๑. มผี ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม จำนวนท้ังสิ้น ๔๐ คน
๒. ทกุ คนมสี ่วนร่วมในกิจกรรมคร้ังนี้
38
๓. ศึกษารายละเอียดของผลการวัดผลประเมินผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรมงาน โครงการ
พัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะการเรียนรู้ วันที่ ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๑
ณ กศน. หนองระเวยี ง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวดั นครราชสมี า ปรากฏอยูใ่ นบทที่ ๔ –๕
การนำผลการศึกษาไปใช้
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
จะนำผลการประเมินกิจกรรมงานโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะการ
เรียนรู้ วันที่ ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ กศน. หนองระเวียง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด
นครราชสมี า มาพัฒนาการจดั กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียนในกิจกรรมต่อ ๆ ไป ใหด้ ียงิ่ ข้นึ
39
บทท่ี ๔
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะการ
เรียนรู้ วันที่ ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ กศน. หนองระเวียง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด
นครราชสีมา สรปุ ไดด้ งั น้ี
๔.๑ ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูลความรคู้ วามเข้าใจของผ้เู รียน
ตารางที่ ๑ เปรียบเทียบคะแนนความรูค้ วามเข้าใจของผูเ้ รียนกอ่ นและหลงั อบรมโครงการพัฒนาทักษะ
การเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะการเรียนรู้ วันที่ ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ กศน.
หนองระเวยี ง อำเภอเมืองนครราชสมี า จงั หวดั นครราชสีมา จำนวน ๔๐ คน
ผูเ้ รยี นคนที่ คะแนนกอ่ นอบรม คะแนนหลงั อบรม คะแนนความกา้ วหนา้
๑ ๓ ๙ ๖
๒ ๔ ๗ ๓
๓ ๕ ๘ ๓
๔ ๗ ๙ ๒
๕ ๒ ๘ ๖
๖ ๖ ๗ ๑
๗ ๓ ๘ ๕
๘ ๗ ๙ ๒
๙ ๕ ๙ ๔
๑๐ ๔ ๘ ๔
๑๑ ๓ ๙ ๖
๑๒ ๔ ๗ ๓
๑๓ ๕ ๘ ๓
๑๔ ๗ ๙ ๒
๑๕ ๒ ๘ ๖
๑๖ ๖ ๗ ๑
๑๗ ๓ ๘ ๕
๑๘ ๗ ๙ ๒
๑๙ ๕ ๙ ๔
40
ตารางที่ ๑ (ต่อ) เปรียบเทียบคะแนนความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนก่อนและหลังอบรมโครงการพัฒนา
ทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะการเรียนรู้ วันที่ ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ
กศน. หนองระเวียง อำเภอเมอื งนครราชสีมา จงั หวัดนครราชสมี า จำนวน ๔๐ คน
ผู้เรยี นคนที่ คะแนนก่อนอบรม คะแนนหลงั อบรม คะแนนความกา้ วหนา้
๒๐ ๓ ๙ ๖
๒๑ ๔ ๗ ๓
๒๒ ๕ ๘ ๓
๒๓ ๗ ๙ ๒
๒๔ ๒ ๘ ๖
๒๕ ๖ ๗ ๑
๒๖ ๓ ๘ ๕
๒๗ ๗ ๙ ๒
๒๘ ๕ ๙ ๔
๒๙ ๔ ๘ ๔
๓๐ ๓ ๙ ๖
๓๑ ๔ ๗ ๓
๓๒ ๕ ๘ ๓
๓๓ ๗ ๙ ๒
๓๔ ๒ ๘ ๖
๓๕ ๖ ๗ ๑
๓๖ ๓ ๘ ๕
๓๗ ๗ ๙ ๒
๓๘ ๕ ๙ ๔
๓๙ ๓ ๙ ๖
๔๐ ๔ ๗ ๓
คะแนนรวม ๑๗๖ ๓๒๙ ๑๕๓
คะแนนเฉลย่ี ๔.๔๐ ๘.๒๒ ๓.๘๒
ตารางที่ ๒ คะแนนความก้าวหน้าของผู้เรียนที่ร่วมกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชา
ภาษาไทยและรายวชิ าทกั ษะการเรียนรู้ วันที่ ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ กศน. หนองระเวยี ง
อำเภอเมอื งนครราชสีมา จังหวดั นครราชสมี า จำนวน ๔๐ คน
41
รายการ จำนวนนักเรียน คา่ เฉลย่ี
(N)
ทดสอบกอ่ นเรียน (X)
ทดสอบหลงั เรยี น ๔๐ ๔.๔๐
๔๐ ๘.๒๒
จากตารางที่ ๒ พบว่า ความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะการ
เรยี นรรู้ ายวชิ าภาษาไทยและรายวชิ าทักษะการเรียนรู้ วันที่ ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ กศน. หนองระ
เวียง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา จำนวน ๔๐ คน จากการทดสอบ ๒ ครั้ง ก่อนการอบรม
คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๓๘๕ แต่หลังการอบรม คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๗.๒๑๕ ซึ่งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า
ผู้เรยี นมคี วามร้คู วามเข้าใจเพิ่มสูงข้ึน
๔.๒ ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลความพึงพอใจของผู้เรยี น
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลความพึงพอใจของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวชิ าภาษาไทยและ
รายวิชาทักษะการเรยี นรู้ วนั ที่ ๑๘ – ๑๙ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ณ กศน. หนองระเวียง อำเภอเมอื งนครราชสมี า
จังหวดั นครราชสีมา จำนวน ๔๐ คน ดงั น้ี
๑. ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู เบื้องตน้ ของผู้ตอบแบบสอบถาม
๒. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมโครงการคา่ ยเรียนรคู้ ุณธรรมสืบสานประเพณี
เขา้ พรรษา ดงั นี้
เกณฑ์การตัดสินและพิจารณาแบบสอบถามประเมนิ ความพึงพอใจ โดยใช้ scale ๕ ระดับ หรือท่ี
เรยี กว่าวัดเจตคตติ ามเทคนิคของของลเิ คริ ์ท (Likert technique) หรือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า
๕ ระดบั ของลเิ คิรท์ สเกล ถือเกณฑ์พจิ ารณาจากระดบั คะแนนเฉลี่ยจากค่าคะแนนดงั น้ี
๔.๒๑ – ๕.๐๐ หมายถงึ ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมมีความพึงพอใจระดับ มากท่ีสุด
๓.๔๑ – ๔.๒๐ หมายถงึ ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมมคี วามพงึ พอใจระดับ มาก
๒.๖๑ – ๓.๔๐ หมายถึง ผูเ้ ข้าร่วมกจิ กรรมมคี วามพงึ พอใจระดบั ปานกลาง
๑.๘๑ – ๒.๖๐ หมายถงึ ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจระดับ น้อย
๑.๐๐ – ๑.๘๐ หมายถงึ ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจระดับ น้อยทส่ี ุด
42
๓. ผลการวิเคราะหข์ ้อเสนอแนะเพ่ิมเติม
ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลเบื้องตน้ ของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที่ ๓ ขอ้ มูลเบ้ืองตน้ ของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ประเภทของข้อมลู จำนวน ร้อยละ
๑. เพศ
- หญงิ ๑๗ ๔๒.๕๐
- ชาย ๒๓ ๕๗.๕๐
รวม ๔๐ ๑๐๐.๐
๒. อายุ
- ๑๕ – ๓๙ ปี ๑๕ ๓๗.๕๐
- ๔๐ – ๕๙ ปี ๒๕ ๖๒.๕๐
- ๖๐ ปีขึ้นไป -
๐.๐
รวม ๔๐
ประเภทของข้อมูล จำนวน ๑๐๐.๐
๓. ระดับการศกึ ษา รอ้ ยละ
- ประถมศึกษา
- มัธยมศึกษาตอนต้น ๑ ๒.๕๐
- มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๒๐ ๕๐.๐๐
๑๙ ๔๗.๕๐
รวม
๔๐ ๑๐๐.๐
จากตารางท่ี ๓ ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการพฒั นาทักษะการเรยี นร้รู ายวชิ าภาษาไทยและรายวิชา
ทกั ษะการเรยี นรู้ เปน็ เพศชาย คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕๗.๕๐ เพศหญิง คิดเปน็ รอ้ ยละ ๔๒.๕๐ และมีอายรุ ะหวา่ ง
๔๐ – ๕๙ ปี คิดเป็นรอ้ ยละ ๖๒.๕๐ มอี ายุระหวา่ ง ๑๕ – ๓๙ ปี คิดเปน็ รอ้ ยละ ๓๗.๕๐ มีการศึกษาอยู่ใน
ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ คิดเป็นรอ้ ยละ ๕๐.๐๐ และมีการศึกษาอยใู่ นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย คิดเป็น
รอ้ ยละ ๔๗.๕๐ ของผูร้ ่วมโครงการทงั้ หมดตามลำดบั
43
ผลการวิเคราะหค์ วามพงึ พอใจผู้เขา้ รว่ ม
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและ
รายวิชาทักษะการเรียนรู้ ดังนี้
ตารางที่ ๒ ผ้เู รยี นที่เขา้ ร่วมกิจกรรมมคี วามพงึ พอใจด้านการจัดกิจกรรม
กระบวนการจัดกจิ กรรม ระดบั ความพงึ พอใจ การแปลผล
X . S.D. มากที่สุด
๑. เน้อื หาวิชาการทจ่ี ดั การเรียนรู้ตรงตามความต้องการ ๔.๒๖ .๖๐ มากที่สุด
มากที่สดุ
ของทา่ น
มาก
๒.วทิ ยากรมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ๔.๒๒ .๖๔ มากที่สุด
มากที่สุด
๓.วิทยากรมคี วามสามารถในการอธบิ ายเน้ือหา ๔.๒๗ .๕๘ มากทส่ี ุด
๔.เอกสารทใี่ ช้ประกอบการฝึกอบรม ๔.๒๐ .๗๘ มากทส่ี ุด
๕.ความเหมาะสมของส่ือ/อุปกรณท์ ่ใี ชใ้ นการฝึกอบรม ๔.๕๐ .๕๐ มากทส่ี ุด
มากทส่ี ุด
๖.ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตามที่ ๔.๕๑ .๖๓ มากท่ีสุด
คาดหวงั ๔.๕๐ .๕๐ มากที่สดุ
๗.ความรู้และทกั ษะที่ได้รับ สามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ น
ชวี ติ ประจำวนั ได้ ๔.๕๗ .๕๐
๘.ความเหมาะสมของสถานที่
๙.ทา่ นได้รบั โอกาสในการเรียนรเู้ ท่าเทยี มกันเพยี งใด ๔.๕๖ .๖๔
๑๐.ความเหมาะสมของระยะเวลาที่ใชใ้ นการฝกึ อบรม ๔.๔๒ .๗๔
๑๑.โดยภาพรวมท่านมีความพึงพอใจในกระบวนการ/ ๔.๓๖ .๗๓
ข้ันตอนของการฝึกอบรมในครัง้ น้ี
รวม ๔.๒๔ .๔๑
จากตารางที่ ๒ พบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและ
รายวิชาทักษะการเรียนรู้ มีความพึงพอใจด้านการจัดกิจกรรมของโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X =
๔.๒๔, S.D. = .๔๑) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความพึงพอใจมากที่สุดอยู่ในระดับมากที่สุดวิทยากรมี
ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้( X =๔.๒๒, S.D. = . .๖๔) รองลงมาคือ เนื้อหาวิชาการที่จัดการเรียนรู้
ตรงตามความต้องการของทา่ น ( X = ๔.๒๖, S.D. = .๖๐) และวิทยากรมีความสามารถในการอธบิ ายเนื้อหา
( X =๔.๒๗, S.D. = .๕๘) เม่อื พจิ ารณาความพึงพอใจการจัดกิจกรรมของเอกสารทีใ่ ช้ประกอบการฝึกอบรม
อยู่ในระดับนอ้ ยที่สุด( X =๔.๒๐, S.D. =.๗๘) รองลงมาคอื ความเหมาะสมของระยะเวลาทใ่ี ช้ในการฝึกอบรม
( X =๔.๔๒, S.D. = .๗๔)
44
๓. ผลการวเิ คราะห์ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเตมิ จดั ลำดบั ตามความถ่ขี องผ้ตู อบแบบสอบถาม
๓.๑ ขอให้มกี ารจัดอบรมลกั ษณะเช่นนี้อกี
๓.๒ ขอใหม้ ีการจัดกจิ กรรมเขา้ คา่ ยวชิ าการบ้าง
๓.๓ ควรฝึกใหน้ กั ศึกษาตรงตอ่ เวลา
๓.๔ วิทยากรดีมากจัดกระบวนการเรียนร้ไู ดด้ ี
45
บทที่ ๕
สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผลการดำเนินงานและความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม โครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้
รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะการเรียนรู้ วันที่ ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ กศน. หนองระเวียง
อำเภอเมืองนครราชสมี า จังหวัดนครราชสีมา จำนวน ๔๐ คน สรุปผลไดด้ งั น้ี
สรุปผล
ความรู้ความเข้าใจของของผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและ
รายวิชาทักษะการเรียนรู้ มีความรู้ความเข้าใจ จากการทดสอบ ๒ ครั้ง ก่อนการอบรม คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ
๔.๓๘๕ แต่หลังการอบรม คะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๗.๒๑๕ ซึ่งแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ผู้เรียนมีความรู้ความ
เข้าใจเพิ่มสูงขึ้น ๓ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะ
การเรียนรู้ เป็นเพศชาย คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๕๐ เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ ๔๒.๕๐ และมีอายุระหว่าง ๔๐ –
๕๙ ปี คิดเป็นรอ้ ยละ ๖๒.๕๐ มีอายุระหว่าง ๑๕ – ๓๙ ปี คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๕๐ มีการศึกษาอยู่ในระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนตน้ คิดเปน็ ร้อยละ ๕๐.๐๐ และมกี ารศึกษาอยู่ในระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย คิดเป็นร้อยละ
๔๗.๕๐ ของผู้รว่ มโครงการท้ังหมดตามลำดับ เม่ือศกึ ษาความพึงพอใจผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการพัฒนาทักษะ
การเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะการเรียนรู้ มีความพึงพอใจด้านการจัดกิจกรรมของโดยภาพ
รวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = ๔.๒๔, S.D. = .๔๑) เมื่อพิจารณาเปน็ รายข้อพบว่า ความพึงพอใจมากที่สุด
อยู่ในระดับมากที่สุดวิทยากรมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้( X =๔.๒๒, S.D. = . .๖๔) รองลงมาคือ
เนื้อหาวิชาการที่จัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการของท่าน ( X = ๔.๒๖, S.D. = .๖๐) และวิทยากรมี
ความสามารถในการอธิบายเนื้อหา ( X =๔.๒๗, S.D. = .๕๘) เมื่อพิจารณาความพึงพอใจการจัดกิจกรรม
ของเอกสารที่ใช้ประกอบการฝึกอบรมอยู่ในระดับน้อยที่สุด( X =๔.๒๐, S.D. =.๗๘) รองลงมาคือ ความ
เหมาะสมของระยะเวลาทใี่ ช้ในการฝึกอบรม ( X =๔.๔๒, S.D. = .๗๔)
อภิปรายผล
๑. ตวั ช้ีวดั ร้อยละ ๑๐๐ ของนกั ศึกษาทเ่ี ข้าร่วม มีความรู้ ความเขา้ ใจวชิ าภาษาไทย ด้านหลักการฟัง,
การพูด,การอ่าน,การเขียนภาษาไทยได้อย่างถูกต้องและการเรียนรู้ด้วยตนเองและการใช้แหล่งเรียนรู้ การคิด
เปน็ และการทำวิจยั อย่างง่ายซึง่ ถอื วา่ บรรลุเป้าหมาย
๒. ตัวชี้วดั ผลลพั ธ์ รอ้ ยละ๑๐๐ ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอเมอื งนครราชสมี า มคี วามรู้
ความเขา้ ใจวิชาภาษาไทย ด้านหลักการฟงั ,การพูด,การอ่าน,การเขียนภาษาไทยได้อยา่ งถูกต้องและการเรียนรู้
ด้วยตนเองและการใช้แหลง่ เรยี นรู้ การคิดเปน็ และการทำวจิ ัยอยา่ งง่ายซง่ึ ถอื วา่ บรรลเุ ปา้ หมาย
46
ขอ้ เสนอแนะ
ควรนำผลการประเมินโครงการพัฒนาทักษะการเรียนรู้รายวิชาภาษาไทยและรายวิชาทักษะการ
เรียนรู้ วันที่ ๑๘ – ๑๙ สิงหาคม ๒๕๖๑ ณ กศน. หนองระเวียง อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัด
นครราชสีมา จำนวน ๔๐ คน ไปปรับใช้ในโครงการหรือกิจกรรมทเ่ี ก่ียวข้องต่อไป
47
ภาคผนวก
- แบบสอบถาม
- แบบทดสอบความรู้กอ่ นเรียนและหลังเรียน
- เฉลยแบบทดสอบความรู้กอ่ นเรยี นและหลงั เรียน
- หนังสอื ราชการต่างๆ
48
แบบประเมนิ ผลโครงการคา่ ยวชิ าการภาษาไทย และทกั ษะการเรยี นรู้
วนั ท่ี ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๑
ณ กศน. หนองระเวียง อำเภอเมืองนครราชสีมา จงั หวดั นครราชสมี า
คำชีแ้ จง ใส่เครอื่ งหมาย / ลงในช่อง ❑ ที่ตรงกบั ข้อมลู ของทา่ นเพียงชอ่ งเดยี ว
สว่ นที่ ๑ ข้อมลู ท่ัวไป
๑.๑ เพศ ❑ ชาย ❑ หญิง
๑.๒ อายุ ❑ ตำ่ กว่า ๑๕ ปี ❑ ๑๕ - ๓๙ ปี ❑ ๔๐ - ๕๙ ปี ❑ ๖๐ ปขี น้ึ ไป
๑.๓ ระดับการศึกษา ❑ ประถม ❑ มัธยมศึกษาตอน ต้น ❑ มัธยมศึกษาตอนปลาย
ส่วนที่ ๒ ความคดิ เห็นของผูเ้ ขา้ รบั การอบรม
คำชี้แจง ใส่เครื่องหมาย / ลงในช่องท่ตี รงกับความคดิ เหน็ ของท่านเพยี งช่องเดียว
ระดับความพงึ พอใจ
ที่ ประเดน็ การถาม ๕๔๓ ๒ ๑
ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง ต้องปรบั ปรุง
เรง่ ดว่ น
๑ เนือ้ หาวชิ าการทีจ่ ัดการเรยี นรู้ตรงตามความตอ้ งการของท่าน
๒ วิทยากรมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้
๓ วิทยากรมคี วามสามารถในการอธบิ ายเน้ือหา
๔ เอกสารที่ใช้ประกอบการฝึกอบรม
๕ ความเหมาะสมของสอ่ื /อุปกรณท์ ใี่ ชใ้ นการฝกึ อบรม
๖ ทา่ นไดร้ ับความรู้และสามารถฝกึ ทกั ษะได้ตามท่คี าดหวงั
๗ ความรแู้ ละทักษะท่ีได้รับ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน
ชวี ติ ประจำวนั ได้
๘ ความเหมาะสมของสถานที่
๙ ท่านได้รับโอกาสในการเรยี นรู้เทา่ เทียมกนั เพียงใด
๑๐ ความเหมาะสมของระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการฝกึ อบรม
๑๑ โดยภาพรวมท่านมคี วามพึงพอใจในกระบวนการ/ขั้นตอนของ
การฝกึ อบรมในคร้ังนี้
สว่ นที่ ๓ ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ
............................................................................................................................. ..............................................................
ขอบคุณค่ะ กศน. อำเภอเมืองนครราชสีมา
ใบงาน 49
การวิเคราะหข์ อ้ มูลโดยใชโ้ ปรแกรม SPSS
รอ้ ยละ
ตารางที่ ๑ ขอ้ มลู เบ้ืองตน้ ของผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน
ประเภทของขอ้ มูล
๑. เพศ
- หญงิ
- ชาย
รวม
๒. อายุ
- ตำ่ กวา่ ๑๕ ปี
- ๑๕ – ๓๙ ปี
- ๔๐ – ๕๙ ปี
รวม
๓. ระดบั การศึกษา
-ประถม
-มธั ยมศกึ ษาตอน ตน้
-มัธยมศึกษาตอน ปลาย
รวม
50
ตารางท่ี ๒ ผู้เข้ารับการอบรมมีความคิดเห็นกระบวนการจดั กิจกรรม
กระบวนการจดั กิจกรรม ระดับความพึงพอใจ
X . S.D. การแปลผล
๑. เน้อื หาวชิ าการท่ีจัดการเรียนรู้ตรงตามความต้องการ
ของท่าน
๒.วิทยากรมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้
๓.วทิ ยากรมคี วามสามารถในการอธบิ ายเนื้อหา
๔.เอกสารท่ใี ชป้ ระกอบการฝึกอบรม
๕.ความเหมาะสมของสอ่ื /อุปกรณ์ท่ีใช้ในการฝึกอบรม
๖.ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตามที่
คาดหวัง
๗.ความรู้และทกั ษะที่ได้รับ สามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ น
ชีวิตประจำวนั ได้
๘.ความเหมาะสมของสถานท่ี
๙.ทา่ นไดร้ ับโอกาสในการเรยี นรูเ้ ท่าเทียมกันเพยี งใด
๑๐.ความเหมาะสมของระยะเวลาท่ีใช้ในการฝึกอบรม
๑๑.โดยภาพรวมท่านมีความพึงพอใจในกระบวนการ/
ข้ันตอนของการฝกึ อบรมในคร้ังนี้
รวม
เกณฑ์การตดั สนิ และพจิ ารณาแบบประเมนิ ผลโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการใช้สอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ โดยใช้ scale
๕ ระดบั หรอื ท่เี รียกวา่ วัดเจตคตติ ามเทคนคิ ของ ลเิ คริ ท์ (Likert technique) ถอื เกณฑ์พจิ ารณาจากระดับ
คะแนนเฉลี่ยจากค่าคะแนนดังน้ี
๔.๒๑ – ๕.๐๐ หมายถงึ ผู้เข้ารบั การอบรมมีความคดิ เห็นระดับ มากท่ีสุด
๓.๔๑ – ๔.๒๐ หมายถึง ผเู้ ขา้ รับการอบรมมีความคิดเห็นระดับ มาก
๒.๖๑ – ๓.๔๐ หมายถึง ผเู้ ขา้ รบั การอบรมมคี วามคดิ เห็นระดบั ปานกลาง
๑.๘๑ – ๒.๖๐ หมายถงึ ผู้เขา้ รบั การอบรมมีความคิดเหน็ ระดบั น้อย
๑.๐๐ – ๑.๘๐ หมายถงึ ผ้เู ขา้ รับการอบรมมคี วามคดิ เห็นระดบั นอ้ ยท่สี ุด
ช่ือ-สกุล.................................................................