The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการค่ายเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ วันที่ 22 - 23 ธันวาคม 2561

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mueang, 2022-03-25 02:24:03

รายงานผลการดำเนินกิจกรรมโครงการค่ายเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ

โครงการค่ายเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ วันที่ 22 - 23 ธันวาคม 2561



รายงานผลการดำเนนิ กิจกรรม

โครงการค่ายเรียนร้ปู ระวัตศิ าสตร์ชาติไทย
นักศกึ ษาประกาศนยี บัตรวิชาชีพ
วนั ท่ี 22 - 23 ธันวาคม 2561

จดั ทำโดย
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเมอื งนครราชสมี า

สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
จงั หวัดนครราชสมี า

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร



คำนำ
โครงการคา่ ยเรยี นร้ปู ระวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยนกั ศึกษาประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ ของศูนยก์ ารศกึ ษานอก
ระบบ และการศึกษาตามอธั ยาศยั ของอำเภอเมืองนครราชสมี า ประจำปงี บประมาณ 2562 การดำเนิน
โครงการเพ่ือให้ นักศึกษามีความรเู้ รอ่ื งประวัติศาสตร์ชาติไทย และนำความรทู้ างประวัติศาสตร์ไปประยุกต์ใช้
ในชวี ติ ประจำวนั
ขอขอบคุณ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองนครราชสีมา ที่จดั สรร
งบประมาณในการจัดการโครงการในครั้งนี้ แบะประเมิโครงการฯ ทำให้การดำเนินงาน บรรลุผลตาม
เปา้ หมายยท่ี กำหนดซึ่งมปี ระโยชน์ตอ่ ผู้ที่เขา้ ร่วมโครงการ ฯ และผูท้ ี่เกีย่ วข้องสำหรบั ใชใ้ นการพฒั นางานให้
มคี วาวมก้าวหน้า ตอ่ ไป

คณะผู้จดั ทำ

สารบญั ๓

บทท่ี 1 บทนำ หน้า
หลักการและเหตผุ ล 1
วัตถปุ ระสงค์ 1
ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั 1
2
บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วข้อง 3
เอกสารแนวคิด ทฤษฎีท่ีเก่ียวกับการประเมินโครงการ 3
44
บทท่ี 3 วิธกี ารประเมินโครงการ 44
ข้นั ตอนการรดำเนินงาน 45
สถิติที่ใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล 46
50
บทท่ี 4 ผลการประเมนิ โครงการ 50
บทท่ี 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 51
51
ผลสรปุ
อภปิ รายผล
ข้อเสนอแนะ



บทที่ 1
บทนำ

1. หลกั การและเหตุผล

สำนกั งาน กศน. ได้จดั ทำโครงการค่ายเรยี นรปู้ ระวัติศาสตรช์ าติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์
ไทย โดยน้อมนำพระราชกระแสรับส่ัง ในด้านการศึกษาของ สมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รชั กาลท่ี 10 ซง่ึ เน้นให้การศึกษา
ดา้ นมุง่ สร้างพ้ืนฐานให้แก่ผ้เู รียน การสร้างทัศนคตทิ ี่ถกู ต้อง (อุปนสิ ยั ) ท่มี งั่ คงเขม้ แขง็ การสอนใหม้ อี าชพี มีงานทำ
รวมถึงการทำให้เยาวชนมีความสนใจ และเข้าใจในเรื่องของสถาบันพระมหากษัตริย์และประวัติศาสตร์ชาติไทย
ได้อย่างถูกต้องเป็นแนวทางในการดำเนินงาน นอกจากนี้โครงการค่ายเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย และบุญคุณ
ของพระมหากษตั ริยไ์ ทยเปน็ การดำเนินการเพอ่ื สนองตอบนโยบายและยทุ ธศาสตร์

เพอื่ ให้การจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรยี นดำเนนิ การตามนโยบายดงั กลา่ วอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนครราชสีมา จึงได้จัดโครงการค่ายเรียนรู้
ประวัติศาสตร์ชาติไทย เพื่อพัฒนาคุณภาพนักศึกษาให้มีความรู้เรื่องประวัติศาสตร์ชาติไทยและนำความรู้ทาง
ประวตั ศิ าสตรไ์ ปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำวนั

2. วัตถุประสงค์

2.1 เพ่อื ใหน้ ักศึกษามคี วามรู้เร่อื งประวัติศาสตร์ชาติไทย
2.2 เพ่อื ให้นักศึกษาไดน้ ำความรูท้ างประวตั ศิ าสตร์ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวัน

รูปแบบการประเมนิ โครงการ
รปู แบบการประเมนิ แบบซิป (CIPP Model) เปน็ การประเมนิ ภาพรวมของโครงการ

ตง้ั แต่บริบท ปัจจยั ป้อน กระบวนการ และผลผลิต โดยจะใชว้ ิธีการสร้างเกณฑแ์ ละประสิทธภิ าพ
ของโครงการ ทัง้ ภาพรวม

การประเมินดา้ นบริบท เพ่ือประเมนิ เน้ือความ เป็นการศึกษาปจั จัยพื้นฐานที่นำไปสูก่ ารพัฒนา
เป้าหมายของโครงการ ได้แก่ บริบทของสภาพแวดลอ้ ม นโยบาย วสิ ัยทัศน์ ปัญหา งบประมาณตลอดจน
แนวโนม้ การก่อตวั ของปญั หาทีอ่ าจจะเปน็ อปุ สรรคตอ่ การดำเนนิ โครงการ

การประเมินปัจจัยป้อน เพ่อื คน้ หาประสทิ ธิภาพขององคป์ ระกอบทน่ี ำมาเป็นปจั จัยป้อน
ซึง่ ในดา้ นจำแนกเป็นบคุ คล สงิ่ อำนวยสะดวก เคร่อื งมือ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ ศักยภาพการบริหารงานซ่ึงแต่
ละปัจจัยก็ยังจำแนกย่อยออกไปอีก เช่นบุคคล อาจพิจารณาเป็นเพศ อายุ อาชีพกลุ่มเป้าหมาย ความพึงพอ
ใจความคาดหวัง ทัศนคติศักยภาพ ความสามารถ ประสบการณ์ ความรู้ คุณวฒุ ิทางการศึกษา

การประเมินกระบวนการ เพอื่ ศึกษาตอ่ จากการประเมินบริบทและปจั จัยป้อนว่า
กระบวนการเป็นไปตามแผนท่วี างไว้ เปน็ การศึกษาคน้ หาข้อบกพร่อง จุดออ่ น หรือจุดแขง็ ของกระบวนการ
บรหิ ารจดั การโครงการท่จี ะนำโครงการบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ท่ีวางไวว้ า่ มปี ระสิทธภิ าพมากน้อยเพยี งใด

การประเมินผลผลิต เพื่อตรวจสอบประสิทธิผลของโครงการ โดยเฉพาะความสอดคล้องระหว่าง
วัตถุประสงค์กับผลลพั ธ์ท่ไี ด้แล้วนำเกณฑท์ ก่ี ำหนดไวไ้ ปตัดสิน เกณฑ์มาตรฐานจะกำหนดขน้ึ เอง

ระยะเวลาการประเมินโครงการ

วนั ท่ี 22 – 23 ธนั วาคม 2561



ประโยชน์ทค่ี าดวา่ จะไดร้ ับ
นกั ศึกษามีความร้เู ร่ืองประวัติศาสตรช์ าตไิ ทยและนำความรู้ทางประวตั ิศาสตรไ์ ปประยกุ ต์

ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั



บทที่ 2
เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง

ประวัติศาสตรไ์ ทยก่อนสมยั สโุ ขทยั

คำว่าไทย เป็นชื่อรวมของชนเผ่ามองโกล ซึ่งแบ่งแยกออกเป็นหลายสาขา เช่น ไทยอาหม ในแคว้นอัสสัม
ไทยใหญ่ ไทยน้อย ไทยโท้ ในแคว้นตง้ั เกย๋ี อปุ นิสยั ปกตมิ ักเอ้ือเฟ้อื เผื่อแผ่ รักสนั ติ และความเป็นอสิ ระ

ความเจริญของชนชาติไทยนี้ สันนิษฐานว่า มีอายุไร่เรี่ยกันมากับความเจริญของ ชาวอียิปต์บาบิโลเนยี
และอัสสิเรยี โบราณ ไทยเปน็ ชาติท่ีมีความเจริญมาก่อนจีนและก่อนชาวยุโรป ซึ่งขณะนน้ั ยงั เป็นพวกอนารยชนอยู่
เปน็ ระยะเวลา ประมาณ 5,000 - 6,000 ปีมาแล้วทชี่ นชาติไทยไดเ้ คยมีที่ทำกินเปน็ หลักฐาน มีการปกครอง
เปน็ ปกึ แผ่น และมีระเบยี บแบบแผนอยู่ ณ ดินแดนซ่งึ เป็นประเทศจนี ในปัจจุบนั

เมื่อประมาณ 3,500 ปี ก่อนพุทธศักราช ชนชาติไทยได้อพยพข้ามเทือกเขาเทียนชาน เดินทางมา
จนถึงที่ราบลุ่มอันอุดมสมบูรณ์ ณ บริเวณต้นแม่น้ำฮวงโห และแม่น้ำแยงซีเกียงและได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ ณ
บริเวณที่แห่งนั้น แล้วละเลิกอาชีพเลี้ยงสัตว์แต่เดิม เปลี่ยนมาเป็นทำการกสิกรรม ความเจริญก็ยิ่งทวีมากข้ึน
มกี ารปกครองเป็นปกึ แผน่ และไดข้ ยายทที่ ำกินออกไปทางทิศตะวนั ออกตามลำดับ

ในขณะที่ชนชาติไทยมีความเปน็ ปกึ แผ่นอยู่ ณ ดินแดนและมีความเจริญดังกลา่ ว ชนชาติจีนยังคงเปน็
พวกเลี้ยงสัตว์ ที่เร่ร่อนพเนจรอยู่ตามแถบทะเลสาบแคสเบียน ต่อมาเมื่อประมาณกว่าหนึ่งพันปีที่ไทยอพยพ
เข้ามาอยู่ในที่ราบลุ่มแม่นำ้ เรยี บร้อยแล้วชนชาตจิ นี จึงได้อพยพเข้ามาอยู่ในลุ่มน้ำดังกล่าวน้ีบ้าง และได้พบวา่
ชนชาติไทยได้ครอบครองและมีความเจริญอยู่ก่อนแล้ว ในระหว่างระยะเวลานั้น เราเรียกตัวเองว่าอ้ายลาว
หรือพวกมุง ประกอบกนั ขึ้นเปน็ อาณาจักรใหญ่ ถึงสามอาณาจักร ด้วยกันคอื

อาณาจักรลุง ต้ังอยู่ทางตอนเหนือบริเวณต้นแมน่ ำ้ เหลอื ง (หวงโห)

อาณาจกั รปา ตง้ั อยู่ทางใต้ลงมาบรเิ วณพ้นื ทีท่ างเหนอื ของมณฑลเสฉวน

อาณาจกั รปาจัดว่าเปน็ อาณาจักรทสี่ ำคัญกวา่ อาณาจักรอนื่

อาณาจกั รเงย้ี ว ต้งั อยูท่ างตอนกลางของล่มุ แมน่ ำ้ แยงซีเกยี ง

ท้งั สามอาณาจักรน้ี มคี วามเจริญรุ่งเรอื งข้นึ ตามลำดบั ประชากรกเ็ พิม่ มากข้นึ จงึ ได้แผ่ขยายอาณาเขต
ออกมาทางทิศตะวันออก โดยมีแม่น้ำแยงซีเกียงเป็นแกนหลัก จากความอุดมสมบูรณ์ในพื้นที่ถิ่นที่อยู่ใหม่ มี
อิทธิพลทำให้เปลี่ยนแปลงอุปนิสัยเดิม ตั้งแต่ครั้งยังทำการเลี้ยงสัตว์ ที่โหดเหี้ยม และชอบรุกราน มาเป็นชน
ชาติทมี่ ใี จกวา้ งขวาง รกั สงบพอใจความสันติ อนั เป็นอปุ นสิ ยั ทเ่ี ปน็ มรดกตกทอดมาถึงไทยร่นุ หลังตอ่ มา

เหตุที่ชนชาติจีนเข้ามารู้จักชนชาติไทยเป็นครัง้ แรก เมื่อแหล่งทำมาหากินทางแถบทะเลสาบแคสเบียน
เกิดขาดแคลน ทำให้ชนชาติจีนต้องอพยพเคลื่อนย้ายมาทางทิศตะวันออก เมื่อประมาณ 2,500 ปี ก่อน
พทุ ธศักราช

ชนชาติจีนได้อพยพข้ามเทือกเขาเทียนชาน ที่ราบสูงโกบี จนมาถึงลุ่มแม่น้ำไหว จึงได้ตั้งถิ่นฐานอยู่ ณ
ที่นั้น และมีความเจริญขึ้นตามลำดับ ปรากฎมีปฐมกษัตริย์ของจีนชื่อ ฟูฮี ได้มีการสืบวงค์กษัตริย์กันต่อมา
แต่ขณะนั้นจีนกับไทยยังไม่รู้จักกัน ล่วงมาจนถึงสมัยพระเจ้ายู้ จีนกับไทยจึงได้รู้จักกันครั้งแรก โดยมีสาเหตุ
มาจากที่พระเจ้ายู้ ได้มีรับสั่งให้มีการสำรวจ พระราชอาณาเขตขึ้น ชาวจีนจึงได้มารู้จักชาวไทยได้เห็นความ
เจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอ้ายลาว จึงยกย่องนับถือถึงกับให้สมญาอาณาจักรอ้ายลาวว่า อาณาจักรไต๋ ซึ่งมี
ความหมายว่าอาณาจกั รใหญ่ สันนษิ ฐานว่า เปน็ สมยั แรกท่จี นี กับไทยได้แลกเปล่ียนสมั พนั ธไมตรีต่อกัน



ประวัตศิ าสตรไ์ ทย/ประวตั ศิ าสตรไ์ ทยกอ่ นสมยั สุโขทัย/อาณาจักรอา้ ยลาวถกู รกุ ราน

เมื่อประมาณ 390 ปี ก่อนพุทธศักราช พวกจีนได้ถูกชนชาติตาดรุกราน พวกตาดได้ล่วงเลยเข้ามา
รุกรานถึงอาณาจักรอา้ ยลาวด้วย อาณาจกั รลุงซ่ึงอยู่ทางเหนือ ต้องประสบภัยสงครามอย่างร้ายแรง ในท่ีสุดก็
ต้องทิ้งถิ่นฐานเดิม อพยพลงมาทางนครปา ซึ่งอยู่ทางใต้ ปล่อยให้พวกตาดเข้าครอบครองนครลุง ซึ่งมีอาณา
เขตประชดิ ติดแดนจีน ฝา่ ยอาณาจักรจีนในเวลาต่อมาเกิดการจลาจล พวกราษฎรพากนั อพยพหนีภัยสงคราม
เขา้ มาในนครปาเป็นครั้งแรก เมอ่ื อพยพมาอย่กู ันมากเข้า กม็ าเบียดเบียนชนชาตไิ ทยในการครองชพี

ชนชาติไทยทนการเบียดเบียนไม่ได้ จึงได้อพยพจากนครปามาหาที่ทำกินใหม่ทางใต้ครั้งใหญ่ เม่ือ
ประมาณ 50 ปี ก่อนพุทธศักราช แต่อาณาจักรอ้ายลาวก็ยังคงอยู่จนถึงประมาณ ก่อนค.ศ. 368 อาณาจักร
จีนเกิดมีแคว้นหนึ่ง คือ แคว้นจิ๋น มีอำนาจขึ้นแล้วใช้แสนยานุภาพเข้ารุกรานอาณาจักรอ้ายลาว นับเป็นคร้ัง
แรกที่ไทยกับจนี ไดร้ บพ่งุ กัน ในทสี่ ดุ ชนชาติไทยก็เสียนครปาให้แกจ่ ีน เม่ือ กอ่ น ค.ศ.338

ผลของสงครามทำให้ชาวนครปาที่ยังตกคา้ งอยู่ในถ่ินเดิม อพยพเขา้ มาหาพวกเดียวกันท่ีอาณาจักรเง้ียว
ซ่ึงขณะนนั้ ยงั เปน็ อิสระอยไู่ ม่ได้อยู่ในอำนาจของจีน แต่ฝา่ ยจีนยงั คงรุกรานลงทางใตส้ ู่อาณาจักรเงี้ยวต่อไป ใน
ทส่ี ุดชนชาตไิ ทยกเ็ สียอาณาจกั รเง้ยี วให้แก่ พระเจ้าจนิ๋ ซฮี ่องเต้ เม่อื กอ่ น ค.ศ. 215

ประวัตศิ าสตรไ์ ทย/ประวัตศิ าสตรไ์ ทยกอ่ นสมัยสโุ ขทัย/อาณาจกั รเพงาย

ตั้งแต่ พ.ศ. 400 - 621 เมื่ออาณาจักรอ้ายลาวถูกรุกรานจากจีน ทั้งวิธีรุกเงียบและรุกรานแบบ
เปดิ เผยโดยใชแ้ สนยานภุ าพ จนชนชาตไิ ทยอ้ายลาวสิน้ อสิ ระภาพ จงึ ไดอ้ พยพอกี ครงั้ ใหญ่ แยกย้ายกนั ไปหลาย
ทิศหลายทาง เพื่อหาถิ่นอยู่ใหม่ ได้เข้ามาในแถบลุ่มแม่น้ำสาละวิน ลุ่มแม่น้ำอิรวดี บางพวกก็ไปถึงแคว้น
อัสสัม บางพวกไปยังแคว้นตังเกี๋ย เรียกว่าไทยแกว บางพวกเข้าไปอยู่ที่แคว้นฮุนหนำ พวกนี้มีจำนวน
ค่อนขา้ งมาก ในท่ีสุดได้ตงั้ อาณาจกั รขึ้น เมอื่ พ.ศ. 400 เรยี กว่าอาณาจกั รเพงาย

ในสมัยพระเจ้าขุนเมือง ได้มีการรบระหว่างไทยกับจีน หลายครั้งผลัดกันแพ้ผลัดกันชนะ สาเหตุที่รบ
กันเนื่องจากว่า ทางอาณาจักรจีน พระเจ้าวู่ตี่ เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา และได้จัดสมณทูตให้ไปสืบสวน
พระพุทธศาสนาที่ประเทศอินเดียแต่การเดินทางของสมณทูตต้องผ่านเข้ามาในอาณาจักรเพงาย พ่อขุนเมือง
ไม่ไว้ใจจึงขัดขวาง ทำใหก้ ษัตรยิ ์จนี ขัดเคอื งจงึ ส่งกองทัพมารบ ผลทีส่ ดุ ชาวเพงายต้องพ่ายแพ้ เมอ่ื พ.ศ. 456

ต่อมาอาณาจักรจีนเกิดการจลาจล ชาวนครเพงายจึงได้โอกาสแข็งเมือง ตั้งตนเป็นอิสระ จนถึง พ.ศ.
621 ฝ่ายจีนได้รวมกันเป็นปึกแผ่นและมีกำลังเข้มแข็ง ได้ยกกองทัพมารุกรานไทย สาเหตุของสงคราม
เนอ่ื งจากพระเจ้าม่ิงต่ี กษตั ริย์จนี ได้วางแผนการขยายอาณาเขต โดยใช้ศาสนาเปน็ เคร่ืองมอื โดยได้ส่งสมณฑูต
ไปเผยแผพ่ ระพทุ ธศาสนายงั ประเทศใกลเ้ คียง สำหรับนครเพงายน้นั เม่อื พระพุทธศาสนาแผไ่ ปถึงพ่อขุนลิวเมา
ซึ่งเป็นหัวหนา้ ก็เล่ือมใส ชาวนครเพงายโดยท่ัวไปกย็ อมรับนับถือเปน็ ศาสนาประจำชาติ ด้วยต่างกป็ ระจักษใ์ น
คุณค่าของพระธรรมอันวิเศษยอดเย่ยี ม นบั วา่ สมยั นเ้ี ปน็ สมัยสำคญั ที่พระพุทธศาสนาได้แผเ่ ขา้ มาถึงอาณาจักร
ไทย คือ เมื่อประมาณ พ.ศ. 612 เมื่อเป็นเช่นน้ันฝ่ายจีนจึงถือวา่ ไทยต้องเปน็ เมืองขึ้นของจีนด้วย จึงได้ส่งขนุ
นางเข้ามาควบคุมการปกครองนครเพงาย เมื่อทางไทยไม่ยอมจึงเกิดผดิ ใจกนั ฝ่ายจีนได้กรีฑาทัพใหญ่เข้าโจมตี
นครเพงาย นครเพงายจงึ เสยี อิสระภาพ เมือ่ พ.ศ. 621

ประวตั ิศาสตร์ไทย/ประวัตศิ าสตรไ์ ทยกอ่ นสมยั สโุ ขทยั /อาณาจักรน่านเจ้า

หลังจากนครเพงายเสียแก่จีนแล้ว ก็ได้มีการอพยพครั้งใหญ่กันอีกครั้งหนึง่ ลงมาทางทิศใต้และทางทิศ
ตะวันตก สว่ นใหญม่ ักเข้ามาตง้ั อย่ตู ามลุ่มแมน่ ำ้ ในเวลาต่อมาไดเ้ กิดมีเมืองใหญ่ข้นึ ถึง 6 เมอื ง ทั้ง 6 เมืองต่าง
เป็นอิสระแก่กัน ประกอบกับในห้วงเวลานั้นกษัตริย์จีนกำลังเสื่อมโทรม แตกแยกออกเป็นสามก๊ก ก๊กของเล่าป่ี



อนั มีขงเบ้งเป็นผู้นำ ไดเ้ คยยกมาปราบปรามนครอิสระของไทย ซึ่งมีเบง้ เฮกเป็นหัวหนา้ ได้สำเรจ็ ชาวไทยกลุม่ น้ี
จึงตอ้ งอพยพหนภี ัยจากจนี

ตอ่ มาเมือ่ พ.ศ. 850 พวกตาดไดย้ กกำลังเขา้ รุกราน อาณาจักรจนี ทางตอนเหนือ เมือ่ ตีได้แล้วก็ตั้งตน
ขึ้นเป็นกษัตริย์ทางเหนือมีปักกิ่งเป็นเมืองหลวง ส่วนอาณาจักรทางใต้กษัตริย์เชื้อสายจีนก็ครองอยู่ที่เมืองน่ำกิง
ทั้งสองพวกได้รบพุ่งกันเพื่อแย่งชิงความเป็นใหญ่ ทำให้เกิดการจลาจลไปทั่วอาณาจักร ผลแห่งการจลาจล
คร้ังน้ัน ทำให้นครอิสระท้ัง 6 ของไทย คือ ซลี ง่ มง่ เส ลา่ งกง มงุ่ ซยุ เอีย้ แซ และเทง่ เซีย้ ง กลับคนื เปน็ เอกราช

นครม่งเสนับว่าเป็นนครสำคัญ เป็นนครที่ใหญ่กว่านครอื่นๆ และตั้งอยู่ต่ำกว่านครอื่น ๆ จึงมีฐานะ
มั่นคงกว่านครอื่น ๆ ประกอบกับมีกษัตริย์ที่มีพระปรีชาสามารถ และเข้มแข็ง คือ พระเจ้าสินุโล พระองค์ได้
รวบรวมนครรัฐทั้ง 6 เข้าเป็นอันหนึ่งอันเดยี วกันรวมเรียกว่า อาณาจักรม่งเส หรือ หนองแส จากนั้นพระองค์
ได้วางระเบียบการปกครองอาณาจักรอย่างแน่นแฟ้น พระองค์ได้ดำเนินนโยบายผูกมิตรกับจีน เพื่อป้องกัน
การรุกราน เน่อื งจากในระยะน้ันไทยกำลังอยู่ในห้วงเวลาสร้างตัวจนมีอำนาจ เปน็ อาณาจักรใหญ่ที่มีอาณาเขต
ประชดิ ติดกบั จีน ทางฝา่ ยจนี เรียกอาณาจกั รน้ีว่า อาณาจกั รนา่ นเจ้า

แม้ว่าอาณาจักรน่านเจ้าจะสิ้นรัชสมัยพระเจ้าสินุโลไปแล้วก็ตาม พระราชโอรสของพระองค์ซึ่ง
สืบราชสมบัติ ต่อมาก็ทรงพระปรีชาสามารถ นั่นคือพระเจ้าพีล่อโก๊ะ พระองค์ได้ทำให้อาณาจักรน่านเจ้า
เจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้นไปกว่าเดิม อาณาเขตก็กว้างขวางมากขึ้นกว่าเก่า งานชิ้นสำคัญของพระองค์อย่างหนึ่งก็คอื
การรวบรวมนครไทยอสิ ระ 5 นครเขา้ ดว้ ยกนั และการเป็นสมั พันธไมตรีกบั จนี

ในสมัยนี้อาณาจักรน่านเจ้า ทิศเหนือจดมณฑลฮุนหนำ ทิศใต้จดมณฑลยูนาน ทิศตะวันตกจดธิเบต
และพม่า และทิศตะวันออกจดมณฑลกวางไส บรรดาอาณาจักรใกล้เคียงต่างพากันหวั่นเกรง และยอมอ่อน
นอ้ มตอ่ อาณาจักรนา่ นเจ้าโดยท่วั หน้ากัน พระเจา้ พีล่อโก๊ะมอี ุปนิสยั เปน็ นักรบ จงึ โปรดการสงคราม ปรากฎว่า
ครั้งหนึ่ง พระองค์เสด็จเป็นจอมทัพไปช่วยจีนรบกับชาวอาหรับ ที่มณฑลซินเกียง และพระองค์ได้รับชัยชนะ
อยา่ งงดงาม ทางกษตั รยิ ์จนี ถงึ กบั ยกยอ่ งใหส้ มญานามพระองคว์ ่า ยูนานออ๋ ง พระองค์เป็นกษตั ริย์ท่ีเห็นการณ์
ไกล มีนโยบายในการแผ่อาณาเขตท่ีฉลาดสุขุมคัมภีรภาพ วธิ ีการของพระองค์คือ สง่ พระราชโอรสให้แยกย้าย
กนั ไปตง้ั บา้ นเมืองขนึ้ ใหมท่ างทิศใต้ และทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ ได้แกบ่ รเิ วณ หลวงพระบาง ตังเก๋ีย
สบิ สองปนั นา สบิ สองจไุ ทย (เจ้าไทย) หวั พันทั้งหา้ ทัง้ หก

กาลต่อมาปรากฎว่าโอรสองค์หนึ่งได้ไปสร้างเมืองชื่อว่า โยนกนคร ขึ้นทางใต้ เมืองต่าง ๆ ของโอรส
เหล่านี้ต่างกเ็ ป็นอสิ ระแก่กนั เมื่อส้นิ สมัยพระเจ้าพลี ่อโกะ๊ (พ.ศ. 1289) พระเจา้ โก๊ะล่อฝง ผ้เู ป็นราชโอรสได้
ครองราชยสบื ต่อมา และได้ดำเนินนโยบายเป็นไมตรีกบั จีนตลอดมา จนถึง พ.ศ. 1293 จงึ มีสาเหตุขัดเคืองใจ
กนั ขน้ึ มูลเหตุเนือ่ งจากว่า เจ้าเมืองฮุนหนำได้แสดงความประพฤติดหู มิน่ พระองค์ พระองค์จึงขัดเคืองพระทัย
ถึงขั้นยกกองทัพไปตีได้เมืองฮุนหนำ และหัวเมืองใหญ่น้อยอื่น ๆ อีก 32 หัวเมือง แม้ว่าทางฝ่ายจีนจะ
พยายามโจมตีกลับคืนหลายครั้งก็ไม่สำเร็จ ในที่สุดฝ่ายจีนก็เข็ดขยาด และเลิกรบไปเอง ในขณะที่ไทยทำ
สงครามกับจีน ไทยก็ไดท้ ำการผูกมิตรกบั ธิเบต เพ่ือหวังกำลงั รบ และเปน็ การปอ้ งกนั อันตรายจากด้านธเิ บต

เมื่อสิ้นสมัยพระเจ้าโก๊ะล่อฝง ราชนัดดาคือเจ้าอ้ายเมืองสูง (อีเหมาซุน) ได้ขึ้นครองราชย์สืบต่อมามี
เหตุการณ์ในตอนต้นรัชกาล คือไทยกับธิเบตเป็นไมตรีกัน และได้รวมกำลังกันไปตีแคว้นเสฉวนของจีนแต่ไม่
เป็นผลสำเร็จ ในเวลาต่อมา ธิเบตถูกรุกรานและได้ขอกำลังจากไทยไปช่วยหลายครั้ง จนฝ่ ายไทยไม่พอใจ
ประจวบกันในเวลาต่อมา ทางจีนได้แต่งฑูตมาขอเป็นไมตรีกับไทยเจ้าอ้ายเมืองสูงจึงคิดที่จะเป็นไมตรีกับจีน
เมื่อทางธิเบตทราบระแคะระคายเข้าก็ไม่พอใจ จึงคิดอุบายหักหลังไทย แต่ฝ่ายไทยไหวทันจึงสวมรอยเข้า
โจมตธี เิ บตยอ่ ยยบั ตีได้หัวเมอื งธิเบต 16 แหง่ ทำให้ธิเบตเข็ดขยาดฝีมอื ของไทยนบั ตั้งแตน่ ั้นมา



ในเวลาต่อมากษัตริย์น่านเจ้าในสมัยหลังอ่อนแอ และไม่มีนิสัยเป็นนักรบ ดังปรากฎในตามบันทึกของ
ฝ่ายจีนว่า ในสมัยที่พระเจ้าฟ้า ขึ้นครองราชย์ เมื่อปี พ.ศ. 1420 นั้น ได้มีพระราชสาส์นไปถึงอาณาจักรจีน
ชวนให้เป็นไมตรีกัน ทางฝ่ายจีนกต็ กลง เพราะยงั เกรงในฝมี ือ และความเข้มแขง็ ของไทยอยู่ แตก่ ระน้ันก็ไม่ละ
ความพยายามท่จี ะหาโอกาสรุกรานอาณาจกั รนา่ นเจ้า ปรากฎวา่ พระเจ้าแผ่นดินจนี ได้สง่ ราชธิดา หงางฝ่า
ให้มาอภิเษกสมรสกับพระเจ้าฟ้า เพื่อหาโอกาสรุกเงียบในเวลาต่อมา โดยได้พยายามผันแปรขนบธรรมเนียม
ประเพณีในราชสำนัก ให้มีแบบแผนไปทางจีนทีละน้อย ๆ ดังนั้นราษฎรน่านเจ้าก็พากันนิยมตาม จนในที่สุด
อาณาจักรนา่ นเจ้าก็มลี ักษณะคล้ายกับอาณาจักรจีน แมว้ า่ ส้นิ สมัยพระเจา้ ฟ้า กษัตริยน์ ่านเจ้าองคห์ ลงั ๆ ก็คง
ปฎิบัติตามรอยเดิม ประชาชนชาวจีนก็เข้ามาปะปนอยู่ด้วยมาก แม้กษัตริย์เองก็มีสายโลหิตจากทางจีนปะปน
อยู่ด้วยแทบทุกองค์ จึงกอ่ ให้เกิดความเส่อื ม ความอ่อนแอขน้ึ ภายใน มีการแย่งชิงราชสมบัตกิ ันในบางครัง้
จนในทสี่ ดุ เกดิ การแตกแยกในอาณาจกั รนา่ นเจ้า ความเสอื่ มได้ดำเนินต่อไปตามลำดบั จนถึงปี พ.ศ. 1823
ก็สิ้นสุดลงด้วยการโจมตีของกุบไลข่าน (Kublai Khan) กษัตริย์แห่งราชอาณาจักรจีน อาณาจักรน่านเจ้าก็ถึง
กาลแตกดบั ลงในคร้งั น้ัน

ประวตั ิศาสตร์ไทย/ประวัตศิ าสตรไ์ ทยก่อนสมยั สุโขทัย/ความเจรญิ ของอาณาจกั ร

นา่ นเจ้า

ตามบันทึกของจีนโบราณกลา่ วไวว้ ่า นอกจากนา่ นเจ้าจะเป็นอาณาจักรใหญ่ท่ีมปี ระชากรหนาแน่นแล้ว
ยงั มคี วามเจริญรงุ่ เรืองอย่างสูง ทางด้านการปกครองได้จดั แบ่งออกเป็น 9 กระทรวง คือ

กระทรวงว่าการทหาร

กระทรวงจัดการสำมะโนครวั

กระทรวงราชประเพณี

กระทรวงยุตธิ รรม

กระทรวงมหาดไทย

กระทรวงโยธา

กระทรวงพาณิชย์

กระทรวงการคลงั

และกระทรวงการต่างประเทศ

มีเจา้ พนกั งานสำหรบั สอบคดั เลือกผเู้ ขา้ รบั ราชการ กองทหารกจ็ ัดเป็น หมู่ หมวด กองรอ้ ย กองพัน
มีธงประจำกอง ทหารแต่งกายดว้ ยเสื้อกางเกงทำดว้ ยหนังสัตว์ สวมหมวกสแี ดงมียอด ถือโลห์หนงั แรด มีหอก
หรอื ขวานเป็นอาวุธ หากใครมมี า้ ก็เป็นทหารม้า ทรัพย์สินของรัฐมยี ุ้งฉางสำหรับเสบียงของหลวง มโี รงม้าหลวง
มีการเก็บภาษีอากร มีการแบ่งปันที่นาให้ราษฎรตามส่วน อาชีพทั่วไปของราษฎรคือการเพาะปลูก เมื่อรู้จัก
ปลกู ฝา้ ยก็มีการทอผา้ นอกจากน้นั ก็มอี าชพี ขดุ ทอง

ศาสนาประจำชาตสิ ่วนมากนบั ถือพระพทุ ธศาสนาฝ่ายมหายาน รวมท้ังนับถือศาสนาเดมิ ท่ีนบั ถือ
บรรพบุรษุ

การศึกษาชนชาติไทยในสมยั น่านเจา้ มภี าษาใชป้ ระจำชาติโดยเฉพาะแล้ว แต่เรอ่ื งของตัวหนังสือเรายัง
ไม่สามารถทราบไดว้ ่ามีใชห้ รือยัง



ชนชาติต่าง ๆ ในแหลมสุวรรณภูมิก่อนท่ีไทยจะอพยพมาอยู่ ชนชาติดั้งเดิม และมีความเจริญน้อยที่สดุ
กค็ อื พวก นโิ กรอิด (Negroid) ซึง่ เป็นบรรพบรุ ุษของ พวกเงาะ เช่น เซมงั ซาไก (Sakai) ปัจจบุ นั ชนชาติเหล่านี้
มีเหลืออยู่น้อยเต็มที แถวปักษ์ใต้อาจมีเหลืออยู่บ้าง ในเวลาต่อมาชนชาติที่มีอารยธรรมสูงกว่า เช่น
มอญ ขอม ละวา้ ไดเ้ ข้ามาตงั้ ถนิ่ ฐาน

ขอม มีถิ่นฐานทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ของแหลมสุวรรณภูมิ ในบริเวณแม่น้ำโขงตอนใต้ และ
ทะเลสาบเขมร

ลาวหรอื ละวา้ มีถ่นิ ฐานอย่บู ริเวณลุ่มแมน่ ำ้ เจ้าพระยา เป็นดนิ แดนตอนกลางระหวา่ งขอมและมอญ

มอญ มีถน่ิ ฐานอยู่บริเวณลุ่มแม่นำ้ สาละวิน และแมน่ ำ้ อริ วดี

ทัง้ สามชาตินี้มคี วามละมา้ ยคล้ายคลึงกันมาก ตงั้ แต่รูปรา่ ง หน้าตา ภาษา และขนบธรรมเนยี มประเพณี
สันนษิ ฐานไดว้ า่ นา่ จะเป็นชนชาตเิ ดียวกันมาแต่เดิม

อาณาจักรละว้า เมื่อประมาณ พ.ศ. 700 ชนชาติละว้าซึ่งเข้าครอบครองถิ่นเจ้าพระยา ได้ตั้ง
อาณาจกั รใหญ่ขึ้นสามอาณาจกั รคอื

อาณาจักรทวาราวดี มีอาณาเขตประมาณต้งั แตร่ าชบุรี ถงึ พษิ ณโุ ลก มนี ครปฐมเป็นเมืองหลวง

อาณาจักรโยนกหรือยาง เป็นอาณาจักรทางเหนือในเขตพื้นที่เชียงราย และเชียงแสน มีเงินยางเป็น
เมืองหลวง

อาณาจักรโคตรบูรณ์ มอี าณาเขตตัง้ แต่นครราชสีมาถงึ อดุ รธานี มีนครพนมเปน็ เมอื งหลวง

อารยธรรมท่ีนำมาเผยแพร่ แหลมสวุ รรณภูมิไดเ้ ป็นศูนย์กลางการค้าของจีน และอนิ เดียมาเป็นเวลาช้า
นาน จนกลายเป็นดินแดนแห่งอารยธรรมผสม ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของบริเวณนี้ เป็นเหตุดึงดูดให้
ชาวต่างชาติเข้ามาอาศัย และติดต่อค้าขาย นับตั้งแต่ พ.ศ. 300 เป็นต้นมา ได้มีชาวอินเดยี มาอยู่ในดินแดน
สุวรรณภูมิเป็นจำนวนมากขึ้นตามลำดับ รวมทั้งพวกที่หนีภัยสงครามทางอินเดียตอนใต้ ซึ่งพระเจ้าอโศก
มหาราช กษตั ริยแ์ หง่ แคว้นโกศลได้กรีฑาทัพไปตีแควน้ กลงิ คราฎร์ ชาวพนื้ เมืองอินเดียตอนใต้ จงึ อพยพเข้ามา
อย่ทู ีพ่ มา่ ตลอดถงึ พ้ืนทีท่ ัว่ ไปในแหลมมลายู และอินโดจีน อาศัยท่พี วกเหล่านี้มคี วามเจรญิ อยู่แล้ว จึงได้นำเอา
วชิ าความรูแ้ ละความเจริญตา่ ง ๆ มาเผยแพร่ คือ

ศาสนาพุทธ พระพุทธศาสนา ซึ่งเหมาะสมในทางอบรมจิตใจ ให้ความสว่างกระจ่างในเรื่อง บาป บุญ
คุณ โทษ สันนิษฐานว่า พุทธศาสนาเข้ามาเผยแผ่เป็นครั้งแรกโดย พระโสณะ และพระอุตระ ในสมัยพระเจ้า
อโศกมหาราชแห่งอนิ เดยี

ศาสนาพราหมณ์ มีความเหมาะสมในดา้ นการปกครอง ซึ่งตอ้ งการความศกั ดิ์สิทธิ์ และเดด็ ขาด ศาสนา
นีส้ อนให้เคารพในเทพเจา้ ทั้งสามคือ พระอศิ วร พระพรหม และพระนารายณ์

นิติศาสตร์ ได้แก่การปกครอง ได้วางแผนการปกครองหัวเมืองตลอดจนการตั้งมงคลนาม ถวายแก่
พระมหากษตั รยิ ์ และตั้งชอ่ื เมอื ง

อักษรศาสตร์ พวกอินเดียตอนใต้ได้นำเอาตัวอักษรคฤณฑ์เข้ามาเผยแพร่ ต่อมาภายหลังได้ดัดแปลง
เป็นอักษรขอม และอักษรมอญ พ่อขุนรามคำแหงมหาราชได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทย โดยดัดแปลงจากอักษร
ขอม เมื่อปี พ.ศ. 1823

ศิลปศาสตร์ ไดแ้ ก่ฝมี อื ในการก่อสรา้ ง แกะสลัก กอ่ พระสถูปเจดยี ์ และหลอ่ พระพุทธรปู



ประวัติศาสตรไ์ ทย/ประวัตศิ าสตร์ไทยก่อนสมยั สโุ ขทัย/การแผอ่ ำนาจของขอมและพม่า

ประมาณปี พ.ศ. 601 โกณฑัญญะ ซึ่งเป็นชาวอินเดียได้สมรสกับนางพญาขอม และต่อมาได้ขึ้นเป็น
กษัตรยิ ์ ครอบครองดินแดนของนางพญาขอม จัดการปกครองบ้านเมืองดว้ ยความเรยี บร้อย ทำนุบำรุงกิจการ
ทหาร ทำให้ขอมเจริญขึ้นตามลำดับ มีอาณาเขตแผ่ขยายออกไปมากขึ้น ในที่สุดก็ได้ยกกำลังไปตีอาณาจักร
โคตรบรู ณ์ ซงึ่ เป็นอาณาจกั รทอี่ ยูท่ างเหนือของละว้าไว้ได้ แลว้ ถอื โอกาสเขา้ ตีอาณาจักรทลาวดี

ต่อมาเมื่อประมาณปี พ.ศ. 1600 กษัตริย์พม่าผู้มีความสามารถองค์หนึ่ง คือ พระเจ้าอโนธรามัง
ช่อ ได้ยกกองทัพมาตีอาณาจักรมอญ เมื่อตีอาณาจักรมอญไว้ในอำนาจได้ แล้วก็ยกทัพล่วงเลยเข้ามาตี
อาณาจักรทวาราวดี และมีอำนาจครอบครองตลอดไปทั้งสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา อำนาจของขอมก็สูญส้ิน
ไป แตเ่ ม่อื ส้ินสมัยพระเจ้าอโนธรามังช่อ อำนาจของพม่าในลุ่มน้ำเจา้ พระยา ก็พลอยเส่ือมโทรมดับสูญไปด้วย
เพราะกษัตริย์พม่าสมัยหลังเสื่อมความสามารถ และมักแย่งชิงอำนาจซึ่งกันและกัน เปิดโอกาสให้แว่นแคว้น
ต่าง ๆ ที่เคยเป็นเมืองขึ้น ตั้งตัวเป็นอิสระได้อีก ในระหว่างนี้ พวกไทยจากน่านเจ้า ได้อพยพเข้ามาอยู่ใน
ดนิ แดนสุวรรณภมู ิเป็นจำนวนมากขนึ้ เมือ่ พม่าเส่อื มอำนาจลง คนไทยเหลา่ น้ีกเ็ ร่ิมจดั การปกครองกันเองในลุ่ม
น้ำเจ้าพระยา ฝ่ายขอมนั้นเมื่อเห็นพม่าทอดทิ้งแดนละว้าเสียแล้ว ก็หวลกลับมาจัดการปกครองในลุ่มแม่น้ำ
เจา้ พระยาอีกวาระหน่ึง โดยอา้ งสทิ ธแิ ห่งการเป็นเจ้าของเดิม อย่างไรก็ตามอำนาจของขอมในเวลานั้นก็ซวดเซ
ลงมากแลว้ แตเ่ นือ่ งจากชาวไทยท่ีอพยพเข้ามาอยยู่ ังไม่มีอำนาจเต็มท่ี ขอมจึงบงั คับใหช้ าวไทยส่งส่วยให้ขอม
พวกคนไทยทอ่ี ยใู่ นเขตลุม่ แม่น้ำเจ้าพระยาตอนใต้ ไม่กลา้ ขดั ขืน ยอมสง่ ส่วยใหแ้ ก่ขอมโดยดี จึงทำให้ขอมได้ใจ
และเริ่มขยายอำนาจขึ้นไปทางเหนือ ในการนี้เข้าใจว่าบางครั้งอาจต้องใช้กำลังกองทัพเข้าปราบปราม บรรดา
เมืองท่ขี ัดขืนไม่ยอมส่งสว่ ย ขอมจงึ สามารถแผอ่ ำนาจข้ึนไปจนถงึ แควน้ โยนก

ส่วนแคว้นโยนกนั้น ถือตนว่าไม่เคยเป็นเมืองขึ้นของขอมมาก่อน จึงไม่ยอมส่งส่วยให้ตามที่ขอมบังคับ
ขอมจงึ ใชก้ ำลังเขา้ ปราบปรามนครโยนกได้สำเรจ็ พระเจา้ พังคราชกษตั ริย์แห่งโยนกลำดบั ท่ี 43 ได้ถูกเนรเทศ
ไปอยทู่ เ่ี มอื งเวยี งสที อง

ประวตั ิศาสตร์ไทย/ประวัตศิ าสตร์ไทยก่อนสมยั สโุ ขทัย/แควน้ โยนกเชียงแสน

ดังได้ทราบแล้วว่าโอรสของพระเจ้า พีล่อโก๊ะ องค์หนึ่ง ชื่อพระเจ้าสิงหนวัติ ได้มาสร้างเมืองใหม่ข้ึน
ทางใต้ ช่ือเมอื งโยนกนาคนคร เมืองดังกล่าวน้ีอยูใ่ นเขตละว้า หรอื ในแควน้ โยนก เมอื่ ประมาณปี พ.ศ. 1111
เป็นเมอื งท่สี ง่างามของย่านน้ัน

ในเวลาต่อมาก็ได้รวบรวมเมืองท่ีอ่อนน้อมต้ังขึน้ เป็นแควน้ ช่อื โยนกเชยี งแสน มอี าณาเขตทางทิศเหนือ
ตลอดสบิ สองปนั นา ทางใตจ้ ดแควน้ หริภุญชัย มีกษัตริย์สบื เชื้อสายต่อเนื่องกนั มา จนถงึ สมัยพระเจ้าพังคราช
จงึ ได้เสียทแี กข่ อมดงั กล่าวแล้ว

อย่างไรก็ตาม พระเจ้าพังคราชตกอับอยู่ไม่นานนัก ก็กลับเป็นเอกราชอีกครั้งหนึ่ง ด้วยพระปรีชา
สามารถของพระโอรสองค์น้อย คือ พระเจ้าพรหม ซึ่งมีอุปนิสัยเป็นนักรบ และมีความกล้าหาญ ได้สร้างสม
กำลังผู้คน ฝึกหัดทหารจนชำนิชำนาญ แล้วคิดต่อสู้กับขอม ไม่ยอมส่งส่วยให้ขอม เมื่อขอมยกกองทัพมา
ปราบปราม ก็ตกี องทพั ขอมแตกพ่ายกลับไป และยังไดแ้ ผอ่ าณาเขตเลยเข้ามาในดินแดนขอม ไดถ้ ึงเมอื งเชลียง
และตลอดถึงลานนา ลานช้าง แล้วอัญเชิญพระราชบิดา กลับไปครองโยนกนาคนครเดิม แล้วเปลี่ยนชื่อเมือง
เสียใหมว่ า่ ชยั บรุ ี ส่วนพระองค์เองนัน้ ลงมาสร้างเมอื งใหมท่ างใต้ชอื่ เมืองชยั ปราการ ให้พระเชษฐา คือ เจ้าทุกขิตราช
ดำรงตำแหน่งอปุ ราช นอกจากนั้นก็สร้างเมืองอ่ืน ๆ เช่น เมืองชัยนารายณ์ นครพางคำ ให้เจ้านายองค์อื่น ๆ
ปกครอง



เมื่อสิ้นรัชสมัยพระเจ้าพังคราช พระเจ้าทุกขิตราช ก็ได้ขึ้นครองเมืองชัยบุรี ส่วนพระเจ้าพรหม และ
โอรสของพระองค์ก็ได้ครองเมืองชัยปราการต่อมา ในสมัยนั้นขอมกำลังเสื่อมอำนาจจึงมิได้ยกกำลังมา
ปราบปราม ฝ่ายไทยนั้น แม้กำลังเปน็ ฝ่ายไดเ้ ปรียบ แต่ก็คงยังไม่มกี ำลังมากพอที่จะแผ่ขยาย อาณาเขตลงมา
ทางใตอ้ ีกได้ ดังนัน้ อาณาเขตของไทยและขอมจงึ ประชิดกนั เฉยอยู่

เมอ่ื สนิ้ รชั สมัยพระเจา้ พรหม กษัตรยิ อ์ งคต์ ่อ ๆ มาอ่อนแอและหย่อนความสามารถ ซงึ่ มิใช่แตท่ ี่นครชัย
ปราการเท่านั้น ความเสื่อมได้เป็นไปอย่างทั่วถึงกันยังนครอื่น ๆ เช่น ชัยบุรี ชัยนารายณ์ และนครพางคำ
ดังนั้นในปี พ.ศ. 1731 เม่ือมอญกรฑี าทัพใหญ่มารกุ รานอาณาจักรขอมไดช้ ยั ชนะแลว้ กล็ ว่ งเลยเขา้ มารุกราน
อาณาจักรไทยเชียงแสน ขณะนั้นโอรสของพระเจ้าพรหม คือ พระเจ้าชัยศิริ ปกครองเมืองชัยปราการ ไม่
สามารถต้านทานศึกมอญได้ จึงจำเปน็ ต้องเผาเมือง เพื่อมิใหพ้ วกข้าศึกเขา้ อาศัย แล้วพากันอพยพลงมาทางใต้
ของดินแดนสวุ รรณภูมิ จนกระทั่งมาถึงเมืองรา้ งแห่งหน่งึ ในแขวงเมืองกำแพงเพชร ช่ือเมืองแปป ได้อาศัยอยู่ท่ี
เมืองแปปอยู่ห้วงระยะเวลาหนึ่ง เห็นว่าชัยภูมิไม่สู้เหมาะ เพราะอยู่ใกล้ขอม จึงได้อพยพลงมาทางใต้จนถึง
เมืองนครปฐมจงึ ได้พักอาศัยอยู่ ณ ท่นี ั้น สว่ นกองทัพมอญ หลังจากรุกรานเมืองชัยปราการแล้ว กไ็ ด้ยกล่วงเลย
ตลอดไปถงึ เมืองอ่นื ๆ

ในแคว้นโยนกเชียงแสน จึงทำให้พระญาติของพระเจ้าชัยศิริ ซึ่งครองเมืองชัยบุรี ต้องอพยพหลบหนี
ขา้ ศกึ เชน่ กนั ปรากฎว่าเมืองชัยบุรีนั้นเกิดน้ำทว่ ม บรรดาเมอื งในแคว้นโยนกต่างก็ถูกทำลายลงหมดแล้ว พวก
มอญเห็นว่าหากเข้าไปตั้งอยู่ก็อาจเสียแรง เสียเวลา และทรัพย์สินเงินทองเพื่อที่จะสถาปนาขึ้นมาใหม่ ดังนั้น
พวกมอญจงึ ยกกองทัพกลับ เป็นเหตใุ หแ้ ว่นแคว้นน้วี ่างเปล่า ขาดผปู้ กครองอยหู่ ้วงระยะเวลาหน่งึ ในระหว่างที่
ฝ่ายไทย กำลังระส่ำระสายอยู่นี้ เป็นโอกาสให้ขอมซึ่งมีราชธานีอุปราชอยู่ที่เมืองละโว้ ถือสิทธิ์เข้าครองแคว้น
โยนก แล้วบังคับให้คนไทยทตี่ กคา้ งอยู่นั้นให้สง่ สว่ ยให้แก่ขอม ความพนิ าศของแคว้นโยนกคร้ังน้ี ทำให้ชาวไทย
ตอ้ งอพยพแยกยา้ ยกันลงมาเปน็ สองสายคือ สายของพระเจ้าชยั ศิริ อพยพลงมาทางใต้ และได้อาศัยอย่ชู ั่วคราว
ท่เี มืองแปปดังกลา่ วแลว้ ส่วนสายพวกชยั บรุ ีไดแ้ ยกออกไปทางตะวนั ออกของสโุ ขทยั จนมาถึงเมอื งนครไทย

จึงได้เข้าไปตั้งอยู่ ณ เมืองนั้นด้วยเห็นว่าเป็นเมืองทีม่ ีชัยภูมเิ หมาะสม เพราะเป็นเมืองใหญ่ และตั้งอยู่
สุดเขตของขอมทางเหนือ ผู้คนในเมืองนั้นส่วนใหญ่ก็เป็นชาวไทย อย่างไรก็ตามในชั้นแรกที่เข้ามาตั้งอยู่นั้น
กค็ งต้องยอมข้ึนอยกู่ บั ขอม ซ่งึ ขณะนั้นยังมีอำนาจอยู่

ในเวลาต่อมา เมื่อคนไทยอพยพลงมาจากน่านเจ้าเป็นจำนวนมาก ทำให้นครไทยมีกำลังผู้คนมากขึ้น
ข้างฝา่ ยอาณาจกั รลานนาหรอื โยนกน้ัน เมื่อพระเจ้าชัยศิริทงิ้ เมอื งลงมาทางใต้ แลว้ กเ็ ป็นเหตุให้ดินแดนแถบน้ัน
ว่างผู้ปกครองอยู่ระยะหนึ่งแต่ในระยะต่อมาชาวไทยที่ค้างการอพยพ อยู่ในเขตนั้นก็ได้รวมตัวกัน ตั้งเป็น
บ้านเมืองขึ้นหลายแห่งตั้งเป็นอิสระแก่กัน บรรดาหัวเมืองต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในครั้งนั้นที่นับว่าสำคัญ มีอยู่สาม
เมืองด้วยกัน คือ นครเงินยาง อยู่ทางเหนือ นครพะเยา อยู่ตอนกลาง และเมืองหริภุญไชย อยู่ลงมาทาง
ใต้ ส่วนเมืองนครไทยนั้นด้วยเหตุทีว่ ่ามีท่ตี ้ังอยปู่ ลายทางการอพยพ และอาศัยท่มี ีราชวงศ์เช้ือสายโยนกอพยพ
มาอยทู่ ี่เมอื งนี้ จงึ เปน็ ท่ีนิยมของชาวไทยมากกว่าพวกอน่ื จงึ ไดร้ บั ยกย่องขน้ึ เป็นพอ่ เมืองที่ตง้ั ของเมืองนครไทย
นั้นสันนิษฐานว่าน่าจะเป็นเมืองเดียวกันกบั เมอื งบางยาง ซึ่งเป็นเมืองใหญ่ มีเมืองขึ้นและเจ้าเมืองมีฐานะเปน็
พอ่ ขนุ

เมื่อบรรดาชาวไทย เกิดความคิดที่จะสลัดแอก ของขอมครั้งนี้ บุคคลสำคัญในการนี้ก็คือ พ่อขุนบาง
กลางท่าว ซึ่งเป็นเจ้าเมืองบางยาง และพ่อขุนผาเมือง เจ้าเมืองราดได้ร่วมกำลังกันยกขึ้นไปโจมตีขอม จนได้
เมอื งสโุ ขทยั อนั เป็นเมอื งหนา้ ดา่ นของขอมไว้ได้ เม่ือปี พ.ศ. 1800 การมชี ยั ชนะของฝ่ายไทยในครัง้ นนั้ นบั ว่า
เปน็ นิมิตหมายเบือ้ งต้น แห่งความเจริญรุ่งเรืองของชนชาติไทย และเป็นลางร้ายแห่งความเส่ือมโทรมของขอม

๑๐

เพราะนบั แต่วาระนน้ั เปน็ ต้นมา ขอมกเ็ สื่อมอำนาจลงทกุ ที จนในท่ีสดุ กส็ ้ินอำนาจไปจากดนิ แดนละว้า แต่ยังคง
มีอำนาจปกครองเหนือลมุ่ นำ้ เจ้าพระยาตอนใต้อยู่

ประวตั ศิ าสตรไ์ ทย/ประวัติศาสตร์ไทยสมัยสโุ ขทยั

หลังจากมีการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้นเป็นราชธานี และมีพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ เป็นปฐมกษัตริย์
แล้ว พระองค์ทรงดูแลพระราชอาณาจักรและบำรุงราษฏรเป็นอย่างดี พระมหากษัตริย์พระองค์ที่สาม
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช ทรงพระปรีชาสามารถทั้งในด้านนิรุกติศาสตร์ การปกครอง กฎหมาย วิศวกรรม
ศาสนา ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เป็นต้น ผลงานของพระองคท์ ี่ปรากฏให้เห็น อาทิ ศิลาจารึกทีค่ ้นพบใน
สมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่อธิบายถึงความเป็นมา ลีลาชีวิตของชาวสุโขทัยโบราณ
น้ำพระทัยของพระมหากษัตริย์ การพิพากษาอรรถคดี ฯลฯ นอกจากนี้ยังมีผลงานทางวิศวกรรมชลประทาน
คอื เขือ่ นสรดี ภงคท์ ่เี ปน็ การกกั เก็บนำ้ ไวใ้ ช้ในยามแล้ง มกี ารทำทอ่ สง่ นำ้ จากตวั เข่ือนมาใช้ในเมือง

พระมหากษัตริย์ที่ทรงทำนุบำรุงศาสนามากทีส่ ุดคอื พระเจ้าลิไท ในรัชสมัยของพระองค์มีการสร้างวัด
มากที่สุด กษัตริย์พระองค์สุดท้ายในฐานะรัฐอิสระ คือ พระมหาธรรมราชาที่ 4 (บรมปาล) ต่อจากน้ัน
อาณาจักรไดถ้ ูกแบ่งส่วนออกเป็นของอาณาจักรอยุธยา และอาณาจักรล้านนา จนในท่สี ุด อาณาจักรทัง้ หมด
ก็ถกู รวมศนู ย์ เขา้ เป็นดินแดนสวนหนง่ึ ของอาณาจกั รอยุธยา

ความเจริญรุง่ เรือง

ดา้ นเศรษฐกจิ

สภาพเศรษฐกิจสมยั สุโขทัยเป็นระบบเศรษฐกจิ แบบเสรีนิยม ดังข้อความปรากฏในหลักศลิ าจารึก

หลักที่ 1 "…ใครจักใคร่ค้าช้างค้า ใครจักใคร่ค้าม้าค้า ใครจักใคร่ค้าเงินค้าทองค้า…" และ "...เมืองสุโขทัยนี้ดี
ในนำ้ มปี ลาในนามขี ้าว..." ประชาชนประกอบอาชพี เกษตรกรรมดว้ ยระบบการเกษตรแบบพ่งึ พาธรรมชาติ เช่น
สังคมไทยส่วนใหญใ่ นชนบทปจั จบุ ัน

ด้านสงั คม ความเชื่อ และศาสนา

การใช้ชีวิตของผู้คนในสมัยสุโขทัยมีความอิสระเสรี มีเสรีภาพอย่างมากเนื่องจากผู้ปกครองรัฐให้อิสระ
แกไ่ พร่ฟา้ และปกครองผู้ใตป้ กครองแบบพอ่ กบั ลกู ดังปรากฏหลักฐานในศลิ าจารึกวา่ "…ดว้ ยเสยี งพาทย์
เสยี งพณิ เสยี งเล่ือน เสยี งขับ ใครจักมกั เลน่ เล่น ใครจักมักหวั หัว ใครจกั มักเลอื่ น เลอ่ื น…"

ด้านความเชื่อและศาสนา

สังคมยุคสุโขทัยประชาชนมีความเชื่อทั้งเรื่องวิญญาณนิยม (Animism) ไสยศาสตร์ ศาสนาพราหมณ์
ฮินดู และพุทธศาสนา ดังปรากฏหลักฐานในศิลาจารึกหลักที่ 1 ด้านที่ 3 ว่า "…เบื้องหัวนอนเมืองสุโขทัยนี้มี
กุฎวิ ิหารปคู่ รอู ยู่ มสี รีดพงส์ มปี ่าพรา้ ว ป่าลาง ป่าม่วง ปา่ ขาม มีนำ้ โคก มพี ระขระพุงผี เทพยาดาในเขาอันน้ัน
เป็นใหญ่กว่าทุกผีในเมืองนี้ ขุนผู้ใดถือเมืองสุโขทัยนีแ้ ล้ว ไหว้ดีพลีถูก เมืองนี้เที่ยว เมืองนี้ดี ผิไหว้บ่ดี พลีบ่ถกู
ผีในเขาอันนน้ั บค่ มุ้ บเ่ กรง เมอื งน้หี าย…"

ส่วนด้านศาสนา ได้รับอิทธิพลจากพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์จากนครศรีธรรมราช ในวัน
พระ จะมีภิกษุเทศนาสั่งสอน ณ ลานธรรมในสวนตาล โดยใช้ พระแท่นมนังคศิลาอาสน์ เป็นอาสนะสงฆ์
ในการบรรยายธรรมให้ประชาชนฟัง ยังผลให้ประชาชนในยุคนี้นิยมปฏิบัติตนอยู่ในศีลธรรม มีการถือศีล
โอนทานกนั เปน็ ปกตวิ สิ ัย ทำให้สงั คมโดยรวมมีความสงบสุขรม่ เยน็

๑๑

ดา้ นการปกครอง

ด้านการปกครองสามารถแยกกลา่ วเป็น 2 แนว ดังน้ี

ในแนวราบ

จัดการปกครองแบบพ่อปกครองลูก กล่าวคือผู้ปกครองจะมีความใกล้ชิดกับประชาชน ให้ความเป็น
กนั เองและความยตุ ิธรรมกับประชาชนเป็นอยา่ งมาก เมอ่ื ประชาชนเกิดความเดือดร้อนไม่ได้รับความเป็นธรรม
สามารถร้องเรียนกับพ่อขุนโดยตรงได้ โดยไปสั่นกระดิ่งที่แขวนไว้ที่หน้าประตูที่ประทับ ดังข้อความในศิลา
จารึกปรากฏว่า "…ในปากประตูมกี ระดิง่ อนั หน่ึงไว้หัน้ ไพรฟ่ ้าหนา้ ใส…" นั่นคอื เปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนสามารถ
มาสัน่ กระดง่ิ เพอื่ แจ้งขอ้ รอ้ งเรยี นได้

ในแนวดิ่ง

ได้มกี ารจัดระบบการปกครองขน้ึ เปน็ 4 ชนชน้ั คอื

พ่อขุน เป็นชนชั้นผู้ปกครอง อาจเรียกชื่ออย่างอื่น เช่น เจ้าเมือง พระมหาธรรมราชา หากมีโอรสก็จะ
เรยี ก "ลกู เจา้ "

ลุกขุน เป็นข้าราชบริพาร ข้าราชการที่มีตำแหนง่ หน้าที่ช่วงปกครองเมืองหลวง หัวเมืองใหญ่น้อย และ
ภายในราชสำนัก เป็นกลุ่มคนที่ใกล้ชิดและได้รับการไว้วางใจจากเจ้าเมืองให้ปฏิบัติหน้าที่บำบัดทุกข์บำรุงสุข
แก่ไพรฟ่ ้า

ไพรห่ รือสามัญชน ได้แก่ราษฎรทวั่ ไปที่อยู่ในราชอาณาจกั ร (ไพรฟ่ า้ )

ทาส ได้แก่ชนชั้นทไ่ี ม่มีอสิ ระในการดำรงชวี ติ อย่างสามญั ชนหรอื ไพร่ (อยา่ งไรกต็ ามประเด็นทาสน้ียังคง
ถกเถียงกนั อยวู่ า่ มีหรือไม่)

ความสัมพนั ธก์ ับตา่ งชาติ

จกั รวรรดมิ องโกล

กองทัพจักรวรรดิมองโกลแผ่แสนยานุภาพโดดเด่นที่สุดเป็นช่วงเดียวกับการตั้งกรุงสุโขทัย ในปี ค.ศ.
1257 ซึ่งเป็นอาณาจกั รของตนอย่างแทจ้ รงิ เป็นครงั้ แรก

หลักฐานสำคัญในพงศาวดารหงวนฉบับเก่า เล่มที่ 2 แปลเรื่องราวการติดต่อระหว่างอาณาจักรสุโขทยั
กับราชวงศ์มองโกล ได้สรุปไว้ว่ากุบไลข่านทรงปรึกษาขุนนางข้าราชการระดับสูงเกี่ยวกับการเตรียมทัพไป
ปราบปรามแคว้นต่างๆ ทางใต้ มีสุโขทัย ละโว้ สุมาตรา และอื่นๆ เป็นเมืองขึ้น ปรากฏว่าขุนนางชื่อ เจี่ย หลู่
น่าต๋าไม่เห็นด้วยและได้กราบบังคมทูลเสนอแนะให้ทรงชักชวนให้ผู้นำดินแดนต่างๆ อ่อนน้อมยอมสนับสนุน
ก่อน หากไม่ยอมจึงยกกองทัพไปโจมตี นี่คือเหตุผลประการหนึ่งที่กุบไลข่านทรงส่งคณะทูตไปเจริญ
สัมพันธไมตรี และขอให้ส่งเครื่องราชบรรณาการไปยังราชสำนักมองโกล เพื่อแสดงความจงรักภักดีต่อ
อาณาจกั รมองโกล ปราฏว่ามีอาณาจักรในดินแดนต่างๆ กว่า 20 อาณาจักรยอมรบั ข้อเสนอ รวมทั้งอาณาจักร
สโุ ขทัยดว้ ย (ช่วงระหวา่ งประมาณ ค.ศ. 1282

พงศาวดารหงวนฉบับเก่า เล่มที่ 12 เป็นหลักฐานสำคัญที่กล่าวถึงคณะทูตชุดแรกจากอาณาจักรมอง
โกลในสมัยกบุ ไลข่าน เดินทางมายังอาณาจักรสโุ ขทัยในเดือนพฤศจิกายนปี ค.ศ. 1282 ทตู คณะนี้นำโดยเหอ
จี จ่ี นายทหารระดับสูงเปน็ หวั หนา้ คณะ แตข่ ณะน่ังเรอื แล่นผ่านฝ่ังทะเลอาณาจักรจามปา ได้ถูกจับกุมและถูก
ประหารชวี ิต ผลจากคณะทตู น้ถี ูกประหารชีวติ ก่อนจะเดนิ ทางไปยังอาณาจกั รสโุ ขทยั ทำให้อาณาจักรสุโขทัยไม่
ทราบว่ามองโกลพยายามสง่ ทูตมาตดิ ตอ่

๑๒

พงศาวดารหงวนฉบับเก่า เล่มที่ 17 กล่าวถึงคณะทูตมองโกลชุดที่สองเดินทางมายังอาณาจักรสุโขทัย
ในปี ค.ศ. 1292 ภายหลงั จากข้าหลวงใหญฝ่ ่ายรักษาความสงบเรียบร้อยของมณฑลกวางตุ้ง ได้ส่งคนอัญเชิญ
พระราชสาส์นอักษรทองคำของกษัตริย์แห่งอาณาจักรสุโขทัยไปยังนครหลวงข่านมาลิก (ต้าตู หรือปักก่ิง
ปัจจุบัน) คณะทูตมองโกลชุดที่สองได้อัญเชิญพระบรมราชโองการของกุบไลข่านให้พ่อขุนรามคำแหงเสร็จไป
เฝา้ พระบรมราชโองการนี้แสดงให้เห็นนโยบายของอาณาจักรมองโกลเรียกร้องใหผ้ ู้นำของอาณาจักรตา่ งๆ ไป
เฝ้ากุบไลขา่ น แต่มไิ ดบ้ งั คับใหเ้ ป็นไปตามนี้ ซึ่งจะเหน็ ได้วา่ พอ่ ขนุ รามคำแหงก็มไิ ดป้ ฏิบัติตามแต่ประการใด

พงศาวดารหงวนฉบับเก่า เล่มที่ 18 กุบไลข่านได้ส่งคณะทูตชุดที่สามมาสุโขทัย โดยได้อัญเชิญ
พระบรมราชโองการให้พ่อขุนรามคำแหงเสด็จไปเฝ้า หากมีเหตุขัดข้องให้ส่งโอรสหรือพระอนุชาและอำมาตย์
ผใู้ หญ่เปน็ ตวั ประกัน ซึง่ ปรากฏวา่ พ่อขุนรามคำแหงก็มิได้ปฏิบัตติ าม แต่สง่ คณะทูตนำเคร่ืองราชบรรณาการ
ไปแทน

ประวตั ิศาสตรไ์ ทย/ประวตั ิศาสตรไ์ ทยสมัยอยธุ ยา

อาณาจกั รอยุธยา เป็นอาณาจกั รของชนชาติไทยในอดีตตั้งแต่ พ.ศ. 1893-2310 มีเมืองหลวงที่ กรุง
ศรีอยุธยาเป็นอาณาจักรซึ่งมีความเจริญรุ่งเรืองจนอาจถือได้ว่าเป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมั่งคั่งที่สุดในภูมิภาค
สุวรรณภูมิ อีกทั้งยังเป็นอาณาจักรที่มีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการคา้
ในระดับนานาชาติ เชน่ จนี เวียดนาม อนิ เดีย ญี่ปนุ่ เปอรเ์ ซยี รวมทง้ั ชาตติ ะวันตก เชน่ โปรตุเกส สเปน ดัตช์
และฝรั่งเศส เคยมีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาล โดยมีประเทศราชแผ่ขยายไปจนถึงรัฐฉานของพม่า อาณาจักร
ลา้ นนา มณฑลยูนนานและมณฑลชานสี อาณาจักรล้านช้าง อาณาจกั รขอม และคาบสมทุ รมลายูในปัจจบุ ัน

กรุงศรอี ยุธยา

กรุงศรีอยุธยาตงั้ อยู่บนบริเวณซึ่งมแี ม่น้ำล้อมรอบถึง 3 สาย อันได้แก่ แม่น้ำป่าสกั ทางทิศเหนือ, แม่น้ำ
เจ้าพระยาทางทิศตะวันตกและทิศใต้ และแม่น้ำลพบุรีทางทิศตะวันออก เดิมทีบริเวณนีไ้ ม่ได้มสี ภาพเป็นเกาะ
แต่พระเจ้าอู่ทองทรงดำริให้ขุดคูเช่ือมแม่น้ำทั้ง 3 สาย เพื่อให้เป็นปราการธรรมชาติป้องกันข้าศกึ ที่ตั้งกรุงศรี
อยุธยายังอยู่ห่างจากอ่าวไทยไม่มากนัก ทำให้กรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางการค้ากับชาวต่างประเทศด้วย
ปัจจบุ นั บริเวณนเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของอำเภอพระนครศรอี ยธุ ยา ในจงั หวดั พระนครศรีอยุธยา

ประวตั ิ

จุดเริม่ ตน้
ชาวไทยเริ่มตั้งถิ่นฐานบริเวณตอนกลาง และตอนล่างของลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยามาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่

18 แล้ว ทั้งยังเคยเป็นที่ตั้งของเมืองสังขบุรี อโยธยา เสนาราชนคร และกัมโพชนคร ต่อมา ราวปลายพุทธ
ศตวรรษที่ 19 อาณาจักรขอมและสุโขทัยเร่ิมเสื่อมอำนาจลง พระเจ้าอู่ทองทรงดำริจะย้ายเมืองและพิจารณา
ชัยภูมิเพือ่ ต้ังอาณาจักรใหม่ และตดั สินพระทยั สรา้ งราชธานีแห่งใหมบ่ รเิ วณตำบลหนองโสน (บงึ พระราม) และ
สถาปนากรุงศรีอยุธยาขึ้นเป็นราชธานี เมื่อวันศุกร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 5 ปีขาล จุลศักราช 712 ตรงกับวันศุกร์
ท่ี 4 มีนาคม พ.ศ. 1893 (พ.ศ.น้เี ทียบจาก จ.ศ. แตจ่ ะตรงกบั ค.ศ. 1351) ช่อื วา่ กรงุ เทพมหานคร บวรทวา
ราวดี ศรีอยุธยา มหาดิลก ภพนพรัตน์ราชธานี บุรีรมย์อุดมมหาสถาน ประวัติศาสตร์บางแห่งระบุว่าเกิดโรค
ระบาดขนึ้ พระเจ้าอ่ทู องจึงทรงย้ายเมอื งหลวงมายังกรุงศรีอยุธยา

๑๓

การขยายดินแดน

กรุงศรีอยุธยาดำเนินนโยบายขยายอาณาจักรด้วย 2 วิธีคือ ใช้กำลังปราบปราม ซึ่งเห็นได้จากชัยชนะ
ในการยึดครองเมืองนครธม (พระนคร) ได้อย่างเด็ดขาดในสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 และอีกวิธีหนึ่ง
คือ การสร้างความสัมพนั ธแ์ บบเครือญาติ อันเห็นได้จากการผนวกกรงุ สุโขทยั เขา้ เป็นสว่ นหนึ่งของอาณาจกั ร

การล่มสลายของอาณาจักร

ช่วงสมัยรัชกาลของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เกิดการแย่งชิงราชสมบัติระหว่างพระเจ้าเอกทัศกับ
พระเจ้าอุทุมพร เนื่องจากพระองค์ทรงเลือกพระอนุชาขึ้นเป็นกษัตริย์ไม่เป็นไปตามราชประเพณี แต่พระเจ้า
เอกทัศกท็ วงบัลลังก์ ได้ขนึ้ เปน็ กษตั รยิ อ์ งค์สุดทา้ ยแหง่ กรงุ ศรีอยุธยา ครนั้ ในปี พ.ศ. 2303 พระเจ้าอลองพญา
ทรงนำทัพมารุกรานอาณาจักรอยุธยา พระเจา้ อุทุมพรทรงถูกเรียกตวั มาบัญชาการต้ังรับพระนคร แต่ภายหลัง
จากท่กี องทพั พม่ายกกลบั นั้น พระองค์กไ็ ดล้ าผนวชดังเดมิ ในปี พ.ศ. 2308 พระเจา้ มงั ระ บุตรของพระเจ้าอล
องพญา ก็ได้รุกรานอาณาจักรอยุธยาอีกครั้งหนึ่ง โดยแบ่งกองกำลังออกเป็น 2 ส่วน คือ ฝ่ายเหนือภายใต้การ
บังคับของเนเมียวสีหบดี และฝ่ายใต้ภายใตก้ ารนำของมังมหานรธา และมุ่งเข้าตีอาณาจักรอยุธยาพร้อมกันทงั้
สองด้าน ฝ่ายอยุธยาทำการตั้งรับอย่างเข้มแขง็ และสามารถต้านทานการปิดลอ้ มของกองทัพพม่าไว้ได้นานถงึ
14 เดือน แต่ก็ไม่อาจหยุดยั้งการล่มสลายได้ กองทพั พมา่ สามารถเข้าเมืองไดใ้ นวนั ที่ 7 เมษายน พ.ศ. 2310

รายพระนามพระมหากษตั ริย์

ลำดบั พระนาม พระ เรม่ิ สน้ิ สวรรคต รวมปี

ราช ครองราชย์ รัชกาล ครองราชย์

สมภพ

ราชวงศ์อู่ทอง (คร้งั ที่ 1)

1 สมเด็จพระรามาธบิ ดีที่ 1 พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 1912 20 ปี

(พระเจา้ อู่ทอง) 1855 1893

2 สมเดจ็ พระราเมศวร พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. ไม่ถงึ 1 ปี

(1) 1885 1912 1913 1938

ราชวงศ์สุพรรณภมู ิ (คร้ังที่ 1)

3 สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ 1 พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 1931 18 ปี

(ขุนหลวงพะงั่ว) 1853 1913

4 สมเดจ็ พระเจ้าทองลัน พ.ศ. พ.ศ. 1931 7 วนั

(เจ้าทองจันทร์) 1917

๑๔

ราชวงศ์อู่ทอง (คร้ังที่ 2)

2 สมเดจ็ พระราเมศวร พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 1938 7 ปี
15 ปี
(2) 1885 1931
15 ปี
5 สมเด็จพระรามราชาธิราช พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. ? 24 ปี
1899 1938 1952 40 ปี
3 ปี
ราชวงศส์ พุ รรณภูมิ (ครัง้ ที่ 2) 38 ปี
4 ปี
6 สมเด็จพระอินทราชา พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 1967 5 เดือน
12 ปี
(เจา้ นครอนิ ทร์) 1902 1952

7 สมเดจ็ พระบรมราชาธริ าชที่ 2 พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 1991

(เจา้ สามพระยา) 1929 1967

8 สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2031
1974 1991

9 สมเดจ็ พระบรมราชาธิราชที่ 3 พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2034
2005 2031

10 สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ 2 พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2072
2015 2034

11 สมเด็จพระบรมราชาธิราชท่ี 4 พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2076

(หนอ่ พุทธางกูร) 2040 2072

12 พระรัษฎาธริ าช พ.ศ. พ.ศ. 2077
2072

13 สมเด็จพระไชยราชาธิราช พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2089
2045 2077

๑๕

14 พระยอดฟ้า พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2091 2 ปี

(พระแกว้ ฟ้า) 2078 2089

- ขนุ วรวงศาธริ าช พ.ศ. พ.ศ. 2091 42 วัน

2049 (ไม่ได้รบั

การยกย่อง

แตผ่ ่านพระ

ราชพธิ บี รม

ราชาภิเษก)

15 สมเดจ็ พระมหาจักรพรรดิ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2111 20 ปี

(พระเจา้ ช้างเผือก) 2048 2091

16 สมเดจ็ พระมหนิ ทราธิราช พ.ศ. พ.ศ. 7 สงิ หาคม พ.ศ. 1 ปี

2082 2111 2112

เสยี กรุงครั้งที่ 1
ราชวงศส์ โุ ขทยั

17 สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2133 21 ปี
(สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี 1) 2059 2112

18 สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช พ.ศ. 29 25 เมษายน พ.ศ.
(สมเดจ็ พระสรรเพชญ์ท่ี 2) 2098 กรกฎาคม 2148 15 ปี
พ.ศ.
2133

19 สมเดจ็ พระเอกาทศรถ พ.ศ. 25 พ.ศ. 2153
5 ปี
(สมเด็จพระสรรเพชญท์ ี่ 3) 2104 เมษายน

พ.ศ.

2148

20 พระศรเี สาวภาคย์ ? พ.ศ. 2153 2 เดอื น
(สมเด็จพระสรรเพชญ์ท่ี 4)

๑๖

21 สมเดจ็ พระเจ้าทรงธรรม พ.ศ. พ.ศ. 12 ธนั วาคม พ.ศ. 17 ปี
(สมเดจ็ พระบรมราชาที่ 1) 2125 2154 2171

22 สมเด็จพระเชษฐาธริ าช พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2173 1 ปี 8

2156 2171 เดือน

23 พระอาทติ ยวงศ์ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 36 วนั
2161 2173 2173 2178

ราชวงศป์ ราสาททอง

24 สมเดจ็ พระเจ้าปราสาททอง พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2199 25 ปี
(สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 5) 2143 2173

25 สมเดจ็ เจา้ ฟา้ ไชย ? พ.ศ. 2199 9 เดอื น
(สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 6) ? พ.ศ. 2199
2 เดอื น
26 สมเด็จพระศรสี ธุ รรมราชา 17 วนั
(พระสรรเพชญท์ ี่ 7)

27 สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 11
(สมเดจ็ พระรามาธิบดีที่ 3) 2175 2199 2231 กรกฎาคม 32 ปี
พ.ศ.
2231

ราชวงศบ์ ้านพลหู ลวง

28 สมเด็จพระเพทราชา พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2246 15 ปี
2175 2231

29 สมเด็จพระสรรเพชญท์ ี่ 8 พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2251 5 ปี
(สมเดจ็ พระสุรเิ ยนทราธิบดี) 2204 2246
(พระเจา้ เสือ)

๑๗

30 สมเด็จพระสรรเพชญท์ ี่ 9 พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2275 24 ปี
(สมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั ท้ายสระ) 2221 2251

31 สมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวบรมโกศ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. 2301 26 ปี
2223 2275

32 สมเด็จพระเจ้าอทุ ุมพร พ.ศ. พ.ศ. 2301 พ.ศ. 2 เดอื น

(ขนุ หลวงหาวดั ) 2265 2339

33 สมเด็จพระท่ีนง่ั สุรยิ าศน์อมั รินทร์ พ.ศ. พ.ศ. 7 26

(พระเจา้ เอกทัศ) 2252 2301 เมษายน เมษายน 9 ปี

พ.ศ. พ.ศ.

2310 2311

เสียกรุงครั้งที่ 2

การกอบกู้เอกราชครงั้ ที่ 1

คราวเสยี กรุงครง้ั ท่ี 1 พมา่ ได้ราชาภิเษก พระมหาธรรมราชาธิราช(ขุนพิเรนทรเทพ) เป็นพระเจ้าแผ่นดนิ
อยุธยา ขา้ ขอบขัณฑสมี าของกรุงหงสาวดี

ตอ่ มาพระนเรศ พระราชโอรสในสมเดจ็ พระศรสี รรเพชญ์ (พระมหาธรรมราชาธริ าช-ขุนพิเรนทรเทพ) ทรง
เสดจ็ หนอี อกจากพมา่ ได้และประกาศเอกราช ครัง้ นนั้ พระบรมชนกนาถยังคงมีพระชนมชีพอยู่ การกอบกู้
เอกราชน้นั มากระทำในสมัยพระนเรศ ไดร้ บั พระราชบัณฑรู เปน็ สมเดจ็ พระมหาอุปราช ประทบั ณ
พระราชวงั จันทรฯ(วังหน้า)

ฉะนัน้ พระวีรกรรมในคราวกอบกู้เอกราชจรงิ ๆนน้ั สมเดจ็ พระนเรศวรราชาธริ าช จงึ ยังอยู่ในพระฐานะรชั
ทายาททั้งสิ้น

และถือได้ว่าพระองคค์ ือพระมหากษัตริย์ไทยที่ยิง่ ใหญ่ทสี่ ุดในหน้าประวตั ศิ าสตรช์ าตไิ ทย

การกอบกู้เอกราชคร้งั ท่ี 2

ครั้นต่อมา พระยาวชิรปราการได้รวบรวมชุมนุมทั้งหมดที่เมืองจันทร์ แล้วได้ขับไล่พม่า และสามารถ
กอบกู้เอกราชครั้งที่ 2 ได้สำเร็จในวันที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2310 จากนั้นในวันที่ 28 ธันวาคม พ.ศ.
2310 พระยาวชิรปราการได้ทำพิธีปราบดาภิเษกทำนองเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา (แต่นัก
ประวัติศาสตร์นับเป็นสมัยธนบุรี) เฉลิมพระนามว่า "สมเด็จพระบรมราชาที่ 4" แต่ส่วนมากคนมักเรียกท่าน
ว่า สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ขณะมีพระชนมายุได้ 33 พรรษา ก่อนจะย้ายราชธานีไปยังกรุงธนบุรีเป็น
การชัว่ คราว

๑๘

พระราชวงศ์

ราชวงศก์ ษตั ริย์ของกรุงศรอี ยุธยา ประกอบด้วย 5 ราชวงศ์ คือ

1. ราชวงศ์อู่ทอง มีกษตั รยิ ์ 3 พระองค์
2. ราชวงศ์สพุ รรณภูมิ มีกษตั ริย์ 13 พระองค์
3. ราชวงศ์สโุ ขทยั มีกษตั รยิ ์ 7 พระองค์
4. ราชวงศ์ปราสาททอง มีกษตั ริย์ 4 พระองค์
5. ราชวงศบ์ ้านพลูหลวง มีกษัตรยิ ์ 6 องค์

ซึ่งรวมเป็นกษัตริย์รวม 34 (นับรวมขุนวรวงศาธิราช ) พระองค์ ซึ่งถือว่ามีมาก ซึ่ง อาณาจักรกรุงศรี
อยุธยา เป็นราชธานีมาตั้งแต่วันที่ 3 เมษายน 1893 จนถึงวันที่ 7 เมษายน 2310 เป็นเวลายาวนานถึง
417 ปเี ลยทเี ดยี ว

การปกครอง

การจัดการปกครองในสมยั อยธุ ยาสามารถแบ่งออกได้เปน็ สามชว่ ง คือ ช่วงก่อนการปฏิรปู การปกครอง
ของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (1-1991) ช่วงสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถจนถึงสมัยสมเด็จพระเพทราชา
(1991-2231) และการปฏิรปู การปกครองของสมเดจ็ พระเพทราชาเป็นต้นไป (2231-2310)

อยธุ ยาตอนต้น (1893-1991)
มกี ารปกครองคลา้ ยคลงึ กบั ในช่วงสโุ ขทัย ในราชธานี พระมหากษัตริย์มสี ทิ ธป์ิ กครองโดยตรง

หากกท็ รงใชอ้ ำนาจผา่ นขา้ ราชการและขนุ นางเช่นกนั นอกจากน้ียังมีระบบการปกครองภายในราชธานีที่
เรียกว่า จตุสดมภ์ ตามการเรียกของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศเ์ ธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพอันได้แก่ กรมเวียง
กรมวงั กรมคลงั และกรมนา

การปกครองนอกราชธานี ประกอบดว้ ย เมืองหน้าด่าน เมอื งชั้นใน เมืองพระยามหานคร และเมือง
ประเทศราช โดยมรี ปู แบบกระจายอำนาจออกจากศนู ย์กลางค่อนข้างมากเมืองหน้าด่าน ได้แก่ ลพบุรี
นครนายก พระประแดง และสพุ รรณบรุ ี ตง้ั อยรู่ อบราชธานีท้งั สท่ี ิศ ระยะเดนิ ทางจากราชธานีสองวนั
พระมหากษัตรยิ ์ทรงสง่ เชื้อพระวงศ์ท่ีไว้วางพระทัยไปปกครอง หากก็นำมาซ่ึงปัญหาการแยง่ ชงิ ราชสมบัตอิ ยู่
บอ่ ยครั้ง เมืองช้นั ในทรงปกครองโดยผรู้ ง้ั ถัดออกไปเป็นเมืองพระยามหานครหรอื หวั เมืองชั้นนอก ปกครอง
โดยเจ้าเมืองทส่ี ืบเชื้อสายมาแต่เดมิ มีหน้าที่จ่ายภาษแี ละเกณฑ์ผู้คนในราชการสงคราม และสุดท้ายคือเมือง
ประเทศราช พระมหากษัตริยป์ ล่อยให้ปกครองกันเอง เพียงแตต่ ้องส่งเคร่อื งบรรณาการมาใหร้ าชธานีทกุ ปี

สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถถงึ พระเพทราชา (1991-2231)

สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงยกเลิกระบบเมืองหน้าด่านเพื่อขจัดปัญหาการแย่งชิงราชสมบัติ
และขยายอำนาจของราชธานีโดยการกลืนเมืองรอบข้างเข้าเป็นส่วนหนึ่งของราชธานี สำหรับระบบจตุสดมภ์
ทรงแยกกิจการพลเรือนออกจากกิจการทหารอย่างชัดเจน ให้อยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของสมุหนายกและ
สมหุ กลาโหมตามลำดับ นอกจากนย้ี ังมีการเปล่ียนช่ือกรมและชื่อตำแหน่งเสนาบดี แตย่ งั คงไว้ซึ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบเดิม

ส่วนการปกครองส่วนภูมิภาคมีลักษณะเปลี่ยนไปในทางการรวมอำนาจเข้าสู่ศูนย์กลางให้มากที่สุด โดย
ให้เมืองชั้นนอกเข้ามาอยู่ภายใต้อำนาจของราชธานี มีระบบการปกครองที่ลอกมาจากราชธานี มีการลำดับ
ความสำคัญของหัวเมืองออกเป็นชั้นเอก โท ตรี สำหรับหัวเมืองประเทศราชนั้นส่วนใหญ่ไม่ค่อยมีการ
เปลีย่ นแปลงการปกครองมากนัก หากแตพ่ ระมหากษัตริย์จะมวี ธิ ีการควบคุมความจงรักภักดีต่อราชธานีหลาย
วธิ ี เช่น การเรียกเจา้ เมืองประเทศราชมาปรึกษาราชการ หรอื มาร่วมพระราชพิธีบรมราชาภิเษกหรือถวายพระ

๑๙

เพลิงพระบรมศพในราชธานี การอภิเษกสมรสโดยการให้ส่งราชธิดามาเป็นสนม และการส่งข้าราชการไป
ปกครองเมืองใกล้เคียงกับเมืองประเทศราชเพื่อคอยส่งข่าว ซึ่งเมืองที่มีหน้าที่ดังกล่าว เช่น พิษณุโลกและ
นครศรธี รรมราช

สมยั ตัง้ แต่พระเพทราชา (2231-2310)

ในสมยั พระเพทราชา ทรงกระจายอำนาจทางทหารซ่ึงเดิมขนึ้ อยู่กบั สมหุ กลาโหมแต่ผู้เดียวออกเป็นสาม
ส่วน โดยให้สมุหกลาโหมเปลี่ยนไปควบคุมกิจการทหารในราชธานี กิจการทหารและพลเรือนของหัวเมืองทาง
ใต้ ให้สมุหนายกควบคุมกิจการพลเรือนในราชธานี กิจการทหารและพลเรือนของหัวเมืองทางเหนือ และ
พระโกษาธิบดี ให้ดูแลกิจการทหารและพลเรือนของหัวเมืองตะวันออก ต่อมาสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
(2275-2301) ทรงลดอำนาจของสมุหกลาโหมเหลือเพียงที่ปรึกษาราชการ และให้หัวเมืองทางใต้ไปขึ้นกับพระโกษาธิบดีด้วย

นอกจากนี้ ในสมัยพระมหาธรรมราชา ยังได้จัดกำลังป้องกันราชธานีออกเป็นสามวัง ได้แก่ วังหลวง มี
หน้าที่ป้องกันพระนครทางเหนือ วังหน้า มีหน้าที่ป้องกันพระนครทางตะวันออก และวังหลัง มีหน้าที่ป้องกัน
พระนครทางตะวนั ตก ระบบดงั กลา่ วใช้มาจนถงึ สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ประชากรศาสตร์

ในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 20 อาณาจักรอยุธยามีประชากรประมาณ 1,900,000 คน ซึ่งนับชาย
หญิงและเด็กอย่างครบถ้วน แต่ลาลูแบร์กล่าวว่า ตังเลขดังกล่าวน่าจะไม่ถูกต้องเนื่องจากมีผู้หนีการเสียภาษี
อากรไปอยู่ตามป่าตามดงอีกมาก มีกลุ่มชาติพันธุ์หลักคือไทยสยาม ซึ่งเป็นกลุ่มชาติพันธุ์ในตระกูลภาษาไท-
กะได ซึ่งบรรพบุรุษของไทยสยามปรากฏหลักแหล่งของกลุม่ คนท่ีใช้ภาษาตระกูลไท-กะไดเก่าแกท่ ีส่ ดุ อายกุ ว่า
3,000 ปี ซ่งึ มีหลักแหล่งแถบกวางสี คาบเกยี่ วไปถงึ กวางตุ้งและแถบลุ่มแมน่ ำ้ ดำ-แดงในเวียดนามตอนบน ซ่ึง
กลมุ่ ชนน้มี ีความคล่นื ไหวไปมากับดนิ แดนไทยในปจั จุบนั ทั้งทางบกและทางทะเลและมีการคล่ืนไหวไปมาอย่าง
ไม่ขาดสาย ในยุคอาณาจักรทวารวดีในแถบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาช่วงหลังปี พ.ศ. 1100 ก็มีประชากรตระกูล
ไทย-ลาว เป็นประชากรพื้นฐานรวมอยูด่ ้วย ซึ่งเป็นกลุ่มชนอพยพลงมาจากบริเวณสองฝั่งโขงลงทางลุ่มน้ำนา่ น
แล้วลงสู่ลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาฟากตะวันตกแถบสุพรรณบุรี ราชบุรี ถึงเพชรบุรีและเกี่ยวข้องไปถึงเมือง
นครศรีธรรมราช ซึ่งในส่วนนี้ลาลูแบร์ เอกอัครราชทูตฝรั่งเศสในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ได้
บันทกึ เกย่ี วกบั ชาวสยามว่า ชาวลาวกบั ชาวสยามเกอื บจะเปน็ ชนชาติเดยี วกัน

เอกสารจนี ทบ่ี ันทกึ โดยหม่าฮวนไดก้ ลา่ วไว้วา่ ชาวเมอื งพระนครศรอี ยธุ ยาพดู จาด้วยภาษาอยา่ งเดียวกับ
กลุ่มชนทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีน คือพวกที่อยู่ในมณฑลกวางตุ้งกับกวางสี และด้วยความที่ดินแดนแถบ
อุษาคเนยเ์ ป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณจ์ ึงมีกลุ่มชาติพันธ์ุหลากหลายต้ังหลักแหล่งอยปู่ ะปนกันจึงเกิดการประสม
ประสานทางเผา่ พันธุ์ วฒั นธรรม และภาษาจนไม่อาจแยกออกจากกันได้อย่างชดั เจน และด้วยการผลักดันของ
รัฐละโว้ ทำให้เกิดรัฐอโยธยาศรีรามเทพนคร ภายหลังปี พ.ศ. 1700 ก็ได้มีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ
วัฒนธรรมหลายอย่าง

ด้วยเหตุทีก่ รงุ ศรีอยุธยาเป็นอาณาจักรที่มคี วามเจรญิ รุง่ เรืองกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มอื่นๆ ได้อพยพเข้ามาพึง่
พระบรมโพธิสมภาร เชลยที่ถูกกวาดต้อน ตลอดจนถึงชาวเอเชียและชาวตะวันตกที่เข้ามาเพื่อการค้าขาย ใน
กฎมนเทียรบาลยุคต้นกรุงศรีอยุธยาได้เรียกชือ่ ชนพื้นเมืองต่างๆได้แก่ "แขกขอมลาวพม่าเมงมอญมสุมแสงจีน
จามชวา..." ซึง่ มกี ารเรียกชนพ้ืนเมอื งที่อาศยั ปะปนกนั โดยไมจ่ ำแนกวา่ ชาวสยาม ในจำนวนน้ีมชี าวมอญอพยพ
เข้ามาในสมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชา, สมเด็จพระนเรศวรมหาราช, สมเด็จพระเจ้าปราสาททอง, สมเด็จ
พระนารายณ์มหาราช และสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เนื่องจากชาวมอญไม่สามารถทนการบีบคั้นจากการ
ปกครองของพม่าในช่วงราชวงศ์ตองอู จนในปี พ.ศ. 2295 พม่าได้ปราบชาวมอญอย่างรุนแรง จึงมีการลี้ภัย

๒๐

เข้ามาในกรุงศรีอยุธยาจำนวนมากโดยชาวมอญในกรงุ ศรีอยุธยาตั้งถิ่นฐานอยู่รมิ แมน่ ้ำ เช่น บ้านขม้ินริมวัดขุน
แสน ตำบลบ้านหลังวัดนก ตำบลสามโคก และวัดท่าหอยชาวเขมรอยู่วัดค้างคาวชาวพม่าอยู่ข้างวัดมณเฑียร
สว่ นชาวตงั เกยี๋ และชาวโคชินไชนา่ (ญวน) กม็ หี มบู่ า้ นเชน่ กันเรียกว่าหมู่บ้านโคชินไชน่า นอกจากนี้ชาวลาวก็มี
จำนวนมากเช่นกัน โดยในรัชสมัยของสมเดจ็ พระราเมศวรครองราชย์ครงั้ ที่สอง ได้กวาดตอ้ นครัวลาวเชียงใหม่
สง่ ไปไวย้ งั จังหวดั พัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราชและจันทบรุ ี และในรัชสมยั ของสมเดจ็ พระนารายณ์มหาราชที่
ทรงยกทัพไปตีลา้ นนาในปี พ.ศ. 2204 ได้เมืองลำปาง ลำพูนเชียงใหม่ เชียงแสน และได้กวาดตอ้ นมาจำนวน
หนึ่งเป็นต้น โดยเหตุผลที่กวาดต้อนเข้ามา ก็เพื่อวัตถุประสงค์ทางด้านเศรษฐกิจและการทหาร และนอกจาก
กลมุ่ ประชาชนแล้วกลุ่มเชื้อพระวงศ์ทเ่ี ปน็ เชลยสงครามและผู้ที่เข้ามาพ่งึ พระบรมโพธิสมภาร มีท้ังเชื้อพระวงศ์
ลาว, เชอ้ื พระวงศ์เชยี งใหม่ (Chiamay), เชือ้ พระวงศพ์ ะโค (Banca), และเชื้อพระวงศก์ มั พชู า นอกจากชุมชน
ชาวเอเชียที่ถกู กวาดตอ้ นมาแลว้ กย็ ังมชี ุมชนของกลุ่มผู้คา้ ขายและผูเ้ ผยแผศ่ าสนาท้ังชาวเอเชียจากส่วนอ่ืนและ
ชาวตะวันตก เช่น ชุมชนชาวฝรั่งเศสที่บ้านปลาเห็ด ปัจจุบันอยู่ทางทิศใต้นอกเกาะอยุธยาใกล้กับวัดพุทไธ
สวรรย์ ซึ่งภายหลังบ้านปลาเห็ตได้เปลี่ยนชื่อเป็นบ้านเซนต์โยเซฟ หมู่บ้านญี่ปุ่นอยู่ริมแม่น้ำระหว่างหมู่บ้าน
ชาวมอญและโรงกลนั่ สรุ าของชาวจนี ถัดไปเป็นชมุ ชนชาวฮอลันดาทางใตข้ องชุมชนฮอลนั ดาเป็นถ่ินพำนักของ
ชาวอังกฤษ, มลายู และมอญจากพะโค นอกจากนี้ก็ยังมีชุมชนของชาวอาหรับ เปอร์เซีย และกลิงก์ (คนจาก
แคว้นกลิงคราฎรจ์ ากอินเดยี )สว่ นชมุ ชนชาวโปรตเุ กสตงั้ อย่ตู รงขา้ มชุมชนญปี่ ุน่ ชาวโปรตุเกสสว่ นใหญ่มกั สมรส
ข้ามชาติพันธุ์กับชาวสยาม จีน และมอญ ส่วนชุมชนชาวจามมีหลักแหล่งแถบคลองตะเคียนทางใต้ของเกาะ
เมืองพระนครศรีอยุธยาเรียกว่า ปทาคูจาม มีบทบาทสำคัญด้านการค้าทางทะเล และตำแหน่งในกองทัพเรือ
เรียกวา่ อาษาจาม และเรียกตำแหน่งหวั หน้าวา่ พระราชวังสัน

ภาษา

สำเนียงดงั้ เดมิ ของกรงุ ศรีอยุธยามคี วามเช่ือมโยงกับชนพื้นเมืองตง้ั แต่ลุ่มนำ้ ยมท่ีเมืองสุโขทยั ลงมาทาง
ลุ่มน้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตกในแถบสุพรรณบุรี, ราชบุรี,เพชรบุรี ซึ่งสำเนียงดังกล่าวมีความใกล้ชิดกับสำเนียง
หลวงพระบาง โดยเฉพาะสำเนียงเหน่อของสุพรรณบุรีมีความใกล้เคียงกับสำเนียงหลวงพระบาง ซึ่งสำเนียง
เหนอ่ ดังกลา่ วเป็นสำเนยี งหลวงของกรุงศรีอยธุ ยา ประชาชนชาวกรุงศรีอยธุ ยาท้ังพระเจ้าแผ่นดินจนถึงไพร่ฟ้า
ราษฏรก็ล้วนตรัสและพูดจาในชีวิตประจำวัน ซึ่งปัจจุบันเป็นขนบอยู่ในการละเล่นโขนที่ต้องใช้สำเนียงเหน่อ
โดยหากเปรียบเทยี บกบั สำเนียงกรุงเทพฯในปัจจุบนั นี้ ท่ีในสมัยน้ันถอื วา่ เปน็ สำเนียงบ้านนอกถน่ิ เล็กๆของราช
ธานีท่ีแปรง่ และเย้ืองจากสำเนียงมาตรฐานของกรงุ ศรีอยธุ ยา และถอื วา่ ผิดขนบภาษาดั้งเดิมของกรุงศรีอยุธยา
ปรากฏอยู่ในโองการแช่งน้ำ ซึ่งเป็นร้อยกรองที่เต็มไปด้วยฉันทลักษณ์ที่แพร่หลายแถบแว่นแคว้นสองฝั่งลุ่ม
แม่น้ำโขงมาแต่ดึกดำบรรพ์ และภายหลังได้พากันเรียกวา่ โคลงมณฑกคติ เนื่องจากเข้าใจว่าได้รับแบบแผนมา
จากอินเดีย ซึ่งแท้จริงคือโคลงลาว หรือ โคลงห้า ที่เป็นต้นแบบของโคลงดั้นและโคลงสี่สุภาพ โดยในโองการ
แช่งน้ำเต็มไปดว้ ยศัพท์แสงพนื้ เมืองของไทย-ลาวส่วนคำท่ีมาจากบาลี-สนั สกฤต และเขมรอยนู่ ้อย โดยหากอา่ น
เปรียบเทยี บก็จะพบว่าสำนวนภาษาใกล้เคียงกับข้อความในจารึกสมยั สุโขทัย และพงศาวดารล้านช้างด้วยเหตุ
ที่กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่ใกล้ทะเลและเป็นศูนย์กลางการค้านานาชาติทำให้สังคมและวัฒนธรรมเปลี่ยนไปอย่าง
รวดเร็ว ต่างกับบ้านเมืองแถบสองฝั่งโขงที่ห่างทะเลเป็นเหตุที่ทำให้มีลักษณะที่ล้าหลังจึงสืบทอดสำเนียงและ
ระบบความเชื่อแบบดั้งเดิมไว้ได้เกือบทั้งหมด ส่วนภาษาในกรุงศรีอยุธยาก็ได้รับอิทธิพลของภาษาจาก
ต่างประเทศจึงรับคำในภาษาต่างๆมาใช้ เช่นคำว่ากุหลาบ ที่ยืมมาจากคำว่า กุล้อบ ในภาษาเปอร์เซีย ที่มี
ความหมายเดิมว่า น้ำดอกไม้ และยืมคำว่า ปาดรื (Padre) จากภาษาโปรตุเกส แล้วออกเสียงเรียก
เป็น บาทหลวงเป็นต้น

๒๑

ระบบไพร่

อาณาจักรอยุธยามีการใช้ระบบไพร่อันเป็นการลิดรอนสทิ ธิเสรีภาพของประชาชนอย่างมากเมื่อเทียบ
กับสมัยสุโขทัย โดยกำหนดให้ชายทกุ คนที่สูงตั้งแต่ 1.25 เมตรขึ้นไปต้องลงทะเบยี นไพร่ ไพร่จะต้องทำงานท่ี
ได้รับมอบหมายเดือนเว้นเดือน โดยไม่มีค่าตอบแทนหรือเสบียงอาหารใด ๆ ระบบไพร่มีความสำคัญต่อการ
รักษาอำนาจทางการเมืองของพระมหากษัตริย์ เพราะหากมีการเบียดบังไพร่โดยเจ้านายหรือขุนนางไว้เป็น
จำนวนมากแล้ว ย่อมส่งผลต่อเสถียรภาพของราชบัลลังก์ได้ ตลอดจนส่งผลให้กำลงั ในการป้องกันอาณาจักรก็
จะอ่อนแอ ไม่เป็นปึกแผ่น นอกจากนี้ ระบบไพร่ยังเป็นการเกณฑแ์ รงงานเพื่อใช้ประโยชน์ในโครงการกอ่ สร้าง
ต่าง ๆ ซึ่งลว้ นแตเ่ ก่ียวขอ้ งกบั มาตรฐานชีวิตและความม่ันคงของอาณาจกั ร

ความสัมพนั ธก์ ับต่างประเทศ

อาณาจักรอยุธยามักส่งเครื่องราชบรรณาการไปถวายจักรพรรดิจีนเป็นประจำทุกสามปี เครื่อง
บรรณาการนี้เรียกว่า "จิ้มก้อง" นักประวัติศาสตร์เชื่อว่าการส่งเครื่องราชบรรณาการดังกล่าวแฝงจุดประสงค์
ทางธรุ กิจไวด้ ว้ ย คือ เมื่ออาณาจักรอยุธยาไดส้ ่งเคร่ืองราชบรรณาการไปถวายแลว้ ก็จะได้เครื่องราชบรรณาการ
กลับมาเปน็ มลู ค่าสองเทา่ ท้ังยังเป็นธุรกิจท่ไี มม่ ีความเสี่ยง จึงมกั จะมีขนุ นางและพ่อคา้ เดินทางไปพร้อมกับการ
นำเครื่องราชบรรณาการไปถวายดว้ ย อาณาจักรอยุธยามีความสัมพนั ธ์กบั ชาติตะวันตกในด้านการคา้ ขายและ
การเผยแผศ่ าสนา โดยชาวตะวนั ตกไดน้ ำเอาวิทยาการใหม่ ๆ เขา้ มาดว้ ย ตอ่ มา คอนสแตนตนิ ฟอลคอนได้เข้า
มามีอิทธิพลและยังมีหลักฐานว่าคบคิดกับฝร่ังเศสจะยึดครองกรุงศรีอยุธยา บรรดาขุนนางจึงประหารฟอลคอนเสีย
และลดระดบั ความสำคัญกับชาติตะวนั ตกตลอดชว่ งเวลาทเี่ หลอื ของอาณาจักรอยุธยา

ประวัตศิ าสตรไ์ ทย/ประวัติศาสตรไ์ ทยสมยั ธนบุรี

การปกครองสมัยกรุงธนบรุ ี

การปกครองสมัยกรุงธนบุรียึดถือตามแบบอย่างอยุธยา สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ คือแบ่งส่วน
ราชการออกเปน็

1. การปกครองสว่ นกลาง ประกอบดว้ ยอัครมหาเสนาบดี 2 ตำแหนง่ ไดแ้ ก่

- สมหุ นายก เปน็ อัครมหาเสนาบดีฝา่ ยพลเรือน และดแู ลหัวเมอื งฝ่ายเหนอื

- สมุหพระกลาโหม เป็นอัครมหาเสนาบดีฝ่ายทหาร และดูแลหัวเมืองฝ่ายใต้ การบริหาร
ราชการแบง่ ออกเป็น 4 กรม เรยี กว่า จตสุ ดมภ์ ประกอบด้วย

- กรมเวียง (นครบาล) มีหนา้ ทีป่ กครองทอ้ งท่ี รักษาความสงบเรยี บรอ้ ยของบ้านเมอื ง

- กรมวัง (ธรรมาธิกรณ)์ มีหน้าท่ีเก่ียวกับราชสำนัก และช่วยพระมหากษัตริย์พจิ ารณาคดี
ความของราษฎร จึงเรียกอกี ชือ่ หนึ่งวา่ ธรรมาธิกรณ์

- กรมคลงั (โกษาธิบด)ี มหี นา้ ท่เี กย่ี วกบั การเงินของแผ่นดิน และเกบ็ รักษาพระราชทรัพย์
ทีไ่ ด้มาจาก ส่วย อากร และบงั คบั บญั ชากรมท่า ซีง่ เกีย่ วข้องกับการตดิ ตอ่ ค้าขายกบั ต่างประเทศ

- กรมนา (เกษตราธิการ) มหี นา้ ที่ดูแลนาหลวง เก็บภาษี (หางขา้ ว)

2. การปกครองส่วนภมู ภิ าค แบ่งหวั เมืองออกเปน็

๒๒

2.1 หัวเมืองชั้นใน (เมืองจัตวา) ได้แก่เมืองที่อยู่ใกล้ราชธานี เป็นเมืองเล็กๆมีขุนนางชั้น
ผูน้ อ้ ยเปน็ ผ้ปู กครองเมือง แตเ่ รียกวา่ จ่าเมือง เช่นเมืองพระประแดง เมืองนนทบุรี เมืองสามโคก

2.2 หัวเมอื งชั้นนอก ไดแ้ กเ่ มอื งซึง่ อยนู่ อกราชธานีออกไป แบง่ ตามขนาดและความสำคัญ
ของเมืองกำหนดฐานะเป็นเมืองชัน้ เอก โท ตรี จัตวา โดยรูปแบบการบริหารราชการเหมือนสมัยกรุงศรีอยุธยา
แต่ฐานะของเมอื งอาจเปลย่ี นแปลงไปจากเดมิ

2.3 หัวเมืองประเทศราช เป็นเมืองซึ่งทางกรุงธนบุรีจะเป็นผู้แต่งตั้งเจ้าเมือง ให้อิสระใน
การปกครอง แต่ต้องปฏิบัติตามนโยบายของเมืองหลวง และต้องส่งต้นไม้เงิน ต้นไม้ทอง รวมทั้งเครื่องราช
บรรณาการตามทเี มืองหลวงกำหนด เมืองประเทศราชสมยั กรงุ ธนบรุ ไี ดแ้ ก่ เชยี งใหม่ หลวงพระบาง เวยี งจันทร์
จำปาศกั ด์ิ นครศรธี รรมราช ปตั ตานี และเขมร

เศรษฐกิจสมยั กรุงธนบุรี

การเสียกรุงครั้งที่ 2 ก่อให้เกิดความเสียหายย่อยยับแก่เศรษฐกิจไทย นอกเหนือจากชาว
ไทยต้องบาดเจบ็ ลม้ ตายในสงครามกบั พม่าหลายหมื่นคนแลว้ ผู้รอดชีวิตจำนวนมากต้องอพยพหนตี ายในสภาพ
อดอยากยากแคน้ บางส่วนอพยพหนีเข้าป่า บางส่วนซัดเซพเนจรหาที่พักพิงใหม่ เมือ่ อดอยากหนักเข้าจึงใช้วิธี
ปล้นสะดมฆ่าฟันกันเพื่อความอยู่รอด บ้างก็ล้มตายเพราะขาดอาหาร หรือไม่ก็ตายเพราะโรคระบาด พลเมือง
บางสว่ นก็หนไี ปพ่งึ พระบารมีพระเจ้ากรุงธนบรุ หี ลังจากท่พี ระเจ้าตากสินได้ทรงสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี
แลว้ ได้ดำเนินวธิ กี ารฟนื้ ฟูด้านเศรษฐกิจ ดังนี้

1. ทรงสละพระราชทรัพย์ซื้อข้าวสารจากต่างชาติที่นำมาขาย แล้วนำไปแจกจ่ายให้กับ
ราษฎรเพอื่ แก้ปัญหาเฉพาะหน้า

2. ทรงเรง่ รดั การทำนา เพ่ือใหม้ ขี า้ วบริโภคเพียงพอ โดยการสนบั สนนุ ให้ข้าราชการทำนาปรัง

3. ทรงส่งเสริมการค้าขายกับต่างประเทศ เพื่อนำรายได้มาใช้เกี่ยวกับการทำสงครามและ
บูรณปฏิสังขรณ์วดั วาอาราม รายได้เกี่ยวกับการค้ากับต่างประเทศ ได้แก่ การเก็บภาษเี บิกร่องหรอื ค่าปากเรือ
ภาษีขาเข้า - ภาษขี าออก

4. ทรงดำเนินนโยบายประหยัด โดยการใช้ของที่เป็นเครื่องอุปโภค บริโภค ให้คุ้มค่ามาก
ที่สุดแม้ว่าพระเจ้าตากสินจะพยายามแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ แก้ไขปัญหาความอดอยากของ
ประชาชน แตก่ ย็ ังไมป่ ระสบผลสำเรจ็ นัก เปน็ เพราะสาเหตุดงั ตอ่ ไปน้ี

1. มีสงครามตลอดรชั กาล ทำให้ราษฎรไม่มีเวลาทำมาหากนิ

2. เกิดภัยธรรมชาติ เช่น พ.ศ.2311 – พ.ศ.2312 ฝนแล้งติดต่อกัน ทำนาไม่ได้ผล ที่พอ
ทำไดบ้ ้างก็ถูกหนูกดั กินข้าวในนาและยงุ้ ฉาง รวมทัง้ ทรพั ย์สินส่งิ ของทัง้ ปวงเสียหาย จึงมีรบั ส่ังให้ราษฎรดักหนู
นามาส่งกรมพระนครบาล ทำใหเ้ หตกุ ารณส์ งบลงไปได้

3. ผคู้ นแยกย้ายกระจัดกระจายกนั ยงั ไมม่ ารวมกนั เป็นปึกแผน่

4. พ่อค้าชาติต่างๆยังไม่กล้ามาลงทุน เพราะสภาพการณ์บ้านเมืองไม่น่าวางใจนัก อีก
ประการหนึ่งเกรงจะถูกยึดทรัพย์สินเป็นของหลวง การแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจไม่ค่อยได้ผลนัก ทั้งนี้เพราะต้อง
ทำควบคไู่ ปกับการทำสงครามดว้ ย แม้กระน้นั พระเจ้าตากสนิ ก็พยายามส่งเสริมการค้าขายกบั ตา่ งประเทศ โดย
ส่งเสริมการต่อเรือพาณิชย์ อันเป็นผลให้มีหนทางเก็บภาษีเข้าท้องพระคลัง เรือค้าขายจากเมืองจีนมาติดต่อ

๒๓

บ่อยคร้งั ใน พ.ศ.2324 คณะทูตจากกรุงธนบุรีเดนิ ทางไปเมืองกวางตุ้ง นำพระราชสาสน์ไปเจรญิ ทางพระราช
ไมตรีและได้เจรจาเรอ่ื งการคา้ ด้วย

การปรบั ปรงุ ฟื้นฟูประเทศดา้ นการศึกษาและศาสนาสมยั กรงุ ธนบุรี

การศึกษาสมัยกรุงธนบุรีมีศูนย์กลางอยู่ที่วัดกับวัง โดยวัดจะเป็นสถานศึกษาสำหรับราษฎรทั่วไป ซ่ึง
สว่ นใหญ่จะเป็นเดก็ ผ้ชู ายเพราะต้องไปศึกษาและพกั อยู่กับพระท่ีวัด วชิ าทเ่ี รียนไดแ้ ก่ การอ่าน เขยี นภาษาไทย
ภาษาบาลี - สันสกฤต และวิชาเลข ซึ่งสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ส่วนวังเป็นสถานศึกษาสำหรับบุตร
ของพระบรมวงศานวุ งศ์ และขุนนางผู้ใหญ่ วิชาทีเ่ รียนส่วนใหญ่เน้นเรื่องการปกครอง วิชาการป้องกันตัว เพ่ือ
เตรียมรับราชการต่อไปในอนาคต ส่วนวิชาชีพนัน้ จะเป็นการศึกษากบั พ่อแม่ คือ พ่อแมป่ ระกอบอาชีพอะไร ก็
มักจะถ่ายทอดให้ลูกหลานทำต่อ เช่นวิชาแพทย์แผนโบราณ หรือวิชาช่างต่างๆ ส่วนเด็กผู้หญิงจะเรี ยนเพ่ือ
เตรยี มตวั เป็นแม่บ้านแม่เรือนในอนาคต ดังนั้นการเรยี นของเด็กผู้หญิงจะเรียนอยกู่ ับบ้าน มีแม่เป็นผู้สอน วิชา
ที่เรียน เช่น การเย็บปักถักร้อย ทำกับข้าว การฝึกอบรมมารยาทของสตรี โดยพ่อแม่ไม่นิยมให้ผู้หญิงเรียน
หนังสือ

การปรับปรุงฟืน้ ฟปู ระเทศดา้ นศาสนาสมยั กรุงธนบุรี

พระพุทธศาสนาตกต่ำมากในช่วงการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 เมื่อพระเจ้าตากสินขึ้นครองราชย์
พระองค์ทรงตั้งพระทัยจะฟ้ืนฟูพระพุทธศาสนาอย่างแนว่ แน่ พระราชภารกจิ ทางด้านศาสนา ไดแ้ ก่

1. นิมนตพ์ ระภิกษสุ งฆ์ท่อี ย่ตู ามท่ตี า่ งๆใหม้ าประชุมกันท่วี ัดบางหว้าใหญ่ (วัดระฆังโฆษติ าราม)
แต่งตั้งเจ้าอาวาสวัดประดู่ขึ้นเป็นพระสังฆราช และตั้งพระราชาคณะให้ปกครองพระอารามต่างๆในเขต
กรุงธนบุรี

2. ในคราวเสด็จไปปราบชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช พระองค์เสด็จบำเพ็ญพระราชกุศลท่ี
พระอารามวัดพระศรีมหาธาตุ เมืองนครศรีธรรมราช และให้เชิญพระไตรปิฎกขึ้นมายังกรุงธนบุรี เพื่อคัดลอก
จารไว้ทกุ หมวดแลว้ เชญิ กลบั ไปนครศรธี รรมราชตามเดิม

3. เมื่อเสด็จหัวเมืองเหนือ พระเจ้าตากสินก็ทรงแต่งตั้งพระราชาคณะตามหัวเมืองต่างๆ
และโปรดให้รวบรวมพระไตรปิฎกทางหัวเมืองเหนือมาสอบชำระที่กรุงธนบุรี แล้วให้ส่งกลับไปใช้เป็นฉบับ
หลวง

4 .ทรงอปุ ถมั ภ์พระภกิ ษุ สามเณร ทรงบำเพญ็ พระราชกศุ ลทางศาสนาเป็นประจำ

5. ปฏิสังขรณ์วัดวาอารามหลายแห่ง เช่น วัดบางยี่เรือใต้ (วัดอินทาราม)อันเป็นพระอาราม
หลวง และประดษิ ฐานพระอฐั สิ มเด็จพระพันปีหลวงกรมพระเทพามาตย์ นอกจากนเ้ี มอ่ื คร้งั สมเด็จเจ้าพระยา
มหากษตั ริยศ์ ึกเปน็ แม่ทัพไปตเี มืองเวยี งจันทร์ใน พ.ศ.2321 ได้อัญเชิญพระแกว้ มรกตมาประดิษฐานไว้ในกรุง
ธนบรุ ดี ว้ ย

สภาพสังคมไทยสมัยกรุงธนบุรี

สภาพสงั คมไทยสมัยกรงุ ธนบรุ ี มีลักษณะคล้ายคลึงกบั สมัยอยธุ ยา คือมีการแบ่งชนชัน้ ออกเป็น

1. พระมหากษัตรยิ ์ เป็นชนชนั้ สงู สดุ ในสังคม

2. พระบรมวงศานุวงศ์

3. ขนุ นางข้าราชการ

๒๔

4. ไพร่ เป็นชนช้ันที่มีมากทีส่ ุดในสังคม

5. ทาส เป็นชนชั้นต่ำสุดในสังคม ถูกเอารัดเอาเปรียบจากนายเงินมาก สังคมไทยสมัยกรุง
ธนบุรีถูกควบคุมอย่างเข้มงวดมาก ด้วยเป็นเวลาที่บ้านเมืองอยู่ในระหว่างอันตรายเพิ่งกอบกู้เอกราชคืนมาได้
ทั้งประสบความเสียหายอย่างใหญ่หลวง ผู้คนหลบหนีเข้าป่าอย่างมากมาย ถูกกวาดต้อนไปพม่าก็มีมาก
นอกนั้นต่างก็พยายามเอาตัวรอดโดยการตั้งเป็นก๊ก เป็นเหล่า ครั้นกู้กรุงศรีอยุธยา กลับคืนมาได้ก็ยังต้อง
ระมัดระวังภยั จากพม่าท่จี ะมาโจมตีอีก การควบคุมกำลงั คนจงึ มีความสำคัญมาก เพราะถ้ามผี ู้คนน้อย ก็จะทำ
ให้พ่ายแพ้แก่ข้าศึกศัตรูได้ ผู้คนในกรุงธนบุรีถูกควบคุมโดยการสักเลก ผู้ที่ถูกสักเลกทั้งหลายเรียกกันว่าไพร่
หลวง ซึ่งมีหน้าที่รับราชการปีละ 6 เดือน โดยมาทำราชการหนึ่งเดือน และหยุดพักผ่อนไปทำมาหากินหน่ึง
เดอื นสลับกนั ไป ซึ่งสมัยก่อนเรยี กวา่ เข้าเดือนออกเดือน มีไพร่หลวงอีกพวกหน่ึงเรียกวา่ ไพร่ส่วย คือ เป็นไพร่ที่
ส่งส่วยเป็นสิ่งของหรือเงินแทนการรับใช้แรงงานแก่ทางราชการ ส่วนไพร่สมเป็นไพร่ที่สังกัดมูลนายรับใช้แต่
เจา้ นายของตนเอง เพราะพวกน้ีถูกแยกเปน็ อีกพวกหน่งึ เดด็ ขาดไปเลย แต่บางครงั้ ไพรส่ มกถ็ กู แปลงมาเป็นไพร่
หลวงไดเ้ หมือนกัน การสักเลกกเ็ พ่ือเป็นการลงทะเบียนชายฉกรรจ์เป็นไพร่หลวงเพื่อป้องกนั การหลีกเลี่ยงและ
หลบหนี

ความสัมพันธ์กบั ต่างประเทศ

ความสมั พันธ์กบั ต่างประเทศในสมยั กรงุ ธนบุรีมลี ักษณะสำคญั 2 ประการ คือการป้องกัน
ประเทศจากการรุกรานของต่างชาติ และการขยายอำนาจไปยงั อาณาจักรขา้ งเคียง เพื่อเสริมสร้างความมั่นคง
แก่บ้านเมอื งประเทศท่ีมี ความสัมพันธก์ ับไทยสมยั กรงุ ธนบุรี คือ พมา่ ลาว เขมร และจีน

1. ความสัมพนั ธ์กบั ประเทศพมา่ เป็นไปในลักษณะของความขัดแยง้ ตลอดรชั กาล เริ่มจาก
การรบครั้งแรกที่ค่ายโพธิ์สามตน้ ซึ่งไทยเป็นฝ่ายชนะ สมเด็จพระเจ้าตากสินทรงกอบกูเ้ อกราชได้สำเร็จแลว้ ก็
ตาม แต่พม่าก็ยังไม่หยุดยั้งที่จะทำลายอาณาจักรไทยที่ตั้งขึ้นใหม่ ในสมัยกรุงธนบุรีมีการทำสงครามกับพม่า
10 ครั้ง ผลดั กันแพ้ชนะ สงครามคร้ังสำคญั ที่สุด ได้แก่ ศึกอะแซหวนุ่ กต้ี ีหัวเมอื งเหนือ พ.ศ.2318 ไม่มีฝ่ายใด
ชนะโดยเดด็ ขาด

2. ความสัมพันธ์กับประเทศลาว ในสมัยกรุงธนบุรีมีการทำสงครามกับลาว2 ครั้ง คือศึก
จำปาศักดิ์ปี พ.ศ.2319 และศึกเวียงจันทร์ปี พ.ศ.2321 ผลของสงครามทั้ง 2 ครั้ง ไทยเป็นฝ่ายชนะ ได้ลาว
เป็นประเทศราชและในคราวศึกเวียงจันทร์ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกแม่ทัพไทย ได้อัญเชิญพระพุทธ
มหามณีรตั นปฏมิ ากร (พระแกว้ มรกต) และพระบาง จากเวียงจันทร์มากรุงธนบุรดี ้วย

3. ความสัมพันธ์กับประเทศกัมพูชา เขมรเคยเป็นประเทศราชของไทยมาแต่สมัยอยุธยา
หลงั จากกรุงศรอี ยธุ ยาเสียแกพ่ ม่าในปี พ.ศ.2310แล้วพระเจ้าตากสินกเู้ อกราชได้สำเร็จ ปราบดาภเิ ษกข้นึ เป็น
กษัตริย์เขมรไม่ยอมส่งเครื่องราชบรรณาการมาถวายอ้างว่าสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชไม่ใช่เชื้อพระวงศ์
พระเจา้ แผ่นดนิ กรงุ ศรอี ยุธยา สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราชโปรดให้พระยาอภยั รณฤทธิ์ (ทองดว้ ง) และพระ
ยาอนุชิตราชา (บุญมา) นำทัพไปตีเขมรใน พ.ศ.2312 แต่ไม่สำเร็จเพราะเขมรแกล้งปล่อยข่าวว่าสมเด็จพระ
เจ้าตากสินมหาราชเสด็จสวรรคต พระยาอภัยรณฤทธิ์และพระยาอนุชิตราชาจึงยกทัพกลับ ต่อมาปี พ.ศ.
2314 โปรดให้พระยาจักรยี กทพั ไปตีเขมรอีก และได้เขมรกลบั มาเปน็ ประเทศราชของไทย

4. ความสัมพันธ์กบั ประเทศจนี สมยั กรงุ ธนบุรีเป็นความพยายามของสมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราชที่จะให้จีนยอมรับฐานะของพระองค์ และเพื่อให้ไทยได้เปิดค้าขายกับจีน เป็นการฟื้นฟูเศรษฐกิจและ
ทำให้ฐานะของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชมัน่ คงข้นึ ดว้ ย

๒๕

เหตุการณ์ปลายรชั สมยั สมเดจ็ พระเจ้าตากสินมหาราช

ในช่วงปลายรัชกาล สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงมีพระอารมณ์เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ทรง
หมกม่นุ ในการน่ังวปิ ัสนากรรมฐาน จนเขา้ พระทยั ว่าทรงบรรลโุ สดาบันแลว้ ทรงบังคบั ให้พระสงฆ์มากราบไหว้
พระองค์ หากไม่ปฏิบัติตามก็ทรงลงโทษอย่างหนัก สร้างความเดือดร้อนไปทั่ว จนเกิดจราจลขึ้น พระยาสรรค์
ก่อการกบฏตั้งตนเป็นใหญ่ บังคับให้สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชผนวช สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก
ทราบข่าวจึงยกทัพกลับจากการไปตีเขมร และได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นกษัตริย์เมื่อ วันที่ 6 เมษายน พ.ศ.
2325ทรงพระนามวา่ พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก

ประวตั ศิ าสตร์ไทย/ประวตั ิศาสตร์ชาติไทยสมัยรตั นโกสินทร์

การสถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทร์
ในปี พ.ศ. 2325 ขณะท่ีสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกยกทัพไปปราบเมืองเขมร ได้เกิดจลาจล

วุ่นวายในกรุงธนบรุ ี เมื่อเจา้ พระยาสรรคก์ ่อกบฏเขา้ ยึดธนบุรีเอาไว้ สมเดจ็ เจา้ พระยามหากษัตริย์ศึกจึงยกทัพ
กลับมาเพื่อปราบปรามกบฏในพระนคร เหล่าข้าราชการและประชาชนจึงพร้อมใจกันอัญเชิญ
สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกเสด็จขึน้ ครองราชย์ สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศกึ จงึ ปราบดาภิเษกข้ึน
เถลิงถวัลยราชสมบัตเิ ป็นพระมหากษัตรยิ ์พระองค์แรกแห่งราชวงศ์จักรี ในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2325
มีพระนามว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ต่อมาได้รับยกย่องให้เป็น มหาราช คนทั่วไปจึงขนาน
พระนามวา่ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช

หลังจากที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชขึน้ ครองราชสมบัติแล้ว ทรงมีพระราชวินิจฉยั
ว่า กรงุ ธนบรุ ีไมเ่ หมาะทจ่ี ะเป็นราชธานีสบื ไป ด้วยสาเหตุหลายประการ คือ

1. พระราชวังภายในกรุงธนบรุ คี บั แคบไมส่ ามารถขยายเขตพระราชวงั ให้กวา้ งขวางออกไปได้ เพราะ
มวี ดั ขนาบอยู่ 2 ดา้ น คือวัดแจ้งหรือวดั อรุณราชวรารามและวัดทา้ ยตลาดหรือวดั โมลีโลกยาราม

2. กรุงธนบุรีแต่เดิมนั้นมีอาณาเขตข้ามมาถงึ ฝ่ังตะวันออก ติดฟากจังหวัดพระนครบัดนีด้ ้วย มีแม่น้ำ
เจา้ พระยาผ่านกลาง มลี กั ษณะเป็นเมืองอกแตก แบบเมืองพิษณโุ ลก ซง่ึ พระองค์ประทับสู่พมา่ มาแล้ว ทรงเห็น
ว่าการที่มีแม่น้ำ อยู่กลางเมืองนั้นไม่สะดวกแก่การต่อสู้ข้าศึก ยิ่งแม่น้ำเจ้าพระยา เป็นแม่น้ำกว้างด้วยแล้ว
ความไมส่ ะดวกนั้น ย่อมทวีขน้ึ หลายเท่า เพราะทำสะพานขา้ มไม่ได้ แมน่ ำ้ ลกึ คลน่ื มาก แม้จะมีเรือข้ามก็ข้าม
ไมส่ ะดวก เวลามขี า้ ศึกมาลอ้ ม พระนคร จะสง่ ทหารถา่ ยเทกนั ไปชว่ ยคนละฟากแมน่ ำ้ เป็นการยาก

3. ถา้ หากย้ายพระนครมาตั้งฝง่ั ตะวันออกฝัง่ เดียว จะได้อาศัยแมน่ ำ้ เจา้ พระยาเปน็ คูพระนคร 2 ดา้ น
เพราะทีต่ รงรี้เป็นแหลม ย่ืนออกไป คงทำคูเมืองอีก 2 ด้านเทา่ น้นั ย่อมเปน็ การสะดวกแก่การป้องกันพระนคร
มาก

4. ท่ตี ง้ั พระราชวงั เดมิ (กรมอู่ทหารเรอื ในปจั จุบนั ) เป็นทอ้ งคงุ้ นำ้ เซาะตล่ิงพังลงเร่อื ย ไม่เหมาะแก่
การจะสรา้ งพระราชวังให้เป็นการถาวรได้

5. กรงุ ธนบุรเี ปน็ เมืองทมี่ กี ารสร้างป้อมปราการเอาไว้ทั้งสองฝง่ั แม่น้ำ โดยเอาแมน่ ำ้ ผา่ กลาง (เรียกว่า
เมืองอกแตก) เหมือนเมืองพิษณุโลกมีประโยชน์ตรงที่อาจเอกเรือรบไว้ในเมืองเมื่อเวลาถูกข้าศึกมาตั้งประชิด
แต่การรักษาเมืองคนข้างในจะถ่ายเทกำลังเข้ารบพุ่งรักษาหน้าท่ีได้ไม่ทันทว่ งทเี พราะต้องข้ามแม่น้ำ แต่แม่น้ำ
เจ้าพระยาทั้งกว้างและลึกจะทำสะพานข้ามก็ไม่ได้ ทำให้ยากแก่การรักษาพระนครเวลาข้าศึกบุก เมื่อ
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้เสด็จขึ้นครองราชย์แล้วในวันที่ 21 เมษายน 2325
ได้ย้ายราชธานีจากกรุงธนบุรีมาอยู่ทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา และตั้งชื่อเมืองแห่งใหม่นี้ว่า
“กรงุ เทพมหานคร” ดว้ ยทรงวินจิ ฉยั ว่าบริเวณท่ตี ั้งราชธานีใหมม่ คี วามเหมาะสมหลายประการ ดังนี้

1. ทางฝง่ั กรงุ เทพฯเป็นทชี่ ัยภมู ิเหมาะสมเพราะเป็นหวั แหลมถา้ สร้างเมืองแต่เพียง ฟากเดียว

๒๖

จะไดแ้ มน่ ้ำใหญเ่ ป็นคเู มืองทั้งด้านตะวนั ตกและดา้ นใต้ เพยี งแตข่ ุดคลองเปน็ คเู มืองแต่ด้านเหนือและด้าน
ตะวนั ออกเท่านนั้ ถึงแมว้ า่ ข้าศกึ จะเขา้ มาโจมตีก็พอต่อสู้ได้

2. เนอ่ื งดว้ ยทางฝงั่ ตะวนั ออกนี้ พ้นื ทนี่ อกคเู มืองเดมิ เปน็ พื้นท่ีลมุ่ ท่ีเกดิ จากการตืน้ เขินของทะเล
ข้าศึกจะยกทัพมาทางนค้ี งทำได้ยาก ฉะนั้นการป้องกันพระนครจะได้มงุ่ ป้องกันเพียง ฝ่ังตะวันตก
แตเ่ พียงด้านเดียว

3. ฝงั่ ตะวันออกเป็นพ้นื ที่ใหม่ สนั นิษฐานว่าชมุ ชนใหญ่ในขณะนน้ั คงจะมีแต่ชาวจนี ท่ีเกาะกลุ่มกนั
อยจู่ ึงสามารถขยายออกไปได้อยา่ งกวา้ งขวาง และขยายเมืองได้เรอื่ ยๆ

พระองค์ทรงสร้างพระบรมราชวังใหม่ตามแบบอย่างการสร้างราชวังเดิมในสมัยอยุธยา โดย
ประกอบด้วย วังหลวง วังหน้า และวัดพระศรีศาสดารามหรือวัดพระแก้ว ซึ่งเป็นวัดในพระบรมราชวัง
เช่นเดียวกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ในสมัยอยุธยา แล้วให้อัญเชิญพระแก้วมรกตจากวัดอรุณราชวรารามมา
ประดิษฐานที่วัดนี้และพระราชทานนามใหม่ว่า “พระพุทธมหามณีรัตนปฎิมากร” เป็นพระพุทธรูป
คบู่ ้านคู่เมืองของประเทศไทยจนทุกวนั นี้ นองจากนน้ั ยังมที ่งุ พระเมรุ (สนามหลวง) และสถานท่ีสำคญั อ่ืนๆ โดย
อาณาบรเิ วณตั้งแตร่ มิ ฝ่ังแม่น้ำเจา้ พระยาจนถึงคเู มืองเดิมในสมยั ธนบุรี (ปัจจบุ ันคอื คลองหลอด) และพระองค์
ยังทรงโปรดเกล้าฯ ให้ขุดคลองเชื่อมในเขตพระนคร คือ คลองบางลำพู คลองโอ่งอ่าง และโปรดให้ขุดคลอง
เชื่อมคูเมืองเก่ากับคูเมืองใหม่ และสร้างกำแพงเมือง ประตูเมือง และป้อมปราการขึ้นตามแนวคลองรอบกรุง
ท้ังยังโปรดใหส้ รา้ งถนน สะพาน และสถานทอ่ี ื่นๆ อีกมากมาย

พระมหากษตั ริย์ในราชวงศจ์ ักรีได้ปกครองกรงุ รตั นโกสนิ ทรส์ ืบต่อกันมาถึงปัจจบุ ัน 9 พระองค์ ดงั นี้

พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟ้าจุฬาโลก

พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหล้านภาลัย

พระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกล้าเจา้ อย่หู วั

พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอย่หู ัว

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัว

พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยหู่ ัว

พระบาทสมเดจ็ พระปกเกล้าเจ้าอยูห่ ัว

พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหดิ ล

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช

เพื่อความสะดวกในการศึกษาประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ จึงได้แบ่งพัฒนาการทางประวัติศาสตร์สมัย
รัตนโกสินทร์ออกเป็น 3 ช่วง คือ สมัยรัตนโกสนิ ทร์ตอนตน้ ซึ่งเป็นช่วงสมัยทีเ่ ริม่ ก่อร่างสร้างตัวและฟื้นฟู
บ้านเมือง สมัยปรับปรุงประเทศในช่วงรัชกาลท่ี 4 – 6 เพื่อให้บ้านเมืองทันสมัย และรอดพ้นจากการ
คุกคามโดยชาติตะวนั ตก และสมยั ประชาธิปไตย ในชว่ งรัชกาลท่ี 7 จนถึงปจั จบุ นั เพ่อื ให้ประชาชนมีสิทธิ
เสรีภาพและประเทศมกี ารปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข

รัตนโกสินทร์ตอนตน้

ในสมัยกรุงรัตนโกสนิ ทร์ตอนต้น ช่วงรชั กาลท่ี 1 - รัชกาลท่ี 3 พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตร์ไทยมี
ความคล้ายคลงึ กับสมยั อยุธยาและธนบุรี ดังนี้

๒๗

การปกครอง

การดำเนินการดา้ นการปกครอง

ระเบียบบริหารราชการแผ่นดินที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงใช้ในการ
ปกครองประเทศนั้น ทรงเอาแบบอย่างซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถแห่งกรุงศรีอยุธยา
กล่าวคือ พระมหากษัตริย์ทรงมีอำนาจสูงสุดและเด็ดขาดในการปกครองประเทศ มีอัครมหมา
เสนาบดี 2 ตำแหน่ง คอื สมหุ พระกลาโหม และ สมุหนายก ตำแหนง่ สมุหนายก มีเสนาบดี 4 ตำแหน่ง

ที่เรียกว่า จตุสดมภ์ ขึ้นอยู่ในบังคับบัญชาโดยตรงที่แตกต่างออกไปคือ ทรงแบ่งการปกครองพระราช
อาณาเขตออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ การปกครองส่วนกลาง การปกครองส่วนหัวเมือง และการปกครองเมือง
ประเทศราช

การปกครองส่วนกลาง

สมหุ พระกลาโหม มียศและพระราชทินนามวา่ เจา้ พระยามหาเสนา ใช้ตราคชสหี ์เป็นตราประจำ
ตำแหนง่ มีอำนาจบงั คับบญั ชาหวั เมอื งฝ่ายใตท้ ้ังด้านการทหารและพลเรือน สมุหนายก มียศและพระราชทิน
นามไม่ทรงกำหนดแนน่ อน ท่ีใชอ้ ยูไ่ ด้แก่ เจา้ พระยาจักรี บดนิ ทร์เดชานชุ ิต รตั นาพิพธิ ฯลฯ ใช้ตราราชสหี ์
เปน็ ตราประจำตำแหนง่ มีอำนาจบังคับบัญชาหวั เมืองฝ่ายเหนือและอสี านทง้ั ด้านการทหารและพลเรือน

จตุสดมภ์ มีดังนี้
1. กรมเวยี ง หรือ กรมเมือง เสนาบดี คือ เจ้าพระยายมราช มีตราพระยมทรงสงิ หเ์ ปน็ ตราประจำ
ตำแหนง่ มหี นา้ ที่ดูแลกจิ การท่วั ไปในพระนคร
2. กรมวงั เสนาบดี คือ พระยาธรรมา ใชต้ ราเทพยดาทรงพระนนทิการ (พระโค) เปน็ ตราประจำ
ตำแหน่ง มีหน้าที่ดูแลพระราชวงั และตง้ั ศาลชำระความ
3. กรมคลงั หรือ กรมท่า ใช้ตราบวั แก้ว เปน็ ตราประจำตำแหนง่ มเี สนาบดีดำรงตำแหน่งตามหนา้ ท่ี
รบั ผดิ ชอบคือ

- ฝา่ ยการเงิน ตำแหน่งเสนาบดีคือ พระยาราชภกั ดี
- ฝ่ายการตา่ งประเทศ ตำแหนง่ เสนาบดีคือ พระยาศรีพิพัฒน์
- ฝ่ายตรวจบญั ชีและดูแลหัวเมอื งชายทะเลตะวนั ออก ตำแหน่งเสนาบดีคือ พระยาพระคลงั
4. กรมนา เสนาบดมี ตี ำแหน่ง พระยาพลเทพ ใชต้ ราพระพิรุณทรงนาค เปน็ ตราประจำตำแหนง่ มี
หน้าท่ีดแู ลนาหลวง เก็บภาษีขา้ ว และพจิ ารณาคดคี วามเกี่ยวกับทนี่ า
การปกครองหัวเมือง คือ การบริหารราชการแผน่ ดนิ ในหัวเมอื งต่างๆ ซง่ึ แบ่งออกเปน็ หวั เมืองช้นั ในและหวั
เมอื งชัน้ นอก
หวั เมืองช้ันใน (เดิมเรียกว่า เมอื งลูกหลวง หรือ เมอื งหน้าด่าน) ไดแ้ ก่ หวั เมอื งทกี่ ระจายอยรู่ ายล้อม
เมืองหลวง ถือเป็นเมืองบริวารของเมืองหลวง ไมม่ ีศักดเ์ิ ป็นเมอื งอย่างแท้จรงิ เพราะไม่มี เจา้ เมือง มีเพยี ง
ผ้รู ัง้ (ซึ่งไม่มีอำนาจอยา่ งเจ้าเมือง จะตอ้ งฟังคำสั่งจากเมอื งหลวง)
หวั เมืองชัน้ นอก ได้แก่ เมืองทง้ั ปวง(นอกจากเมอื งหลวง เมืองชนั้ ใน และเมืองประเทศราช)
เมืองเหล่าน้ีจดั แบ่งระดับเป็นเมืองช้ัน เอก โท ตรี ตามขนาด จำนวนพลเมอื งและความสำคัญ แตล่ ะเมืองยงั
อาจมเี มืองเล็กๆ(เมืองจัตวา) อยู่ใต้สังกัดได้อกี ด้วย เจ้าเมอื งของเมอื งเหล่าน้ี มอี ำนาจสทิ ธิ์ขาดในเมืองของตน
แตต่ ้องปฏบิ ัติตามพระบรมราชโองการและนโยบายของรัฐบาลท่ีเมอื งหลวง ตามเขตการรับผดิ ชอบคอื

หัวเมืองเหนือและอีสาน อยใู่ นความรับผดิ ชอบของสมุหนายก

หวั เมืองใต้ (ตัง้ แตเ่ มืองเพชรบรุ ีลงไป) อยู่ในความรบั ผดิ ชอบของ สมหุ พระกลาโหม

๒๘

หัวเมืองชายทะเลตะวันออก (นนทบุรี สมุทรปราการ สมุทรสงคราม สาครบุรี ชลบุรี
บางละมุง ระยอง จนั ทบุรี และตราด) อยู่ในความรบั ผิดชอบของ เสนาบดกี รมพระคลัง คือ พระยาพระคลงั
การแตง่ ตั้งเจา้ เมือง

เมืองเอก ได้แก่ เมืองพิษณุโลก นครราชสีมา นครศรีธรรมราช ถลาง และสงขลา พระมหากษัตรยิ ์ทรง
แต่งตั้งเอง

เมืองโท ตรี และจัตวา เสนาบดีผรู้ บั ผิดชอบเป็นผ้แู ต่งต้งั
การปกครองเมืองประเทศราช

เมอื งประเทศราชของไทยได้แก่
1. ลา้ นนาไทย (เชียงใหม่ ลำพนู ลำปาง เชียงแสน)
2. ลาว (หลวงพระบาง เวียงจนั ทน์ จำปาศักด์ิ)
3. เขมร
4. หวั เมอื งมลายู (ปตั ตานี ไทรบุรี กลันตนั ตรงั กานู)
เมืองประเทศเหลา่ นม้ี เี จ้าเมืองเดิมเปน็ ผู้ปกครอง แต่มคี วามผูกพนั ต่อราชธานี คอื การส่งเคร่อื งราช
บรรณาการ ตน้ ไมเ้ งนิ ตน้ ไมท้ อง ตามกำหนดเวลา และชว่ ยราชการทหารตามแต่กรุงเทพฯ หรือ ราชธานี
จะมใี บบอกแจ้งไป ภารกจิ ของราชธานี (กรุงเทพฯ) คือ ปกปอ้ งดูแลมิใหข้ ้าศกึ ศัตรโู จมตเี มืองประเทศราช
การชำระแก้ไขปรับปรุงกฎหมาย

พระราชกรณยี กจิ ท่ีเกย่ี วกับการปกครองที่สำคัญอีกประการหนงึ่ ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา้
จุฬาโลกมหาราช ไดโ้ ปรดให้ดำเนนิ การนอกเหนอื ไปจากการปรบั ปรุงแกไ้ ขระเบยี บการบรหิ ารราชการแผ่นดนิ
ไดแ้ ก่ การรวบรวมและชำระกฎหมายเกา่ ท่ใี ชก้ ันมาต้ังแต่สมยั อยุธยา เมอื่ ไดช้ ำระเรยี บรอ้ ยแลว้ โปรดเหล้าฯ
ให้อาลกั ษณ์คัดลอกไว้เป็น 3 ฉบับ ทุกฉบบั ประทบั
ตราคชสหี ์ ตราราชสีห์ และตราบวั แก้ว ซึ่งเปน็ ตราประจำตำแหนง่ สมุหพระกลาโหม สมุหนายกและพระยา
พระคลงั ตามลำดับ เสนาบดีท้ังสามเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่ในการปกครอง ดูแลหวั เมืองทั่วพระราชอาณาจักร
กฎหมายฉบบั นจี้ งึ มีชื่อเรยี กว่า “กฎหมายตราสามดวง” หรอื เรียกอีกอยา่ งหนึง่ วา่ ประมวลกฎหมายรัชกาล
ที่ 1 ไดใ้ ชเ้ ปน็ หลักในการปกครองประเทศมาจนถึงรชั กาลท่ี 5 กอ่ นทจ่ี ะมีการปฏิรูปกฎหมายและการศาล
ตามแบบสากล

๒๙

เศรษฐกจิ
สภาพทางเศรษฐกิจสมยั กรุงรัตนโกสินทร์ตอนตน้ ยงั คงยดึ แบบแผนที่ปฏบิ ัตมิ าตง้ั แต่สมยั อยธุ ยาและ
สมยั กรุงธนบรุ เี ป็นหลัก ซึ่งพอจะประมวลองคป์ ระกอบทางเศรษฐกิจที่สำคญั ได้ 3 ประการคือ หนว่ ยงานท่ี
เกี่ยวขอ้ งกบั การคา้ ท่ีมาของรายไดแ้ ผน่ ดนิ และรายได้ประชาชาติ ระบบเงินตรา
1. หน่วยงานท่ีเก่ียวกับการคา้ และเศรษฐกิจ
1.1 พระคลงั สนิ ค้า เป็นหน่วยงานท่สี ำคญั ท่ีสดุ ท่เี กี่ยวกบั การค้าขาย ทำหน้าที่ควบคุมสินค้าขาเขา้
และขาออก ตลอดจนการเลือกซื้อสินค้าทีท่ างราชการต้องการ หรือสินค้าผูกขาด (สินค้าท่ที างราชการต้องการ
และคิดว่ามีอนั ตรายหากพ่อค้าจะทำการซือ้ ขายกันโดยตรง) ไดแ้ ก่ อาวธุ กระสนุ ปนื และควบคุมกำหนด
สนิ ค้าตอ้ งหา้ ม (คือสินคา้ ท่ีหายากและมีราคาแพง ราษฎรตอ้ งนำมาขายใหแ้ กท่ างราชการ) ไดแ้ ก่ งาช้าง รังนก
ฝาง กฤษณา พระคลงั สินคา้ เป็นหนว่ ยงานการค้าแบบผกู ขาด จึงได้ผลกำไรมาก แตเ่ ม่ือไทยมีการค้าขายกับ
ต่างชาติ โดยเฉพาะชาวตะวนั ตก พ่อค้าเหล่านน้ั ไม่ไดร้ บั ความสะดวกภายหลังหนว่ ยงานน้ีถกู ยกเลิกไปภายหลัง
การทำสนธสิ ญั ญาเบาว์ร่งิ
1.2 กรมท่า เป็นกรมท่ีทำหน้าท่ตี ิดตอ่ กบั พอ่ คา้ ตา่ งชาติ เพราะกรมน้ีมีหน้าท่ปี กครองหัวเมอื ง
ชายทะเล จึงเป็นกรมท่กี ว้างขวางและคนุ้ เคยกับชาวต่างชาติ ปัจจุบันกรมน้คี ือกระทรวงการต่างประเทศ
1.3 เจา้ ภาษนี ายอากร ในสมยั รชั กาลที่ 3 ไดเ้ ปล่ียนแปลงวธิ ีการจดั เก็บภาษีใหม่ คือรฐั บาลจะเรียก
เก็บภาษีอากรเฉพาะทสี่ ำคัญๆ เทา่ น้ัน ส่วนที่เหลือกจ็ ะประมูลใหเ้ อกชนรับเหมาผูกขาดในการดำเนนิ การเรียก
เก็บจากราษฎร ผูท้ ปี่ ระมูลได้เรยี กวา่ "เจ้าภาษีหรอื นายอากร" ซ่งึ ส่วนใหญ่จะเป็นชาวจีนเกือบท้ังหมดตามหวั
เมือง ราษฎรจะเรียกวา่ กรมการจีน
ระบบเจ้าเจา้ ภาษนี ายอากรนม้ี ีทงั้ ผลดีและผลเสยี ต่อชาตดิ ังนี้
ผลดี ชว่ ยประหยดั ในการลงทุนดำเนนิ การ ทำให้ท้องพระคลังมจี ำนวนภาษที ีแ่ น่นอนไม่ก่อใหเ้ กิด
ปญั หาในการเรียกเกบ็
ผลเสยี เจ้าภาษนี ายอากรบางคนคิดหากำไรในทางมิชอบ มีการรั่วไหลมักใช้อำนาจขม่ ขู่ราษฎรเรยี ก
เกบ็ เงนิ ตามพิกัด
2. ท่ีมาของรายได้แผ่นดนิ และรายได้ประชาชาติ
2.1 การเกษตร มคี วามสำคัญตอ่ ความเป็นอยู่ของชาวไทยตลอดเวลา มกี รมนารบั ผิดชอบ รายได้ของ
แผ่นดนิ ส่วนใหญ่รับจากภาษีอากรดา้ นการเกษตร เชน่ อากรคา่ นา อากรสมพตั สร (เก็บจากไม้ล้มลุกแต่ไม่ใช่
ข้าว) และมีการเดินสวน เดนิ นา
2.2 การคา้ ขาย การค้าจะทำโดยพระคลงั สนิ ค้าและขนุ นางชั้นผ้ใู หญ่ สินค้าท่ีมีการซื้อขายระหว่าง
พระคลงั กบั พอ่ ค้ามี 2 ประเภทคือ สนิ คา้ ผูกขาดกบั สินคา้ ต้องหา้ ม และได้มีการส่งเรือสำเภาไปค้าขายกับ
ตา่ งประเทศ สว่ นใหญเ่ ป็นของทางราชการ เช่นคา้ ขายกบั จีน อินเดียและพวกอาหรบั ในสมยั รชั กาล
ที่ 2 การค้ากับต่างประเทศขยายตัวมากขน้ึ เพราะพระเจ้าลกู ยาเธอกรมหมืน่ เจษฎาบดินทร์ (รชั กาล
ที่ 3 ต่อมา) ทรงเป็นหวั แรงสำคญั จนไดร้ ับสมญาวา่ "เจ้าสวั " และมกี ารค้าขายกับทางตะวันตก เช่น โปรตุเกส
องั กฤษ อเมรกิ า ฮอลันดา สมยั รัชกาลท่ี 3 การคา้ ขายสะดวกรวดเรว็ ซึ่งเป็นผลจากการทำสนธสิ ัญญาเบอร์นี
กับอังกฤษ
2.3 ภาษอี ากร ภาษอี ากรทีเ่ รียกเก็บ มี 4 ประเภทคอื
- จงั กอบ คือ คา่ ผ่านดา่ นทเี่ ก็บจากเรือ เกวยี น หรือเครื่องบรรทุกอนื่ ท่ีผ่านด่าน
- อากร คือ ภาษที เี่ ก็บจากราษฎรซ่งึ ประกอบอาชีพทม่ี ใิ ชก่ ารค้า ซง่ึ ปกติจะเรยี กอากรตามอาชีพที่ทำ
เช่น อากรค่านา อากรสรุ า

๓๐

- ฤชา คือ ค่าธรรมเนียมที่เกบ็ จากคา่ บริการท่ีทางราชการทำใหแ้ ก่ราษฎร เชน่ ออกโฉนด
ค่าธรรมเนยี มศาล

- สว่ ย คือ เงินหรือสิง่ ของท่ีไพรห่ ลวงผทู้ ่ีไมต่ อ้ งเข้าเวรสง่ มอบแทนการเข้าประจำการ
3. ระบบเงินตรา
- เงนิ พดดว้ ง (รูปสณั ฐานกลมเปน็ ก้อนแต่ตีปลาย 2 ขา้ งงอเข้าหากัน)
- เงินปลกี ย่อย ใช้เบ้ยี และหอยเหมือนสโุ ขทัยและอยธุ ยา
การศึกษา
ระบบการศกึ ษาในสมยั น้ียงั คงคลา้ ยสมัยกรงุ ศรอี ยุธยา คือมวี ัดและวงั เปน็ สถาบนั ทางการศึกษา ทวี่ ดั
ผทู้ ่ีจะเข้าศึกษาจะต้องบวชเป็นพระ ซงึ่ เราเรยี กว่า บวชเรียน การสอนใชพ้ ระและราชบณั ฑติ สอนวิชาสามญั
สว่ นวชิ าอื่นๆ เชน่ ชา่ งต่างๆ จะมีเรยี นกนั แตใ่ นครวั เรือนและวงศต์ ระกลู เชน่ ชา่ งทอง ชา่ งหล่อ
สำหรับหญิงมีการศึกษาจากบุคคลในครัวเรือน วชิ าท่เี รียนจะเป็นพวกเย็บปักถกั ร้อย การบ้าน การ
เรือน การเรยี นหนงั สือจะมบี ้างถา้ รกั ที่จะเรยี นแต่กไ็ มเ่ ป็นที่นิยมมากนัก เดก็ หญิงชาวพระนครบิดามารดามัก
สง่ เข้ามาอยู่ในวัง โดยอยู่ในตำหนกั เจา้ นายหรือญาติ เพ่ือเรียนรู้ขนบธรรมเนียมประเพณี มารยาท การครอง
ตน ตอ่ มาได้เรมิ่ พัฒนาระบบการศกึ ษาแบบใหมม่ ากขน้ึ เร่ิมตงั้ แต่สมัยรัชกาลที่ 3 เมือ่ เจ้าฟา้ มงกุฏ (รชั กาล
ที่ 4) ผนวชท่วี ัดบวรนิเวศ โปรดใหค้ ณะสอนศาสนาคริสต์ มชิ ชันรี มาถวายความรู้ เชน่ บาดหลวงปลั เลอร์
กวั สอนภาษาละตนิ แหม่มเฮาส์ หมอบรัดเลย์สอนภาษาองั กฤษ โดยเฉพาะหมอบรัดเลยไ์ ด้เขา้ มาสอนหนังสือ
ใหเ้ ดก็ ไทย จนี แจกยาและรักษาผ้ปู ว่ ยไข้ ได้ยำวิธกี ารปลูกฝเี พื่อป้องกันไขท้ รพษิ มาเมืองไทย และต่อมาได้ทำ
เครื่องพิมพ์มาพมิ พห์ นงั สือ ได้จัดพิมพห์ นังสือประถม ก. กา ออกจำหนา่ ย และในสมยั รัชกาลท่ี 3 นไ้ี ด้มีการ
รวบรวมความร้ตู า่ งๆ ท้งั วรรณคดี โบราณคดี และตำรายา จารกึ ไวต้ ามผนังวดั พระเชตุพน (วัดโพธ)ิ์ จนมีผู้
กลา่ ววา่ วดั โพธ์เิ ปน็ มหาวทิ ยาลยั แหง่ รชั กาลที่ 3
สภาพสงั คม
มีโครงสรา้ งคล้ายอยธุ ยาและธนบรุ ี แบ่งเป็น

- เจา้ นายช้นั สงู (กษัตริย์)
- ขุนนางและขา้ ราชการตา่ งๆ
- ไพรแ่ ละสามญั ชน
- ทาส

การศาสนา
สมยั รัชกาลท่ี 1
- โปรดให้มกี ารสงั คายนาพระไตรปิฎกแล้วจารึกลงเปน็ พระไตรปิฎกฉบับหลวง ปิดทองท้ังปกหน้าปก
หลงั และกรอบ เรียกว่า พระไตรปฎิ กฉบบั หลวงหรอื ฉบบั ทองหรอื ทองใหญ่
- สร้างและปฏิสงั ขรณ์วัด เช่น วดั พระแกว้ ปฏิสังขรวดั โพธาราม และพระราชทานนามใหม่ว่า "วดั
พระเชตุพนวมิ ลมังคลาวาส"
- อญั เชิญพระศรศี ากยมุนีจากวดั มหาธาตสุ โุ ขทัยมาประดิษฐานที่วัดสทุ ัศนว์ ราราม และอัญเชญิ พระ
พุทธสหิ ิงหจ์ ากเชยี งใหม่มาประดษิ ฐานที่พระทีน่ ่งั พทุ ธไธสวรรค์

สมัยรชั กาลที่ 2
- ปฏสิ ังขรณ์วดั แจ้งแล้วพระราชทานนามใหมว่ า่ วัดอรุณราชวราราม
-แตง่ ต้ังสมณทูตไปสบื ศาสนาทลี่ งั กา 8 รปู เมื่อคณะพระสมณทูตกลบั มา ได้นำต้นโพธิ์มา 6 ตน้
- แกไ้ ขปรบั ปรุงบทสวดมนต์

๓๑

เนื่องจากมอี หิวาตกโรคระบาดในสมยั น้ีผู้คนลม้ ตายมาก จงึ โปรดให้ตงั้ พระราชพิธีอาพาธพินาศ มีการ
ยงิ ปนื ใหญ่ขบั ไล่ความอัปมงคล อญั เชิญพระแกว้ มรกตและพระบรมสาริกธาตุออกแห่ นิมนตพ์ ระภกิ ษปุ ระพรม
นำ้ พระพทุ ธมนต์ไปตามทาง ชักชวนให้ประชาชนสวดมนตภ์ าวนาอยใู่ นบา้ น ศพผตู้ ายให้จัดการเผา

สมยั รัชกาลที่ 3
- ให้ตรวจสอบพระไตรปฎิ กทั้งจากลงั กาและมอญ แล้วใหจ้ ารกึ อยา่ งสวยงามได้รบั ยกย่องวา่ เปน็
พระไตรปิฎกที่สวยงามและถูกต้องมากทสี่ ดุ
- ให้สำรวจความประพฤตขิ องสงฆใ์ ห้อย่ใู นพระวินัย
- ต้ังธรรมยตุ นิ กิ าย โดยพระเจ้านอ้ งยาเธอเจ้าฟา้ มงกุฏ ซ่ึงผนวชอยูท่ ีว่ ัดมหาธาตุ ทรงสนใจศกึ ษา
พระไตรปฎิ ก ทรงเหน็ วา่ พระสงฆ์สมยั น้ันไมเ่ คร่งครัดพระธรรมวนิ ยั จงึ ตอ้ งทำการสงั คายนาใหม่ พระองค์ได้
ทรงพบพระภกิ ษุรามญั รูปหนึ่งชือ่ ซาย เครง่ ครัดในพระธรรมวนิ ยั มากจงึ ทรงยึดถือเปน็ แบบอย่างและปฏิบตั ิ
อย่างเคร่งครัด ข้อปฏบิ ตั ขิ องพระองคจ์ ึงผดิ ไปจากพระสงฆ์รปู อ่นื ๆ การห่มผา้ กเ็ ปน็ แบบรามญั พระองคไ์ ด้ย้าย
ท่ีประทบั มาอยูว่ ดั สมอราย (ราชาธิวาส) ทรงให้นามคณะสงฆ์ของพระองค์ว่า คณะสงฆธ์ รรมยตุ กิ นิกาย สว่ น
คณะสงฆ์เดมิ เรียกว่า คณะสงฆม์ หานิกาย

สงั คมวัฒนธรรมไทย สมยั รตั นโกสนิ ทร์ตอนต้น
สภาพสังคมไทยสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้
สภาพสงั คมไทยในสมัยรตั นโกสินทร์ตอนตน้ มีลกั ษณะโครงสรา้ งไม่แตกตา่ งจากสมยั อยุธยาและ
ธนบุรลี กั ษณะโครงสรา้ งของสังคมไทยสมัยน้ี มกี ารแบ่งชนชั้น ถงึ แม้จะไมม่ ีการแบ่งวรรณะอย่างอินเดีย แต่
ฐานะความเปน็ อยขู่ องผูค้ นก็แตกตา่ งกัน
องคป์ ระกอบของสังคมไทยแบ่งเป็น 4 ชนช้นั
1. เจา้ นาย ไดแ้ ก่ พระมหากษตั รยิ แ์ ละพระบรมวงศานุวงศ์ พระมหากษัตริย์ในสมยั รัตนโกสนิ ทร์
ตอนตน้ มลี ักษณะเปน็ ท้ังเทวราชาและธรรมราชา

2. ขุนนางและข้าราชการ

๓๒
3. ไพร่ เปน็ ชนสว่ นใหญข่ องประเทศ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก แบง่ เปน็ ไพร่หลวง และ
ไพรส่ ม

4. ทาส ชนชนั้ ตำ่ สุดในสงั คมไทย ไมม่ ีอสิ ระในการดำเนินชวี ติ ชวี ติ ข้ึนอย่กู บั นายทาส แบ่งเปน็ ทาส
เชลย ทาสในเรอื นเบีย้ ทาสสินไถ่ ทาสได้มาแตบ่ ดิ ามารดา ทาสท่ีเลีย้ งไว้เม่ือเกิดทพุ ภิกขภัย ทาสท่ีชว่ ยมา
จากทัณฑโ์ ทษ และทาสท่านให้ ทาสท่ที ำความดีความชอบต่อบ้านเมืองสามารถเล่อื นฐานะตนเองสงู ขึ้นเป็น
ขุนนางได้ ส่วนขุนนางท่ีทำผิดกส็ ามารถลดฐานะลงเปน็ ทาสไดเ้ ชน่
ศิลปวฒั นธรรมไทยสมัยรตั นโกสนิ ทรต์ อนตน้

สภาพทางสังคมของไทยต้งั แต่อดตี ได้ผูกพันกับพระพุทธศาสนามาโดยตลอด ความเจรญิ รุ่งเรืองทาง
วฒั นธรรมจึงมีส่วนสัมพันธอ์ ย่างใกล้ชิดกบั ความเจริญรุง่ เรืองทางศาสนาดว้ ย ศิลปกรรมและวรรณกรรมตา่ งๆ
ท่ีบรรจงสรา้ งด้วยความประณีตกเ็ กดิ จากแรงศรทั ธาทางศาสนาทั้งส้ิน

1. การทำนบุ ำรุงทางด้านพระพทุ ธศาสนา
ในสมยั รัชกาลท่ี 1 (พ.ศ.2325-2352) พระองค์ทรงโปรดเกลา้ ฯให้ทำการสงั คายนา

พระไตรปฏิ กทว่ี ดั มหาธาตุยุวราชรังสฤษด์ิ ใน พ.ศ.2331 โดยใช้เวลาประชุมกันประมาณ 5 เดือนและ
พระองค์ทรงประกาศเมอ่ื สถาปนากรงุ รตั นโกสนิ ทร์วา่ ....ต้ังใจจะอุปถมั ภก ยอยกพระพุทธศาสนาและมีการ
ออกกฎหมายเพอ่ื ควบคมุ พระสงฆท์ ปี่ ฏิบตั ิผิดพระธรรมวินัย

๓๓

ในสมยั รัชกาลท่ี 2 (พ.ศ.2352-2367) พระองค์โปรดเกลา้ ฯ ให้จัดงานพระราชกศุ ลอย่างใหญโ่ ตใน
วันวสิ าขบชู า เหมอื นดังทีเ่ คยทำกนั ในสมยั อยุธยา คือ ทำบุญกนั ทว่ั ไปเป็นเวลา 3 วัน สัตว์ทเ่ี คยถกู ฆ่าเป็น
อาหารนนั้ โปรดใหป้ ลอ่ ยใหห้ มดภายใน 3 วัน มใิ ห้มีการฆา่ สัตว์โดยเดด็ ขาด

ในสมยั รัชกาลท่ี 3 (พ.ศ.2367-2394) พระองคท์ รงมีพระราชศรัทธาในพระพทุ ธศาสนาอยา่ งมาก
พระองค์ทรงทำนบุ ำรงุ คณะสงฆ์ ตลอดจนทรงสร้างและปฏิสงั ขรณ์พระพุทธรปู และวัดวาอารามมากมาย ใน
สมยั นีศ้ าสนาครสิ ตน์ กิ ายโรมันคาทอลิกและนิกายโปรเตสแตนต์ไดม้ โี อกาสเผยแผ่ในประเทศไทยโดยพวก
มิชชนั นารี ทำใหค้ นไทยบางส่วนหนั ไปนบั ถอื ศาสนาคริสต์ ขณะเดยี วกนั ในวงการพระพุทธศาสนาของไทยกม็ ี
การเคล่ือนไหวทจ่ี ะปฏริ ูปขอ้ วัตรปฏบิ ตั ขิ องคณะสงฆ์ไทยให้สอดคล้องกบั คำสอนในพระไตรปฏิ ก โดยพระเจ้า
น้องยาเธอเจา้ ฟ้ามงกุฎ ซง่ึ ต่อมาขึ้นครองราชยเ์ ปน็ รชั กาลท่ี 4 ซง่ึ ทรงผนวชมาตง้ั แตส่ มยั รัชกาลท่ี 2 และได้
เสดจ็ มาเป็นเจา้ อาวาส วัดบวรนเิ วศวิหาร (พ.ศ.2370-2394) ทรงเปน็ ผูม้ บี ทบาทอย่างสำคัญในการปฏิรูป
ครัง้ น้ัน จนกระท่ังได้ทรงตง้ั นิกายใหม่ เรียกวา่ "ธรรมยุตนิ ิกาย"

2. การทำนบุ ำรงุ ศลิ ปกรรม/ขนบธรรมเนียมประเพณี
การทำนบุ ำรุงดา้ นศิลปกรรมในสมัยรชั กาลที่ 1 ทรงให้ความสนพระทยั มากน้ัน ไดแ้ ก่ บรรดาตกึ ราม
ตา่ งๆ ที่สร้างข้นึ ล้วนมีการตกแตง่ ลวดลายอยา่ งงดงามทั้งภายในและภายนอก ทั้งโดยปูนและโดยไม้แกะสลกั
ตกึ ทท่ี รงให้จัดสร้างขึน้ ส่วนมากเปน็ วัด เช่น วัดพระศรรี ตั นศาสดาราม วดั พระเชตุพนวิมลมังคลาราม (มีการ
จารกึ ตำราแพทย์แผนโบราณ ยาแกโ้ รค ตำราหมอนวด กวนี ิพนธ์ ไว้ตามเสาและผนังรายรอบบรเิ วณวดั
เพือ่ ใหป้ ระชาชนได้ศึกษา จึงถอื วา่ เป็นวทิ ยาลยั แห่งแรกในประเทศไทย) เปน็ ตน้ นอกจากนี้ก็มีพระที่น่งั ตา่ งๆ
เช่น พระท่ีนั่งอมรนิ ทรวินิจฉยั , พระที่นงั่ ไพศาลทกั ษิณ, พระทนี่ ั่งจักรพรรดิพมิ าน, พระท่ีนงั่ ดุสิตมหาปราสาท
เปน็ ต้น

รัชกาลที่ 1 ทรงสนพระทยั ทางดา้ นวรรณคดี ดังนน้ั ในสมยั นี้จงึ มบี ทวรรณคดีทส่ี ำคัญหลายเรื่อง เชน่
รามเกยี รติ์ นอกจากนี้กม็ ีการแปลวรรณกรรมตา่ งชาติมาเป็นภาษาไทย เช่น หนังสือสามก๊ก,ราชาธิราช เป็นตน้

รชั กาลที่ 2 ทรงสนพระทยั ในเรอ่ื งการกอ่ สรา้ งและตกแตง่ ตึกรามตา่ งๆ พระองค์โปรดเกล้าฯให้สรา้ ง
"สวนขวา" ขน้ึ ในพระบรมมหาราชวงั ทรงรเิ ร่มิ สร้างพระปรางคว์ ัดอรุณราชวราราม (แต่สรา้ งสำเร็จเรยี บร้อยใน
สมยั รัชกาลท่ี 3) พระปรางค์จะตกแตง่ ด้วยถ้วยและชามจีนซึง่ ทบุ ให้แตกบา้ ง แลว้ ตดิ กับฝาทำเป็นลวดลายรูป
ตา่ ง ๆ เช่น ดอกไม้ พระองค์ทรงมีพระปรีชาสามารถทางด้านการแกะสลัก ดงั จะเหน็ ได้จากประตูวดั
พระเชตพนวิมลมังคลาราม ประตวู ัดสทุ ัศนเ์ ทพวราราม เป็นต้น มีการฟนื้ ฟปู ระเพณวี ิสาขบูชาขึ้นใหม่

รชั กาลท่ี 2 โปรดการฟ้อนรำอยา่ งโบราณของไทยเปน็ อนั มาก ทัง้ โขนและละคร ทรงปรับปรุงจงั หวะ
และทา่ รำตา่ งๆ โดยพระองค์เอง พระองคโ์ ปรดใหม้ ีพระราชนพิ นธ์บทละครขน้ึ ใหม่ ทั้งที่เป็นเรื่องเดมิ และเรื่อง
ใหม่ หรอื เอาเรอ่ื งเดมิ มาแต่งข้นึ ใหม่ บทพระราชนิพนธ์ในรชั กาลท่ี 2 มที ั้งหมด 7 เร่ือง เรือ่ ง"อเิ หนา" เป็น
เรอ่ื งที่พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์เองตลอดทั้งเร่ือง สว่ นอีก 6 เรือ่ ง โปรดเกล้าฯ ใหก้ วีท่านอืน่ ๆ รว่ มงานดว้ ย
สมัยนจี้ ดั เปน็ ยุคทองของวรรณคดี มีกวคี นสำคัญและมชี อ่ื เสียง จัดเป็นกวีเอกของโลก คือ สุนทรภู่ สมัยรชั กาล
ที่ 2 จัดเป็นยคุ ทองของวรรณคดี

รชั กาลที่ 3 การผลิตงานทางด้านศลิ ปะในสมยั รชั กาลที่ 3 จดั ว่ามลี กั ษณะเยี่ยมยอดในวงการศลิ ปะ
ของไทยไม่แพใ้ นสมยั อื่น ในสมัยรัชกาลที่ 3 ทรงมุ่งซ่อมแซมและปรับปรุงปราสาทมากกวา่ จะสรา้ งใหม่ ทรง
สร้างวดั ดว้ ยพระราชทรพั ยส์ ว่ นพระองค์ขน้ึ 5 วดั จิตกรเอกที่มชี ื่อเสยี งและสรา้ งผลงานดเี ดน่ ในสมัยน้ี
ได้แก่ หลวงวิจติ รเจษฎา (ครูทองอย)ู่ และ
ครคู ง (คงแป๊ะ)

๓๔

การศกึ ษา

มลี ักษณะคลา้ ยคลึงกบั สมยั อยธุ ยาตอนปลายและธนบรุ ี ศูนยก์ ลางการศึกษาอยู่ท่ี วัด และวงั
การเรยี นหนังสือภาษาไทย

เดมิ ใช้ หนังสือ
จินดามณี เปน็ แบบเรียน ต่อมามีหมอบรัดเลย์ มิชชันนารชี าวอเมริกัน ซึ่งเข้าในสมัยรัชกาลที่ 3 ไดพ้ ิมพ์
หนงั สือ ประถม ก กา ถือว่า หมอบรัดเลย์เป็นผนู้ ำการศกึ ษาแบบใหม่ และเปน็ ผนู้ ำความเจริญด้าน
การแพทย์ โดยเฉพาะการรักษาโรคโดยการผา่ ตัด เขา้ มาในประเทศไทย และในระยะน้ียังไมม่ ีโรงเรยี น ผทู้ ่ี
ตอ้ งการเรยี นต้องไปเรียนยังสำนกั ต่างๆ เชน่ สำนักเจา้ พระยาศรีธรรมราช สำนกั พุทธโฆษาจารย์แห่งวัดพุทไธ
สวรรย์ และการเรยี นทส่ี ำคัญอีกแบบหน่ึงคือ การศึกษาวชิ าชีพตามบรรพบุรษุ เชน่ แพทย์ นกั กฎหมาย ครู
อาจารย์ ช่างถม ช่างทอง ชา่ งปั้น ชา่ งแกะสลกั โดยจะอยูก่ นั เปน็ แหล่งๆ เชน่ บา้ นหมอ้ บา้ นบาตร บ้าน
ชา่ งหลอ่ เปน็ ตน้

สำหรบั การศกึ ษาสมัยใหม่ โดยเฉพาะภาษาตา่ งประเทศ เร่ิมมีปรากฏบ้าง โดยพวกมชิ ชันนารซี ่งึ เข้า
มาสอนศาสนาเปน็ ผดู้ ำเนินการ แตจ่ ำกัดอยเู่ ฉพาะในแวดวงพระราชวงศแ์ ละขุนนางขา้ ราชการเทา่ น้ัน

ขนบธรรมเนียมประเพณี
ขนบธรรมเนียมประเพณสี มยั ตน้ รัตนโกสินทร์ยดึ ตามแบบอยุธยา ทส่ี ำคัญได้แก่

1. ขนบธรรมเนียมประเพณีเกย่ี วกับพระมหากษตั ริย์ เชน่ พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พระราชพิธี
โสกันต์ (โกนจกุ ) พระราชพธิ ีพระเมรุมาศ (การเผาพระบรมศพ) พระราชพิธีฉัตรมงคล พระราชพธิ สี มโภช
ชา้ งเผอื ก ฯลฯ

2. ขนบธรรมเนียมประเพณเี กยี่ วกบั พราหมณ์ เชน่ พธิ ีการโลช้ ิงชา้ การสรา้ งโบสถพ์ ราหมณ์ ฯลฯ
3. ขนบธรรมเนียมประเพณเี กี่ยวบ้านเมอื ง เช่น พระราชพิธีถือน้ำพิพัฒนส์ ัตยา พระราชพธิ อี าพาธ
พนิ าศ พระราชพิธีพืชมงคล ฯลฯ
4. ขนบธรรมเนยี มประเพณเี กย่ี วกับชาวบา้ น เชน่ การเลน่ เพลงสกั วา พิธกี ารทำขวัญนาค การ
แต่งงาน การเผาศพ การโกนจกุ พิธีตรุษสงกรานต์ สารทไทย ฯลฯ
5. ขนบธรรมเนยี มประเพณเี ก่ียวกับพระพุทธศาสนา เช่น พธิ ีวิสาขบชู า อาสาฬหบูชา มาฆบูชา
เข้าพรรษา ออกพรรษา การบวชนาค เทศน์มหาชาติ สมโภชพระแกว้ มรกต ฯลฯ

๓๕

สมยั รัตนโกสนิ ทรไ์ ดร้ บั การฟ้ืนฟูหลายพธิ ี เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพธิ โี สกนั ต์ พระ
ราชพิธีสมโภชชา้ งเผือก พระราชพธิ ีสมโภชพระแกว้ มรกต การเลน่ สักวา พระราชพธิ ีตรียัมปวาย(โล้ชงิ ชา้ ) พระ
ราชพธิ ีเสด็จพระราชดำเนินทอดผ้าพระกฐนิ โดยกระบวนพยหุ ยาตรา ทางสถลมารคและชลมารค พระราชพิธี
อาพาธพินาศ พระราชพธิ วี ันวิสาขบชู า ฯลฯ พระราชพธิ ดี ั้งเดิมเก่าแกข่ องไทยนีแ้ สดงใหเ้ ห็นถงึ อารยธรรมท่ี
เจริญรุ่งเรือง ความสามคั คีกลมเกลยี วของคนในชาติ รวมท้ังความมั่นคงเป็นปึกแผ่นมาช้านานของชาติไทย

ด้านวรรณกรรม

สมยั รตั นโกสนิ ทร์ตอนต้น ราชสำนกั จดั ว่าเป็นศูนยก์ ลางของวรรณกรรมและเปน็ ทีช่ มุ นุมของบรรดา
กวีทั้งหลาย ซ่ึงมที ั้งองค์พระมหากษัตรยิ ์ เจา้ นายและบุคคลธรรมดา วรรณคดที ่สี ำคัญในสมยั รชั กาลที่ 1ไดแ้ ก่
รามเกียรติ์ ราชาธิราช และสามกก๊ ในรชั กาลท่ี 2 ทรงนพิ นธ์บทละครไวห้ ลายเรื่อง แตท่ ่ีไดร้ ับการยกย่องมาก
ทส่ี ุด คอื บทละครเร่ืองอิเหนา สว่ นกวเี อกสมัยน้ี คือ สุนทรภู่ ซงึ่ มผี ลงานชน้ั เยี่ยมหลายประเภทดว้ ยกัน มที ้ัง
บทละคร เสภา นริ าศ บทเห่ และกลอน เชน่ เสภาเรอ่ื งขนุ ช้างขนุ แผน นริ าศภูเขาทอง กลอนสภุ าษติ สอนหญงิ ฯลฯ

ดา้ นศลิ ปกรรม

ศลิ ปะแขนงต่างๆ ไดร้ บั การฟ้ืนฟูอยา่ งจริงจงั จนกลับเจริญรุ่งเรืองเหมือนสมยั กรุงศรีอยธุ ยา
สถาปัตยกรรมที่สรา้ งอยา่ งประณีตงดงาม ทรงคณุ ค่าย่ิงของชาติ ได้แก่ พระราบรมมหาราชวัง วดั พระศรรี ตั น
ศาสดาราม วดั พระเชตพุ นวิมลมงั คลาราม วดั อรุณราชวราราม และวัดราชโรสาราม ซึ่งท้ัง 3 วัดหลงั นเ้ี ปน็
ประจำรชั กาลที่ 1, 2, 3 ตามลำดับ นอกจากนีแ้ ล้วช่างสบิ หมูย่ ังร่วมกันสรา้ งผลงานไวม้ ากมาย เช่น เครอ่ื ง
ราชปู โภคขององค์พระมหากษัตริย์ เครอื่ งราชกกธุ ภัณฑ์ เรือพระที่นงั่ สุพรรณหงส์ ตพู้ ระไตรปิฎกลายรดนำ้
และเครื่องถ้วยชามเบญจรงค์

จิตรกรรม

สมัยรตั นโกสนิ ทร์ตอนต้น ยังคงเลยี นแบบกรุงศรอี ยธุ ยา เช่น การวาดภาพในอาคารท่ีเป็นพระอุโบสถ
หรือพระวิหาร มักจะวาดภาพเทพชุมนุม ตงั้ แตเ่ หนือระดับหน้าต่างข้นึ ไปจนถึงเพดาน ส่วนชว่ งระหวา่ งช่อง
หน้าตา่ งจะวาดภาพพุทธประวตั ิ หรือเทศชาตชิ าดก ผนงั ด้านหลังพระประธานวาดภาพเรื่องไตรภมู ิ และผนงั
ตรงหนา้ พระประธานวาดภาพพระพุทธเจา้ ตอนมารผจญ เช่น ภาพจติ รกรรมในพระทน่ี ั่งพุทไธสวรรย์
พระราชวังบวรสถานมงคล ภาพจติ รกรรมฝาผนังด้านตะวันออกและตะวันตกในพระอุโบสถวัดพระศรรี ตั น
ศาสดาราม ฯลฯ ทง้ั สองแหง่ นี้เปน็ งานในรชั กาลที่ 1

ตอ่ มาในรัชกาลที่ 2 ไม่มีงานให้เห็นเด่นชัด เนอ่ื งจากการก่อสรา้ งทส่ี ำคญั มักจะเสรจ็ ในรชั กาล
ที่ 3 ดงั นั้นภาพจิตรกรรมท่ีประดบั อาคารน้ันๆ มักจะเปน็ ภาพจิตรกรรมในรัชกาลท่ี 3 ทั้งสนิ้ มกั จะเป็นภาพ
จติ รกรรมในรชั กาลท่ี 3 ท้งั สิ้น ถอื ได้ว่ารุ่งเรืองทีส่ ดุ ในสมัยรัตนโกสนิ ทร์ตอนตน้ และมีอิทธพิ ลของศลิ ปะจีน
เขา้ มาเก่ยี วขอ้ งด้วย เพราะการทมี่ ีการติดต่อค้าขายกับจนี ประกอบกับรัชกาลท่ี 3 ทรงนยิ มดว้ ย เห็นไดช้ ดั
จากวัดหลวงในรัชกาลนี้ อาคารจะสร้างแบบจีนเป็นสว่ นมาก จติ รกรเอกท่ีมีฝีมอื ช้ันครูมผี ลงานดีเด่นในรชั กาล
ที่ 3 คอื หลวงวิจติ รเจษฎา หรือท่เี รียกกันทว่ั ไปวา่ ครูทองอยู่ และครูคง หรือที่เรียกกันทัว่ ไปว่า คงแป๊ะ
ผลงานของท้ังสองท่านนีถ้ ือว่าเปน็ มรดกทางจติ รกรรมท่ลี ำ้ ค่าอย่างยง่ิ ภาพจิตรกรรมที่สำคญั ในรชั กาล
ที่ 3 ได้แก่ ภาพจิตกรรมท่พี ระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม วัดพระศรีรตั นศาสดาราม วดั อรุณราชวราราม วัดบางย่ี
ขนั เปน็ ตน้ นาฏศลิ ป์และดนตรีไทยเจรญิ ที่สดุ ในสมยั รชั กาลที่ 2 เพราะพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้
นภาลัยทรงเปน็ กวี เป็นศลิ ปนิ และทรงสนพระทัยงานด้านนี้เปน็ พิเศษ การเล่นโขนในรัชกาลนไ้ี ด้ใช้เปน็ แบบ
แผนของชาตสิ ืบต่อมา

๓๖

รตั นโกสนิ ทร์สมัยปฏริ ูปประเทศ
วิกฤตการณ์ทางการเมืองและการลา่ อาณานิคมของชาวตะวันตก
นโยบายของไทยที่มีต่อการล่าอาณานิคม
การดำเนนิ วิเทโศบายของรัชกาลที่ 4 และ 5 ในยคุ ล่าอาณานคิ มของชาวตะวนั ตกพระองค์ทรง
ตะหนักถงึ ความเป็นมหาอำนาจของชาตติ ะวันตก การต่อต้านโดยใช้กำลงั จึงเปน็ ไปไม่ได้ จงึ ตอ้ ง
ใช้วธิ ีการอ่นื แทน ซ่ึงพอสรปุ ได้ 3 ประการ ไดแ้ ก่
1. การผอ่ นหนกั เป็นเบา
2. การปฏริ ูปบ้านเมืองให้ทนั สมยั
3.การผูกมติ รกับประเทศมหาอำนาจในยุโรป
การผอ่ นหนกั เป็นเบา
1. ยอมทำสนธสิ ญั ญาเสียเปรยี บ คือ สนธสิ ญั ญาเบาริง ทำกับประเทศอังกฤษในสมัย
รชั กาลที่ 4 แม้จะทรงทราบดีวา่ เสยี เปรยี บ แต่กพ็ ยายามให้เสียเปรยี บให้นอ้ ยท่ีสุด

2. การยอมเสียดนิ แดน รชั กาลที่ 4 และรัชกาลท่ี 5 ทรงทราบดถี งึ วิธกี ารเข้าครอบครองดนิ แดนไว้
เปน็ อาณานิคมของชาวตะวันตก เชน่ ข้นั แรกจะเนน้ เข้ามาค้าขายหรือเผยแพร่ศาสนาก่อนแลว้ ภายหลังก็จะ
อา้ งถึงข้อขัดแย้ง หรอื ขอสิทธิพเิ ศษ (เชน่ ขอเช่าเมือง,แทรกแซงกจิ การ ภายในประเทศ) ขน้ั ตอ่ ไปก็จะส่งกำลัง
ทหารเขา้ ยดึ อ้างวา่ เพ่ือคุ้มครองคนของตนให้ปลอดภัยหรือเพือ่ เป็นหลักประกนั ให้ปฏบิ ัติตามสัญญา ข้นั
สดุ ท้ายก็ใชก้ ำลังเข้ายดึ เพอื่ เอาเป็นดินแดนอาณานิคม โดยอ้างข้อพพิ าทต่างๆ (กรณีอังกฤษยึดพม่า) ดว้ ยพระ
ปรชี าสามารถในการหยั่งรูค้ วามคิดน้ี ทำให้พระองค์สามารถประคับ ประครองให้ชาตไิ ทยพ้นจากการถูกยดึ
ครองของชาวตะวนั ตก ซงึ่ เป็นประเทศเดียวในภมู ิภาคเอเชียตะวันออกเฉยี งใต้ โดยการเสยี สละดินแดนส่วน
น้อยเพื่อรักษาดนิ แดนส่วนใหญ่ของชาติเอาไว้ (ถือเปน็ มาตรการสดุ ทา้ ยที่จะทำเพอ่ื รักษาเอกราชเอาไว้)
นโยบายผ่อนหนกั เปน็ เบา

1. สนธิสญั ญาเบารงิ
ข้อเสยี เปรียบอยา่ งย่ิงของไทยจากสนธิสัญญาเบาริง
สนธสิ ัญญาเบารงิ เปน็ สนธสิ ัญญาที่ไทยเสียเปรยี บในทุกๆ ด้าน ในบรรดาความเสยี เปรียบเหลา่ นนั้ มคี วาม
เสยี เปรียบทีย่ ่งิ ใหญ่ 2 ประการ

1. ทำใหไ้ ทยต้องเสียสทิ ธิสภาพนอกอาณาเขตใหแ้ กค่ นอังกฤษและคนในบงั คับองั กฤษ
สทิ ธิสภาพนอกอาณาเขต คือ สิทธิท่ไี ม่ต้องข้นึ ศาลไทย เม่ือคนองั กฤษหรือคนในบังคับอังกฤษ

๓๗

(ประเทศอาณานคิ มขององั กฤษ) หรือคนชาติใดๆ ที่ขอจดทะเบยี นเปน็ คนในบังคับอังกฤษ ทำความผดิ หรือมี
คดีกับคนไทย ในประเทศไทย ใหไ้ ปข้นึ ศาลกงสลุ องั กฤษ โดยอา้ งว่า กฎหมายของไทยปา่ เถ่ือนและลา้ หลงั

2. ทำให้อังกฤษเป็นชาตอิ ภิสิทธิ์ คือ องั กฤษเป็นชาติท่ีมสี ิทธพิ เิ ศษ ไมว่ ่าไทยจะทำสญั ญากับ
ประเทศอนื่ ใด ภายหลังการทำสนธิสญั ญาเบารงิ กใ็ ห้ถือว่าองั กฤษมีสิทธิเช่นเดียวกับชาตนิ น้ั ๆ โดยอตั โนมตั ิ

2. การยอมเสียดินแดน การเสียดินแดนของไทยเปน็ การเสยี ใหแ้ กช่ าติตะวนั ตกเพียง 2 ชาติ คอื
ฝรัง่ เศสและอังกฤษ รวมทงั้ ส้ิน 6 ครง้ั ส่วนใหญเ่ ปน็ การเสยี ใหแ้ ก่ฝร่งั เศส ครั้งแรกเสยี ไปในตอนปลายรชั สมยั
ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว รัชกาลท่ี 4 หลงั จากนน้ั เป็นการเสยี ดินแดนในรชั สมัยของ
พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั รัชกาลท่ี 5 ทง้ั ส้ินการเสยี ดนิ แดนเป็นมาตรการข้นั สดุ ทา้ ย

ในการรักษาเอกราชของชาติ การทพ่ี ระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี 5 ทรงเรง่ ปรบั ปรุง
ชาตบิ า้ นเมืองให้เจริญทดั เทียมนานาอารยประเทศและการเสดจ็ ประพาสยุโรปเพ่ือผูกมิตรกบั ชาตมิ หาอำนาจ
ในยุโรปถึง 2 ครัง้ ของพระองค์ เปน็ เคร่ืองยืนยนั พระราชวริ ยิ ะอุตสาหะของพระองค์ทจี่ ะรักษาเอกราชของชาติ
ไว้ ทกุ ครั้งทท่ี รงยนิ ยอมเสยี ดินแดนไปน้นั ลว้ นแลว้ แตเ่ ป็นกรณที ไี่ มอ่ าจหลีกเลี่ยงได้ทั้งสน้ิ

พัฒนาการด้านการเมอื งการปกครองในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ ยคุ ปฏริ ปู บา้ นเมอื งรัชกาลท่ี 4
พฒั นาการด้านการเมืองการปกครองสมัยรัชกาลที่ 4
สาเหตุการปรับปรุงการปกครองสมัยรชั กาลท่ี 4

1. ทรงได้รบั แนวคิดจากชาวตะวันตก ซึ่งพระองค์ไดส้ มั ผัสและทรงคุ้นเคยตั้งแต่คร้ังยงั ผนวชอยู่
2. เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเจริญกา้ วหนา้ และเปน็ พ้ืนฐานทีจ่ ะได้มกี ารเปลี่ยนแปลงในโอกาสต่อไป เพอื่ รักษา
เอกราชของประเทศชาติให้พื้นจากการครอบครองของประเทศตะวันตก ท่กี ำลังขยายอทิ ธพิ ลเขา้ มาในประเทศ
ไทยในขณะนนั้

การปรบั ปรุงการปกครองในสมัยรชั กาลท่ี 4
1. ออกประกาศต่างๆ เรยี กว่า ประกาศรัชกาลที่ 4 เพื่อให้ประชาชนได้รบั ขา่ วสาร ระเบยี บแบบ

แผนการปฏิบตั ิของผคู้ นในสังคมอยา่ งถูกตอ้ ง
2. ปรบั ปรงุ กฎหมาย ทรงตราพระราชกำหนดกฎหมายใหม่ และออกประกาศขอ้ บงั คบั ต่างๆ

ถือวา่ เป็นกฎหมายเช่นเดียวกันรวมท้ังหมดประมาณ 500 ฉบับ
3. โปรดให้จัดตั้งโรงพิมพ์หลวงขึน้ ในพระบรมหาราชวัง มีชอ่ื เรียกว่า “โรงอักษรพิมพการ”

เพ่ือใช้พิมพ์ประกาศและกฎหมายต่างๆ เปน็ หนงั สือแถลงขา่ วของทางราชการ เรยี กว่า ราชกจิ จานุเบกษา
4. ใหร้ าษฎรมีโอกาสได้ถวายฎีการ้องทุกข์ไดส้ ะดวก พระองค์ทรงเปล่ยี นแปลงระเบยี บวิธีการรอ้ ง

ทกุ ข์ โดยพระองคจ์ ะเสดจ็ ออกมารบั ฎกี าร้องทุกขด์ ้วยพระองค์เองทุกวันโกณ ณ พระที่นั่งสุทไธสวรรย์
เดือนละ 4 ครั้ง และโปรดเกลา้ ฯใหต้ ุลาการ ชำระความให้เสรจ็ โดยเรว็ ทำใหร้ าษฎรไดร้ บั ความยตุ ธิ รรม
มากขึน้ กวา่ แต่ก่อน

5. ทรงประกาศใหเ้ จ้านายและข้าราชการทำการเลือกตั้งตำแหน่ง พระมหาราชครูปุโรหติ าจารย์
และตำแหน่งพระมหาราชครูมหธิ ร อนั เปน็ ตำแหนง่ ที่วา่ งลง แทนทีพ่ ระองคจ์ ะทรงแต่งต้ังดว้ ยพระราช
อำนาจของพระองค์เอง นบั เปน็ ก้าวใหมข่ องการเลือกต้งั ข้าราชการบางตำแหน่ง

6. การปรบั ปรุงระบบการศาล ทรงเปลี่ยนแปลงประเพณีบางอยา่ งเกย่ี วกบั ระบบ การศาล ได้แก่
ทรงยกเลกิ การพิจารณาคดีแบบจารีตนครบาล เร่มิ มีการจัดตงั้ ศาลกงสุลเป็นคร้ังแรก

7. ทรงเปลย่ี นแปลงพระราชพิธีการถือน้ำพระพิพัฒนส์ ตั ยา โดยพระองคท์ รงเสวย
น้ำพระพิพฒั นส์ ัตยาร่วมกบั ขุนนางขา้ ราชการ และทรงปฏิญาณนความซ่ือสัตยข์ อง พระองค์ต่อข้าราชการทัง้
ปวงด้วย ซง่ึ แตเ่ ดิม ขนุ นางขา้ ราชการจะเปน็ ผู้ ถวาย สัตย์ปฏญิ าณแตเ่ พียงฝ่ายเดียว นับว่าพระองคท์ รงมี

๓๘

ความคิดที่ทันสมยั มาก
8. ทรงริเร่มิ การจัดกองทหารแบบตะวันตก

พฒั นาการด้านการเมอื งการปกครองในสมัยรัตนโกสินทร์ ยคุ ปฏิรูปบา้ นเมืองรัชกาลท่ี 5
สาเหตุสำคญั ในการปฏริ ปู การปกครองในสมัยรชั กาลท่ี 5

1. ปรับปรงุ ประเทศใหเ้ จริญก้าวหนา้ เพื่อป้องกนั การคกุ คามของประเทศมหาอำนาจตะวันตก
2. การปกครองแบบเก่า อำนาจการปกครองบ้านเมืองตกอยู่กับขนุ นาง ถา้ ปฏริ ปู การ
ปกครองใหม่ จะทำให้สถาบันพระมหากษัตริยม์ ีพระราชอำนาจอย่างแท้จริง
การปรบั ปรงุ ระเบียบบริหารราชการแผน่ ดิน
รัชกาลที่ 5 ทรงจดั ตั้งสภาท่ปี รกึ ษาเพ่ือช่วยในการบริหารราชการแผน่ ดนิ ดังน้ี
1. การจดั ต้งั สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน (Council of State) สมาชิกสภาประกอบด้วย
ข้าราชการท่มี ีบรรดาศักด์ิชน้ั พระยาจำนวน 12 คน ท่ีพระมหากษตั รยิ ์ทรงแต่งตง้ั มีหน้าท่ี ถวายคำปรกึ ษา
ในเรือ่ งเกี่ยวกบั ราชการแผ่นดินโดยทัว่ ไป พจิ ารณารา่ งกฎหมายต่างๆ
2. องคมนตรีสภา (สภาท่ีปรึกษาส่วนพระองค์) (Privy Council) สมาชกิ ประกอบดว้ ยพระบรม
วงศานุวงศแ์ ละข้าราชการระดับต่างๆ จำนวน 49 คน ทำหน้าที่ ถวาย คำปรึกษาข้อราชการและเสนอความ
คิดเหน็ ตา่ งๆ และมหี นา้ ท่ีช่วยปฏบิ ตั ิราชการตามแต่จะมีพระบรมราชโองการ ปจั จบุ นั คือ คณะองคมนตรี
ตอ่ มาภายหลัง 2 สภา ถกู ยกเลกิ ไปเพราะขนุ นางไม่พอใจ คิดวา่ กษัตริยจ์ ะล้มลา้ งระบบขุนนาง จงึ เกิดการ
ต่อตา้ น
การปฏิรูปการปกครองส่วนกลางของรชั กาลที่ 5
มีการปฏิรูปการปกครองสว่ นกลางโดยยกเลิก จตุสดมภ์ และใช้การบรหิ ารงานแบบกระทรวง
ตามแบบอย่างของตะวนั ตก โดยจดั รวมกรมตา่ งๆ ท่ีมีลกั ษณะงาน คลา้ ยๆ กันมาเป็นกรมขนาดใหญ่ 12 กรม
ต่อมา เปลี่ยนเป็น กระทรวง อยใู่ นความดูแลของเสนาบดี มี 12 กระทรวง
1. กระทรวงมหาดไทย มีหน้าทีบ่ ังคบั บญั ชาหัวเมืองฝ่ายเหนือรวมทง้ั เมืองประเทศราชทางเหนือ
2. กระทรวงกลาโหม มีหน้าทบี่ ังคบั บญั ชาหวั เมืองฝ่ายใต้รวมทง้ั เมืองประเทศราชทางใต้
3. กระทรวงการต่างประเทศ มีหน้าทีจ่ ัดการเก่ยี วกบั เรอ่ื งการต่างประเทศ
4. กระทรวงวัง มีหน้าทจี่ ดั การเกี่ยวกบั เร่ืองในราชสำนักและพระราชพธิ ตี ่างๆ ตลอดจนพจิ ารณาคดี
แทนพระมหากษัตรยิ ์
5. กระทรวงเมอื ง มีหนา้ ที่จัดการเกีย่ วกบั ความปลอดภัยในพระนคร ดูแลรักษาบัญชคี นดแู ล
เกี่ยวกับคุก ดูแลกจิ การตำรวจ (ภายหลงั เปล่ยี นเป็นกระทรวงนครบาล)
6. กระทรวงเกษตราธกิ าร มีหนา้ ท่ี จัดการเร่ืองการเพาะปลกู การปา่ ไม้ เหมืองแร่
การคา้ ขาย และการขุดคลอง รวมทั้งโฉนดทีด่ นิ ท่เี รม่ิ มีขึน้ ต้ังแตร่ ชั กาลที่ 5 น่เี อง
7. กระทรวงพระคลงั มหาสมบตั ิ มีหนา้ ทจ่ี ัดการเกย่ี วกับเรื่องภาษีอากร รายรบั -รายจ่ายของ
แผ่นดิน ตลอดจนรกั ษาทรัพย์สมบตั ิของแผน่ ดิน
8. กระทรวงยุทธนาธกิ าร มีหนา้ ท่ดี แู ลจดั การเรื่องการทหาร ทง้ั ทหารบก และทหารเรือ
9. กระทรวงธรรมการ มหี น้าท่จี ัดการเก่ียวกบั การศาสนา การศึกษา การพยาบาลและพพิ ธิ ภณั ฑ์
10. กระทรวงโยธาธกิ าร มีหนา้ ทจ่ี ัดการเร่ืองการก่อสร้างตา่ งๆ ตลอดจนการไปรษณียโ์ ทรเลขและการ
รถไฟ

11. กระทรวงยตุ ธิ รรม มหี น้าทีใ่ นการพจิ ารณาพิพากษาคดี โดยรวมการพิจารณาพิพากษาคดี

๓๙

ที่กระจายอยตู่ ามกระทรวงต่างๆเขา้ ด้วยกนั
12. กระทรวงมุรธาธกิ าร มหี น้าท่ดี แู ลรักษาพระราชลัญจกร ตลอดจนพระราชกำหนดกฎหมายและ

หนังสอื ราชการต่างๆ เกย่ี วกับพระมหากษัตริย์ ต่อมาได้ยุบกระทรวงยุทธนาธิการไปรวมกบั กระทรวงกลาโหม
และยบุ กระทรวงมรุ ธาธิการไปรวมกบั กระทรวงวัง เพื่อความเหมาะสมและรดั กมุ มากยง่ิ ข้ึนและให้
กระทรวงกลาโหมทำหนา้ ที่เก่ียวกบั การทหารท่วั ประเทศอย่างเดียว
สมเดจ็ พระเจ้าบรมวงศเ์ ธอกรมพระยาดำรงราชานภุ าพ ดำรงตำแหนง่ เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย
ยาวนานมาก (23 ปี) มบี ทบาทสำคัญในการวางรากฐานการบรหิ ารงานในกระทรวงมหาดไทยมีความรู้
ทางด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีมีผลงานด้านการปกครองทส่ี ำคัญคือการจดั ตั้งมณฑล 18 มณฑล
จงั หวัด 71 จังหวัด อันเป็นรากฐานสำคัญในการปกครองและบรหิ ารทอ้ งท่ใี นปัจจุบนั จนไดร้ บั การยกย่องวา่
เป็น “พระบิดาแหง่ ประวัติศาสตร์ไทย”

การปฏิรปู การปกครองส่วนภูมิภาคของรชั กาลที่ 5
1. ยกเลิกหัวเมอื ง เอก โท ตรี จัตวา และยกเลกิ หวั เมืองประเทศราช จดั การปกครองแบบมณฑล

เทศาภบิ าล แบ่งเขตการปกครองเป็นมณฑลเมือง อำเภอ ตำบล และหมู่บา้ น ข้นึ ตรงต่อกระทรวงมหาดไทย
เปน็ การรวมอำนาจตามหวั เมืองเขา้ สู่ราชธานี

1.1 มณฑล มีข้าหลวงเทศาภิบาล เป็นผดู้ แู ล แตล่ ะมณฑลแบ่งออกเปน็ เมอื ง
1.2 เมอื ง มีผู้ว่าราชการเปน็ ผดู้ แู ล แต่ละเมืองแบง่ ออกเป็นอำเภอ
1.3 อำเภอ มีนายอำเภอเป็นผ้ดู แู ล แต่ละอำเภอแบ่งออกเปน็ ตำบล
1.4 ตำบล มีกำนันเป็นผดู้ ูแล แตล่ ะตำบลแบง่ ออกเปน็ หมู่บา้ น
1.5 หมบู่ ้าน มผี ใู้ หญ่บา้ นเป็นผู้ดแู ล

การปฏิรปู การปกครองส่วนท้องถิน่ ของรัชกาลท่ี 5
1. ทรงริเรมิ่ ใหส้ ิทธแิ ก่ราษฎรในการเลือกผู้ปกครองตนเองเป็นครัง้ แรก โปรดเกล้าฯใหม้ ีการทดลอง

เลือกตง้ั “ผู้ใหญ่บา้ น”ทีบ่ างปะอนิ จงั หวดั พระนครศรีอยุธยา แทนการแต่งตงั้ โดยเจ้าเมอื ง ต่อมาใน พ.ศ.
2440 ทรงออกพระราชบญั ญตั ิการปกครองทอ้ งที่ ร.ศ.116 กำหนดการเลอื กตัง้ ผ้ใู หญ่บา้ น กำนนั โดย
อาศัยเสียงข้างมากของราษฎร

2. โปรดเกล้าฯ ให้จัดต้ังสขุ าภบิ าลกรงุ เทพฯ เป็นครั้งแรก และสุขาภิบาลหวั เมอื งแหง่ แรก ทตี่ ำบล
ท่าฉลอม จังหวดั สมุทรสาคร โดยมคี ณะกรรมการประกอบดว้ ย กำนนั ผู้ใหญบ่ า้ น ทำหน้าทบ่ี ริหารงาน
สขุ าภบิ าล มีรายได้จากภาษีโรงเรอื นในท้องถิ่น
ผลของการปฏริ ปู การปกครองของรัชกาลท่ี 5

1. กอ่ ใหเ้ กดิ ความเปน็ อันหนึ่งอันเดยี วกันภายในราชอาณาจักร ซ่งึ เปน็ ผลสบื เน่ือง มาจากการ
ปกครองสว่ นภมู ิภาคในรูปมณฑลเทศาภิบาล โดยมีศนู ยร์ วมอยู่ท่กี รุงเทพมหานคร

2. รัฐบาลไทยทีก่ รงุ เทพฯ สามารถขยายอำนาจเข้าควบคุมพ้ืนท่ภี ายในราชอาณาจักรไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธิภาพมากย่ิงข้นึ กอ่ ใหเ้ กิดความเปน็ เอกภาพทางการเมอื ง ซงึ่ เปน็ ปจั จยั สำคัญในการหยดุ ย้ังการคกุ คาม
จากประเทศมหาอำนาจตะวนั ตก ต่อประเทศไทย

3. ทำใหก้ ลุ่มผ้เู สยี ผลประโยชนจ์ ากการปฏิรูปการปกครอง พากนั ก่อปฏิกริ ยิ าตอ่ รัฐบาลท่กี รงุ เทพฯ
ดังจะเห็นได้จากกรณีกบฏผูม้ ีบุญภาคอีสาน ร.ศ.121 กบฏเงีย้ วเมืองแพร่ ร.ศ.121 กบฏแขกเจ็ดหวั เมือง
ร.ศ.121 แตร่ ฐั บาลกส็ ามารถควบคมุ สถานการณ์ไว้ได้

พฒั นาการด้านการเมอื งการปกครองในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ ยุคปฏริ ูปบ้านเมืองรัชกาลท่ี 6

๔๐

การปฏริ ูปการปกครองสมยั รัชกาลท่ี 6
1. การจัดตั้ง ดุสติ ธานี เพื่อทดลองการปกครองแบบประชาธปิ ไตย โดยโปรดฯใหส้ รา้ งนครจำลอง

ข้ึน พระราชทานนามว่า ดุสิตธานี เดิมต้งั อยู่ที่พระราชวงั ดุสิต ต่อมาย้ายไปอยู่ทพ่ี ระราชวังพญาไท (บริเวณ
โรงพยาบาลพระมงกฎุ เกล้าฯในปัจจุบัน) ภายในดุสิตธานมี ีส่งิ สมมตุ ิ หรอื แบบจำลองต่างๆ เชน่ ท่ที ำการ
รัฐบาล วดั วาอาราม อาคารบ้านเรอื น ถนน สาธารณูปโภค สถานท่ีราชการ ฯลฯ โปรดฯ ใหม้ ีการบริหารงาน
ในดสุ ิตธานี โดยวิธกี ารเลือกตั้งตามแบบประชาธปิ ไตย มีการเลือกต้ังในระบบพรรคการเมืองพรรคการเมอื งที่
ไดร้ ับเสียงขา้ งมาก เปน็ ผจู้ ัดตั้งคณะผ้บู ริหารดสุ ิตธานี เรียกวา่ นคราภิบาล ลกั ษณะการบริหารงานในดุสิตธานี
เป็นการจำลองการบริหารงานแบบเทศบาล ของประเทศตะวนั ตก
การปรับปรุงการปกครองส่วนกลางของรชั กาล 6

1. โปรดใหจ้ ดั ตง้ั กระทรวงใหม่ คอื กระทรวงมุรธาธกิ าร (ซึ่งรชั กาลท่ี 5 ทรงยกเลกิ ไป) กระทรวง
ทหารเรือ กระทรวงพาณชิ ย์

2. ทรงยกเลิกกระทรวงนครบาล รวมเข้ากับกระทรวงมหาดไทย
3. ทรงให้เปลยี่ นช่อื กระทรวงโยธาธกิ าร เป็นกระทรวงคมนาคม
การปรบั ปรุงการปกครองส่วนภูมภิ าคของรัชกาลท่ี 6
1. ปรบั ปรุงเขตการปกครองของมณฑล บางมณฑล
2. โปรดฯให้รวมมณฑลทอี่ ยู่ตดิ กันหลายๆ มณฑล รวมกันเป็น ภาค แตล่ ะภาคมีอุปราชเปน็
ผบู้ งั คบั บญั ชา ทำหนา้ ทตี่ รวจตราควบคมุ ดแู ลการบรหิ ารงานของสมุหทศาภิบาลมณฑลในภาคน้นั ๆ
3. เปลีย่ นคำวา่ เมือง เป็น จงั หวัด

การขยายกิจการทหารของรัชกาลท่ี 6
1. ทรงจัดต้ังกระทรวงทหารเรอื กองบนิ และสร้างสนามบินขึ้นเปน็ คร้งั แรกในสมัยรัชกาลท่ี 6 ไดม้ ี

เหตุการณ์ ร.ศ.130 ในปีพ.ศ.2445 ไดม้ ีนายทหารและพลเรอื นกลุ่มหนง่ึ ไดเ้ ตรียมการยึดอำนาจเพอ่ื
เปล่ยี นแปลงการปกครองมาสู่ระบอบประชาธปิ ไตย แตร่ ัฐบาลไดล้ ่วงร้กู ่อนได้จับกุมกลุม่ กบฏ ร.ศ.130 จำคกุ
และไดร้ ับการลดโทษและอภัยโทษภายหลัง

พัฒนาการดา้ นการเมอื งการปกครองในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ ยุคปฏริ ปู บา้ นเมอื งรัชกาลท่ี 7
พัฒนาการด้านการเมืองการปกครองสมัยรัชกาลท่ี 7

1. ทรงแต่งต้ังอภริ ฐั มนตรีสภา เพ่อื เปน็ ที่ปรึกษาราชการแผน่ ดนิ มีสมาชกิ ประกอบดว้ ย พระบรม
วงศานุวงศ์ชน้ั สงู 5 พระองค์

2. ทรงแตง่ ต้ังองคมนตรีสภา มีหนา้ ทพี่ จิ ารณาถวายความคิดเห็นเก่ยี วกับร่างกฎหมายที่ออกใหมแ่ ละ
การบรหิ ารราชการดา้ นต่างๆ

3. ทรงแตง่ ต้งั เสนาบดสี ภา มหี น้าทใ่ี นการถวายคำปรึกษาแด่พระมหากษัตรยิ ์ หรือปฏิบัตหิ นา้ ที่
ตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายงานในหน้าทขี่ องกระทรวง สมาชกิ เสนาบดีสภา ประกอบดว้ ย เสนาบดบี งั คับบัญชา
กระทรวงต่างๆ
การปรับปรงุ การบริหารราชการสว่ นกลาง

การเกดิ สงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ.2475-2461) ทำให้เศรษฐกิจตกต่ำท่วั โลก ประเทศไทยได้รบั
ผลกระทบอย่างมาก รฐั บาลจึงมีนโยบายลดหน่วยราชการ จึงรวมกระทรวงคมนาคมกบั กระทรวงพาณิชย์ เขา้
ดว้ ยกนั เรียกช่อื ว่า กระทรวงพาณิชย์และการคมนาคม
การปรบั ปรุงการบรหิ ารส่วนภมู ิภาค

1. ยกเลกิ มณฑลบางมณฑลท่ตี ้งั ขึน้ ในสมยั รัชกาลท่ี 6 โดยรวมมณฑลหลายมณฑลเขา้ ดว้ ยกัน
2. ยบุ เลิกจงั หวัดบางจังหวัด

๔๑

การเปล่ียนแปลงการปกครอง
1. เปล่ียนจากระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชย์ (พระมหากษัตริย์มีอำนาจสงู สุดในแผน่ ดิน) มาเปน็

ระบอบประชาธิปไตย (ประชาชนเปน็ ผู้มอี ำนาจสงู สดุ ในแผ่นดนิ ทกุ คนเท่าเทียมกัน)
2. ผู้ดำเนนิ การเปลี่ยนแปลงการปกครอง คือ คณะราษฎร ประกอบดว้ ยทหารบก ทหารเรือและพล

เรอื น นำโดย พันเอกพระยาพหลพลพยหุ เสนา หัวหน้าฝา่ ยทหาร คอื จอมพลแปลก(ป) พบิ ูลสงคราม หวั หนา้
ฝา่ ยพลเรือน คือ นายปรดี ี พนมยงค์ (หลวงประดิษฐ์ มนธู รรม)เขา้ ทำการยดึ อำนาจและส่งผู้แทน
เขา้ เฝา้ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจ้าอยูห่ ัว รัชกาลที่ 7 ซง่ึ พระองคก์ ็ทรงยอมรบั ข้อเสนอของคณะราษฎร
และพระราชทานรัฐธรรมนญู ฉบบั ถาวร เม่ือวันที่ 10 ธนั วาคม พ.ศ.2475 ซึง่ ประเทศไทยถอื วนั นข้ี องทกุ ปี
เป็นวนั รัฐธรรมนูญ

3. วนั ท่ีเปลีย่ นแปลงการปกครอง คือ วนั ท่ี 24 มิถุนายน พ.ศ.2475
4. พระมหากษัตริยอ์ งคแ์ รกของการปกครองแบบประชาธิปไตย และอยู่ภายใตร้ ัฐธรรมนญู คือ
รัชกาลท่ี 7
5. นายกรัฐมนตรคี นแรกของไทย คือ พระยามโนปกรณ์นิติธาดา

การปฏิรูปกฎหมายและการศาลไทยรชั กาลท่ี 4-7

การปฏริ ูปกฎหมายและการศาลของรชั กาลที่ 5 ในสมยั รชั กาลที่ 4 เป็นระยะเวลาทชี่ าวตะวนั ตกเขา้ มามี
อทิ ธพิ ลในประเทศไทย แม้จะมีการออกประกาศและตรากฎหมายต่างๆ ขึ้นมาใชบ้ ังคบั ราษฎร แตย่ งั มี
กฎหมายวิธพี ิจารณาคดี ที่เรียกวา่ จารีตนครบาล คือ การพิจารณาคดีท่ีถือวา่ ผู้ใดถกู กลา่ วหา ผู้นนั้ ตอ้ งหา
พยานหลกั ฐานมาแสดงใหเ้ ห็นได้วา่ ตนบรสิ ุทธิ์ และมีการทำทารุณกรรม เพื่อใหผ้ ตู้ ้องหารบั สารภาพวา่ ทำผดิ
เช่น การตอกเล็บ บีบขมบั จนกว่าจะรบั สารภาพ ซ่ึงชาวตะวนั ตกเห็นวา่ เป็นการกระทำท่ีปา่ เถ่ือน
ไรอ้ ารยธรรม จึงไมย่ อมใหใ้ ช้กับคนในบังคับของตนเปน็ เหตุให้ไทยต้องเสยี สิทธสิ ภาพนอกอาณาเขต (สิทธิ
ทางการศาล) โดยไทยต้องยอมให้ต่างประเทศตัง้ ศาลกงสลุ ชำระคดีความทค่ี นของตนและคนในบังคับตน
ทำความผดิ ในประเทศไทย ซ่ึงเทา่ กบั ทำใหไ้ ทยเสยี เอกราชทางการศาล

รชั กาลท่ี 5 จึงทรงพยายามดำเนินการแก้ไขปัญหาตา่ งๆ ข้นึ ได้แก่
1. จัดตง้ั กระทรวงยุติธรรม พ.ศ.2434
2. จัดตง้ั โรงเรยี นสอนกฎหมาย (ภายหลงั ได้รบั การยกฐานะเป็นมหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร)์ โดย พระ
เจ้าบรมวงศเ์ ธอกรมหลวงราชบรุ ี ดเิ รกฤทธิ์ หรอื พระนามเดิมคือ พระองคเ์ จ้ารพพี ฒั นศักดิ์ โอรสของ
รัชกาลที่ 5 หลังจากสำเร็จวิชากฎหมายจาก มหาวิทยาลยั ออกฟอรด์ ประเทศองั กฤษ ก็กลับมารบั ราชการเปน็
เสนาบดีกระทรวงยุติธรรม และดำเนินการจดั ต้งั โรงเรียนสอนกฎหมายขนึ้ และทรงดำเนินการสอนเอง
ภายหลังได้รับการยกย่อง วา่ เป็น พระบดิ าแหง่ กฎหมายและการศาลไทย 3.ตัง้ คณะกรรมการตรวจชำระและ
ร่างกฎหมายลักษณะอาญา ประกาศใชใ้ นพ.ศ.2451 จดั เป็นกฎหมายแบบใหมแ่ ละทันสมัยทสี่ ุดฉบบั แรกของ
ไทย
4. ยกเลกิ กฎหมายตราสามดวง และประกาศใช้กฎหมายอีกหลายฉบบั เช่น พระราชบัญญตั ิ
ปกครองท้องท่ี ร.ศ.116 พระราชบญั ญัติกรรมสิทธ์ผิ ูแ้ ต่งหนังสือร.ศ.120 กฎหมายว่าด้วยการเลิกทาส
พ.ศ.2448ฯลฯ
5. มีการปฏริ ปู ภาษากฎหมายไทยให้รดั กมุ และชดั เจนและเหมาะสมยง่ิ ข้นึ
6. ปรับปรงุ รวบรวมปรบั ปรงุ ศาล เพ่ือใหท้ ำหน้าทไี่ ดด้ ียิ่งขึ้น ตราพระธรรมนูญศาล ยุติธรรม พ.ศ.
2451 ใหม้ ีศาลฎกี า ศาลสถิตยุตธิ รรมกรุงเทพฯ และศาลหวั เมือง

๔๒

7. ในพ.ศ.2455 มีการจัดระบบศาลใหม่ ให้มีศาลในกระทรวงยุตธิ รรม 2 แผนก คอื
1. ศาลยตุ ิธรรมกรุงเทพฯ ได้แก่ ศาลฎกี า ศาลอทุ ธรณ์ ศาลพระราชอาญา ศาลแพง่

ศาลตา่ งประเทศ ศาลโปรีสภา
2. ศาลหวั เมอื ง ได้แก่ ศาลมณฑล ศาลเมือง และศาลแขวงการปฏริ ปู กฎหมายและการศาล

ของไทยนอกจากจะเป็นผลงานของ พระบรมวงศานวุ งศ์และขา้ ราชการไทยแลว้ ยังไดว้ ่าจ้างนกั กฎหมายชาว
ญ่ปี ุ่น และชาวยโุ รป มาชว่ ยด้วย

การปรบั ปรุงกฎหมายและการศาลของรชั กาลที่ 6
1. ปรับปรุงระเบยี บการศาล โดยแบ่งงานในกระทรวงยุติธรรมเป็น 2 ฝ่าย คอื ฝา่ ยธุรการ กับฝา่ ย

ตุลาการ โดยตุลาการทำหน้าที่พิจารณาคดีไดอ้ ย่างอิสระ
2. มีการประกาศใชป้ ระมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์เปน็ ครัง้ แรก
3. โปรดฯให้ตงั้ สภานิติศกึ ษา มหี น้าท่ีจัดระเบยี บและวางหลกั สูตรการศึกษาของโรงเรยี นกฎหมาย

ความสำคัญของภูมิปญั ญาไทย
คณุ คา่ ของภมู ปิ ัญญาไทยสบื ทอดมาอยา่ งต่อเนื่องจากบรรพบรุ ุษทุ ไ่ี ดส้ ร้างความเปน็ ปกึ แผน่ มนั่ คง

ใหช้ าติบ้านเมือง มีการดำรงชีวิตท่ีอยอู่ ยา่ งรม่ เยน็ เปน็ สุข ทำให้คนในชาติเกิดความรักและความภาคภูมิใจ
เพอื่ สืบสานไปสอู่ นาคต สรปุ ความสำคัญไดด้ ังนี้

1. สรา้ งชาตใิ หเ้ ปน็ ปึกแผน่ มนั่ คง พระมหากษัตริย์ไทยทรงใชภ้ ูมิปญั ญาในการสรา้ งชาติ สร้างความ
เป็นปึกแผน่ ของประเทศ ต้ังแต่สมัยสุโขทยั จนถงึ ปัจจบุ ัน

2. สร้างความภาคภูมิใจ และเกียรตภิ ูมิศกั ดิ์ศรีของความเป็นไทย
มวยไทย มีชอ่ื เสยี งไปท่วั โลก ปัจจบุ ันมีคา่ ยมวยอยใู่ นหลายประเทศท่ัวโลก
ภาษาและวรรณกรรม ชาวไทยมีภาษาพูดและภาษาเขียนเป็นของตนเอง วรรณกรรมเป็นทีร่ ้จู ัก
มีการแปลเป็นภาษาต่างประเทศ สุนทรภ่เู ป็นนกั ปราชญท์ างวรรณกรรมบุคคลหนึ่งที่ได้รับการยกย่องจาก
องค์การศึกษาวิทยาศาสตรแ์ ละวฒั นธรรมแห่งประชาชาติ (ยูเนสโก) เป็นกวีเอกของโลก

อาหารไทย เปน็ อาหารทีช่ าวต่างชาติชนื่ ชอบและรจู้ ักกันแพรห่ ลาย อาทิเช่น ตม้ ยำก้งุ ต้มข่าไก่
เปน็ ต้น

สมุนไพรไทย เปน็ ทร่ี ู้จกั และยอมรบั จากนานาประเทศ จนบาง ประเทศนำสมุนไพรไทยไปจดเปน็
ลขิ สิทธขิ์ องตนเอง

3. การนำหลกั ธรรมมาประยุกต์ใชก้ ับวิถีชีวติ อย่างเหมาะสม ทำใหร้ จู้ ักพึ่งพาอาศัยกนั ให้อภยั กนั
4. การนำธรรมชาตมิ าใชใ้ นการดำรงค์ชีวติ เชน่ อาหารไทย มักเป็นอาหาร หวาน มนั มกี ะทิเป็น
ส่วนประกอบ หากรับประทานมากกจ็ ะทำใหเ้ กดิ ท้องอืดได้ ดังน้ัน จึงมกี ารนำพชื สมุนไพร เช่น ตะไคร้
ใบมะกดู มาใสเ่ พื่อช่วยแก้ปัญหาดังกลา่ ว
5. การพัฒนาชีวติ ให้เหมาะสมกบั ยคุ สมัย
ในยุคสมัย ได้มีการพฒั นาไปตามสภาพสงั คมทเ่ี ปล่ียนแปลงไป ตวั อยา่ งเชน่ คนในสมยั ก่อนใช้เรอื พาย
เปน็ พาหนะในการเดนิ ทาง แต่ปจั จบุ นั มีการพฒั นามาเปน็ เรอื ที่ใชเ้ คร่ืองยนตแ์ ทนทำให้การเดินทางรวดเร็ว
ยิง่ ขึ้น นอกจากนย้ี งั ได้มีการพัฒนาการเดินทางให้หลากหลายวิธีมาก เช่นรถยนต์ เคร่อื งบิน รถไฟใตด้ นิ
เปน็ ตน้
ภูมิปัญญาไทยกับปัจจัยสี่
1. ภมู ปิ ญั ญาไทยด้านอาหารเคร่อื งด่ืม (อาหาร)
2. ภูมิปญั ญาไทยดา้ นการแต่งกาย (เคร่ืองนุ่งห่ม)

๔๓

3. ภมู ปิ ญั ญาไทยดา้ นท่ีอยู่อาศัย (ทอ่ี ยู่อาศยั )
4. ภมู ปิ ญั ญาไทยดา้ นสุขภาพอนามยั (ยารักษาโรค)
ภมู ิปัญญาไทยด้านอาหาร เครือ่ งดืม่
สังคมไทยมีความอดุ มสมบรูณ์ บรรพบุรุษได้จดั รูปแบบอาหารได้อยา่ งเหมาะสมกบั สภาพภูมอิ ากาศ
และสภาพของสงั คมในแต่ละภาค ซง่ึ มสี รรพคุณชว่ ยใหร้ ะบบตา่ ง ๆ ของรา่ งกายทำงานได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ
ทำให้รา่ งกายแข็งแรง หา่ งไกลโรคภัยไขเ้ จบ็
1. ภาคกลาง อาหารของงภาคกลางเช่นน้ำพริกปลาทู แกงเลยี ง ต้มโคล้ง ตม้ ส้ม เป็นตน้
2. ภาคเหนือ เช่น น้ำพริกอ่อง ขนมจีนนำ้ เง้ียว ข้าวซอย แคบหมู ไสอ้ ่ัว แกงโฮะ เป็นต้น
3. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (อีสาน) เชน่ สม้ ตำ ปลาร้า น้ำตก ลาบ ก้อย ซบุ หน่อไม้ ขา้ วเหนียว
เปน็ ต้น
4. ภาคใต้ เชน่ ข้าวยำ แกงไตปลา แกงเหลือง ผดั สะตอ เป็นตน้

สมัยปจั จบุ นั เป็นช่วงเวลาของอารยธรรมหน่งึ ๆ ซ่งึ เป็นชว่ งที่แต่ละอารยธรรมจะมเี ทคโนโลยีเขา้ มาใช้
อย่างแพรห่ ลาย และมีการตระหนักถึงการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกวธิ ี

นกั ประวัตศิ าสตร์ได้กำหนดช่วงเวลาที่เป็น "สมัยปจั จบุ ัน" ของสากลโลกไวใ้ ห้ตรงกับ ค.ศ.
1945 จนถงึ ปจั จุบันน้ี โดยเรม่ิ นับจากการสิ้นสดุ ของสงครามโลกคร้งั ที่สอง เป็นต้นมา

ในสมยั ใหม่ เปน็ ช่วงเวลาแห่งการสรา้ งเทคโนโลยี และการคน้ พบทฤษฎีความรู้ต่างๆ มากมาย แต่ทวา่
การใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งขาดจิตสำนกึ ทำใหเ้ ทคโนโลยีถกู ใชไ้ ปในทางไมด่ ีในช่วงปลายของสมัยใหม่

เกดิ การแข่งขนั สะสมและประดษิ ฐอ์ าวุธอนั ร้ายแรงของประเทศต่างๆ จนนำไปสู่สงครามโลกถึง 2 ครง้ั
ในเวลาเพียง 31 ปี มผี ้เู สียชีวติ รวมกว่า 100 ลา้ นคน เป็นความสญู เสียของมนุษย์ ที่เกิดจากสิง่ ประดิษฐ์และ
การกระทำของมนุษยด์ ว้ ยกันเอง

แตใ่ นช่วงใกล้สนิ้ สดุ ของสมยั ใหม่ เกดิ การตระหนักในการใช้วิทยาการอยา่ งถูกวิธแี ละรอบคอบ แต่ใน
ขณะเดยี วกัน การพฒั นาเทคโนโลยีก็ยังมอี ยา่ งตอ่ เนื่อง และนบั จากนัน้ เทคโนโลยีของมนุษย์กไ็ มเ่ คยถูกจงใจ
ใชเ้ พือ่ สังหารมนษุ ยจ์ ำนวนมาก ๆ อกี เลย ทำให้สังคมของอารยธรรมนัน้ ๆ มสี ภาพคลา้ ยกับในชว่ งปจั จุบนั ทำ
ใหส้ มยั ใหม่ของอารยธรรมนน้ั ๆ ส้ินสุดลง และอารยธรรมก้าวเข้าสู่สมัยปจั จุบัน

แต่ถงึ กระนัน้ ก็มิใชว่ ่าสมัยใหมจ่ ะไมม่ ีสงครามเลย สงครามทม่ี ชี ือ่ เสยี งทีส่ ดุ ในช่วงสมยั ปัจจบุ ัน
คอื สงครามเย็น อนั เป็นการต่อสู้ทางอดุ มการณ์ของระบอบการปกครองระหวา่ งฝา่ ยท่สี นับสนุนระบอบ
ประชาธปิ ไตย กับระบอบคอมมวิ นสิ ต์ ท่ีตา่ งฝ่ายตา่ งพยายามเปลย่ี นโลกใหม้ ีการปกครองในระบอบท่ีฝา่ ยตน
สนับสนุน มกี ารใชอ้ าวธุ ปนื ในการสังหารบา้ ง แต่ไมม่ ีความรุนแรงกวา้ งขวางไม่มากเท่าสงครามโลกในสมัยใหม่

๔๔

บทที่ 3
วิธีการดำเนนิ การ

รายงานโครงการคา่ ยเรียนรปู้ ระวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทยนกั ศึกษาประกาศนยี บัตรวชิ าชพี ครั้งน้เี ปน็ การรายงาน
ผลการดำเนนิ งานเพ่ือให้ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมืองนครราชสีมา ไดท้ ราบ
ผลการดำเนินการจัดกจิ กรรมเสริมหลกั สูตรท่ตี อบสนองความตอ้ งการและสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของผู้เรียนมี
ข้อมลู ในการวางแผนการจดั กิจกรรมเสริมหลักสตู รในภาคเรยี นต่อไป

ขั้นตอนการดำเนินงาน
การดำเนินโครงการค่ายเรียนรู้ประวัตศิ าสตรช์ าติไทยประกาศนยี บัตรวิชาชีพ ศูนย์การศึกษานอกระบบ

และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมอื งนครราชสมี า ประจำปีงบประมาณ 2562 มีวธิ กี ารดำเนินงานดงั นี้
1. เขียนแผน สถานศึกษาได้รบั มอบหมายให้ กลมุ่ งาน ปวช. จดั ทำแผน เพ่ือขออนุญาต

จัดกิจกรรม พรอ้ มทง้ั ดำเนนิ การต้ังแต่เร่มิ ดำเนินการจนกระทัง้ สิ้นสุดกจิ กรรม
2. ประชมุ ครู วนั ที่ 3 ธนั วาคม 2561 ณ. หอ้ งพักครู ปวช.
3. ดำเนินการตามแผน
3.1 มอบหมายใหง้ านให้งานแตล่ ะงานดำเนนิ การวางแผนการจัดกิจกรรมตามที่ไดร้ บั มอบหมาย
3.2 การจดั เตรียมเอกสารและแบบประเมินผลกิจกรรม
3.3 ประสานงานกลุ่มเปา้ หมาย เพ่ือเขา้ ร่วมโครงการ ตามวนั และเวลาที่กำหนประสาน

วทิ ยากรและสถานทจี่ ัดกิจกรรม
3.4 รบั รายงานตัว แจกเอกสาร
3.5 รับผดิ ชอบการเบิก – จ่ายเงนิ ในการจัดกจิ กรรม
3.6 การจดั หา สื่อ เอกสารประกอบการเรียนและสรปุ รายงานผลโครงการ

ประชากรกลุ่มตัวอย่าง
1. ประชากรของการรายงานโครงการ ได้แก่ ผ้เู รยี นหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับ

ประกาศนียบตั ร ปวช. ทล่ี งทะเบียนเรียน ในภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 479 คน
2. กลมุ่ ตัวอย่างของการรายงานโครงการ ใช้กลุ่มประชากรเปน็ กลุม่ ตวั อย่าง คอื ผเู้ รียน

หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับประกาศนียบตั รวิชาชพี ปวช. ทีล่ งทะเบียน ในภาคเรยี นท่ี 2
ปกี ารศึกษา 2561 จำนวน 119 คน

เครื่องมอื ท่ีใช้
สรา้ งเครือ่ งมือที่ใชใ้ นการประเมิน เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการประเมินผลครั้งนี้เป็นแบบสอบถามแบง่ เป็น 3 ตอนคอื

ตอนท่ี 1 ตารางแสดงข้อมลู พื้นฐานของผู้เข้ารับการอบรม
ตอนท่ี 2 ความพ่ึงพอใจของผู้เขา้ รับการอบรม ด้านกระบวนการจัดการเรยี นรู้ ด้านวิทยากร
ดา้ นปัจจัยที่เกย่ี วข้องกับการจัดการเรยี นรู้ ดา้ นผลทีไ่ ด้รับจากการจดั การเรียนรู้ ด้านสถานท่ี
ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ
การสรา้ งเคร่ืองมือ
สรา้ งแบบสอบถามความคิดเหน็ และความพึงพอใจ คณะผ้ทู ำรายงานผล นำแบบสอบถาม
ซึง่ เปน็ การสอบถามความพึงพอใจและความคิดเหน็ ของการดำเนนิ โครงการ

๔๕

การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการดำเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูล คณะผ้ทู ำรายงานผล นำแบบสอบถามซึ่งเปน็ การสอบถาม

ความพึงพอใจและความคิดเห็นของการดำเนินโครงการ

การวิเคราะห์ขอ้ มูล
การวเิ คราะห์ขอ้ มูล คณะทำงานดำเนนิ งานโดยการนำเอาข้อมูลที่ได้จากการทดลองจากกลุ่มตวั อย่าง

และแบบสอบถามทไี่ ด้จากกลุ่มตัวอย่างมาวเิ คราะหห์ าค่าด้วยโปรแกรมสำเรจ็ รูป SPSS/PC+
Window (Statical Packang for the Science/Personal Computer Plus Window) ทั้งนไี้ ด้ดำเนินการ
ดังนี้

1. ตรวจสอบความถกู ตอ้ งสมบรู ณ์ของผลการทดลองแบบสอบถามท่ไี ดร้ ับคืนมา
2. นำขอ้ มูลจากแบบสอบถามทีส่ มบูรณ์มาวิเคราะหด์ ังน้ี

2.1 วิเคราะห์ข้อมลู จากแบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจ ในส่วนท่ี 1 คดิ เปน็ ค่าร้อยละ
2.2 วเิ คราะห์ขอ้ มลู จากแบบสอบถามความคดิ เหน็ และความพึงพอใจ โดยการหาค่าเฉล่ีย ( x )
และคา่ ร้อยละ ตามรายการในแบบสอบถามเป็นรายข้อ รายด้านและภาพรวม นำเสนอผลวเิ คราะห์ข้อมูลในรปู
ของตารางและการบรรยายโดยใช้เกณฑ์การแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลยี่ โดยการเปรยี บเทยี บกับ
เกณฑ์การประเมนิ มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสำนักงาน กศน. 5 ระดับ ดังนี้

คา่ เฉลย่ี 4.51 – 5.00 หมายถงึ เห็นดว้ ยและพึงพอใจในระดับมากทสี่ ดุ
คา่ เฉลย่ี 3.51 – 4.50 หมายถึง เห็นด้วยและพงึ พอใจในระดบั มาก
คา่ เฉลย่ี 2.51 – 3.50 หมายถึง เหน็ ด้วยและพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง
คา่ เฉลย่ี 1.51 – 2.50 หมายถงึ เห็นด้วยและพึงพอใจในระดับนอ้ ย
คา่ เฉลยี่ 0.00 – 1.50 หมายถงึ เหน็ ดว้ ยและพึงพอใจในระดบั น้อยทีส่ ุด

๔๖

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู

ในการรายงานผลโครงการค่ายเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยนักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพ โดยมี
วัตถุประสงค์เพือ่ ให้นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชพี มีความรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกับความเป็นมาของชนชาติไทย
ความรักชาติ เทิดทูนสถาบันพระมาหากษัตริย์ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย
สามารถนำความรูท้ ไ่ี ดร้ ับไปพฒั นาตนเองใหเ้ ป็นแบบอยา่ งท่ดี ี ในจำนวนนีเ้ ปน็ กลุ่มตวั อย่าง จำนวน 119 คน
จัดกิจกรรมในวันท่ี 22 - 23 ธันวาคม 2561 ผู้รับผิดชอบโครงการได้นำเสนอ ผลการประเมินโครงการ
จำนวน 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ตารางแสดงข้อมลู พื้นฐานของผเู้ ขา้ รับการอบรม
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจของผเู้ ขา้ รับการอบรม
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ

ตอนที่ 1 ตารางแสดงขอ้ มลู พ้ืนฐานของผเู้ ข้ารับการอบรม
ตารางที่ 1 ผลการประเมนิ โครงการแสดงข้อมลู พน้ื ฐานของผ้เู ขา้ รบั การอบรม

รายการ จำนวน รอ้ ยละ

เพศ 48 40.30
ชาย 71 59.70
หญงิ
14 11.80
อายุ 71 59.70
15 - 25 ปี 34 28.60
26 - 35 ปี -
36 - 45 ปี - -
46 - 59 ปี -
๖๐ ปี ขน้ึ ไป -
68 -
อาชพี 3 57.10
เกษตร 48 2.50
รับจ้าง - 40.30
รบั ราชการ
คา้ ขาย -
อน่ื ๆ

จากตารางที่ 1 พบว่า ผู้เข้าโครงการค่ายเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยนักศึกษาประกาศนียบัตร
วิชาชีพ ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนครราชสีมา ในวันที่ 22 - 23 ธันวาคม
2561 จำนวน 119 คน ส่วนใหญเ่ ป็น เพศหญิง จำนวน 71 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 59.70 เพศชาย จำนวน
48 คน คิดเป็นร้อยละ 40.30 ในช่วงอายุ 15 - 25 ปี จำนวน 14 คิดเป็นร้อยละ 11.80 ในช่วงอายุ
26 – 35 ปี จำนวน 71 คดิ เปน็ รอ้ ยละ 59.70 ในชว่ งอายุ 36 - 45 จำนวน 34 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 28.6
ในช่วงอายุ 46 – 59 ปี จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ - อายุ 60 ปี จำนวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
ในด้านอาชพี มีผู้ประกอบอาชีพเกษตร จำนวน - คน คิดเป็นรอ้ ยละ - อาชพี รบั จา้ ง จำนวน 68 คน คดิ เป็น

๔๗

ร้อยละ 57.10 รับราชการ จำนวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 2.50 อาชพี คา้ ขาย จำนวน 48 คน คดิ เป็นร้อย
ละ 40.30 และอน่ื ๆ - คน คดิ เป็นรอ้ ยละ -

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจของผู้เขา้ รับการอบรม
ตารางท่ี 2 ผ้เู รียนทเ่ี ข้ารว่ มกิจกรรมมีความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้

ด้านกระบวนการจัดการเรยี นรู้ ระดับความพึงพอใจ
X . S.D. การแปลผล
1. การใหบ้ รกิ ารของเจ้าหน้าท่ี
2. การลงทะเบียน 4.53 0.61 มากท่สี ดุ
3. พิธีการและขน้ั ตอนการดำเนนิ การมคี วามเหมาะสม
4.46 0.59 มาก
รวม
4.42 0.63 มาก
4.47 0.02 มาก

จากตารางที่ 2 พบว่า ผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการค่ายเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยนักศึกษา
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีความพึงพอใจในด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก ( X = 4.47,
S.D. = 0.02) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ความพึงพอใจมากที่สุดอยู่ในระดับมากที่สดุ คือ การให้บริการ
ของเจ้าหน้าท่ี ( X =4.53, S.D. = 0.61) การลงทะเบียน ( X =4.46, S.D. = 0.59) พิธีการและขั้นตอน
การดำเนินการมีความเหมาะสม ( X =4.42, S.D. = 0.63)

ตารางท่ี 3 ผู้เรยี นทเี่ ขา้ ร่วมกจิ กรรมมีความพงึ พอใจด้านวิทยากร ระดบั ความพึงพอใจ
X . S.D. การแปลผล
ด้านวทิ ยากร 4.23 0.63 มาก
1. วิทยากรในการให้ความรู้มีความเหมาะสม 4.28 0.62 มาก
2. การถา่ ยทอดความรขู้ องวิทยากรมีความชดั เจน 4.28 0.65 มาก
3. ลำดับเนื้อหาการบรรยายเข้าใจงา่ ยมีความต่อเนอื่ ง 4.29 0.66 มาก
4. เปดิ โอกาสใหน้ กั ศึกษา/ผ้เู ข้าอบรมไดซ้ ักถาม 4.28 0.67 มาก
5. การตอบคำถามตรงประเด็นและเขา้ ใจง่าย 4.27 0.66 มาก
6. การสรุปประเดน็ เนือ้ หา 4.27 0.02 มาก

รวม

จากตารางท่ี 3 พบว่า ผู้เรียนที่เข้าร่วมโครงการค่ายเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยนักศึกษา
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ มีความพึงพอใจในด้านวิทยากร อยู่ในระดับมาก ( X = 4.27, S.D. = 0.02)
เม่อื พจิ ารณาเป็นรายข้อพบว่า ความพึงพอใจมากท่ีสดุ อยู่ในระดับมาก คอื เปดิ โอกาสให้นักศึกษา/ผู้เข้าอบรม
ได้ซักถาม ( X = 4.29, S.D. = 0.66) การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรมีความชัดเจน ( X = 4.28, S.D. =
0.62) ลำดับเนื้อหาการบรรยายเข้าใจง่ายมีความต่อเนื่อง ( X = 4.28, S.D. = 0.65) การตอบคำถามตรง
ประเด็นและเข้าใจง่าย ( X = 4.28, S.D. = 0.67) การสรุปประเด็นเนื้อหา ( X = 4.27, S.D. = 0.02)
วทิ ยากรในการใหค้ วามรมู้ ีความเหมาะสม ( X = 4.23, S.D. = 0.63)


Click to View FlipBook Version