The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการค่ายเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย วันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๑ ณ กศน.ตำบลหมื่นไวย
อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mueang, 2022-05-04 23:04:28

ผลการดำเนินกิจกรรมโครงการค่ายเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย

โครงการค่ายเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย วันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖๑ ณ กศน.ตำบลหมื่นไวย
อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา



ผลการดำเนินกิจกรรม
โครงการค่ายเรยี นรู้ประวัตศิ าสตรช์ าตไิ ทยและบุญคุณของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย

วนั ท่ี ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖1
ณ กศน.ตำบลหมื่นไวย
อำเภอเมอื งนครราชสมี า จังหวัดนครราชสีมา

จัดทำโดย
กศน.ตำบลหมื่นไวย
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมืองนครราชสีมา
สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
จังหวดั นครราชสีมา
สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

สารบัญ ๒

เร่อื ง หนา้

บทท่ี ๑ บทนำ ๑
หลักการและเหตุผล ๑
วตั ถปุ ระสงค์ ๑
เปา้ หมาย ๑
ผลทคี่ าดว่าจะไดร้ ับ ๒

บทที่ ๒ เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง ๑๑
บทที่ ๓ วิธกี ารดำเนินงาน ๑๑
๑๑
กลุม่ ประชากร ๑๑
เครอ่ื งมือที่ใช้ในการดำเนินโครงการ ๑๑
การเก็บรวมรวมข้อมูล ๑๒
วธิ ีการวิเคราะห์ผล ๑๓
สถติ ิทใี่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มูล ๑๓
บทที่ ๔ ผลการประเมินโครงการ ๑๗
ผลการวิเคราะหค์ วามพงึ พอใจของผเู้ รยี น ๑๗
บทที่ ๕ สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ๑๗
สรุปผลการดำเนนิ โครงการ
ข้อเสนอแนะ
ภาคผนวก



กิตติกรรมประกาศ

ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนครราชสีมา ได้ดำเนินการจดั โครงการค่ายเรียนรู้
ประวตั ศิ าสตรช์ าติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตรยิ ์ไทย เพ่อื ให้นักศึกษา กศน. มีความรู้ ความเข้าใจความรทู้ าง
ประวัติศาสตร์ชาตไิ ทย ความเข้าใจอดีต ปัจจบุ นั และอนาคตประวตั ศิ าสตร์ชาติไทย นำความรทู้ ไี่ ด้ไปนำไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวติ ประจำวันไทย ในวนั ที่ ๒๔ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕6๑ สถานท่ดี ำเนนิ งาน ณ กศน.ตำบลหมนื่ ไวย อำเภอเมืองนครราชสมี า
จังหวัดนครราชสมี า

คณะผดู้ ำเนนิ โครงการขอขอบคุณผอู้ ำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมอื ง
นครราชสีมา บคุ ลากรทางการศึกษา ทุกทา่ น ทุกท่านทเ่ี สียสละเวลา กำลงั กาย และกำลังใจ จนทำให้การจัดกจิ กรรม
โครงการ และดำเนินการสรุปผลการจดั กจิ กรรมพัฒนาคุณภาพผเู้ รียนโครงการคา่ ยเรียนรปู้ ระวตั ิศาสตร์ชาติไทย ศนู ย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนครราชสมี า ครงั้ นีส้ ำเร็จลลุ ว่ งดว้ ยดี

คณะผู้ดำเนนิ โครงการ
กศน. ตำบลหมื่นไวย



บทที่ ๑
บทนำ

หลักการและเหตผุ ล

ปจั จบุ ัน ไดเ้ กิดวกิ ฤตกิ ารณอ์ ันเกยี่ วเนื่องกบั การเรยี นการสอนวิชาประวตั ิศาสตร์ข้ึนในประเทศ เรียกร้องใหม้ กี าร
พัฒนาและปรับปรุงแนวทางการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ทำให้รัฐบาล ตลอดจนองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน เกิด
ความต่ืนตัวในอันที่จะผลักดันให้มีการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร์เพิ่มขึ้น ตลอดจนให้มีการค้นคว้าวิจัย เพื่อสร้าง
องค์ความรใู้ หม่เก่ียวกบั ประวัตศิ าสตร์ไทยและประวตั ิศาสตร์ประเทศเพ่ือนบ้าน เพื่อใหว้ ิชาประวัตศิ าสตร์มีความน่าสนใจ
สำหรับผ้เู รียน และสามารถใชค้ วามรูท้ างประวัติศาสตร์เพื่อทำความเขา้ ใจอดตี ปจั จบุ ัน และอนาคต ทง้ั ในระดับท้องถ่ินไป
จนถึงระดับชาติและระดับโลกได้ และเหนือส่ิงอ่ืนใด มีการเรียกร้องให้พัฒนาการสอนวิชาประวัติศาสตร์เพ่ือสร้างทัศนคติ
เชิงสร้างสรรค์ที่เหมาะสม ลดอคติของเยาวชนไทยต่อประเทศเพ่ือนบ้านอีกด้วยสังคมไทยในปัจจุบันจึงมีความต้องการ
มหาบัณฑิตผู้มีความรูค้ วามเชี่ยวชาญดา้ นประวัติศาสตร์ เพ่ือประกอบวิชาชพี ต่างๆ หลากหลาย ตอบสนองความตอ้ งการ
ของทั้งภาครัฐและเอกชน กล่าวคือนอกจากภาวะความขาดแคลนครูผู้สอนวิชาประวัติศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาและ
อดุ มศกึ ษาแล้ว ยังรวมไปถึงความต้องการด้านส่อื สารมวลชน นักเขียน นกั แปล นักขา่ ว นกั หนงั สือพิมพ์ ด้านธุรกิจบันเทิง
ผ้เู ขียนบทภาพยนตร์ ผ้เู ขียนบทสารคดี ตลอดจนมคั คุเทศก์ และผู้ประกอบวิชาชีพด้านการส่งเสริมการท่องเท่ียว เป็นต้น
ท้ังน้ี ความรู้ความเข้าใจประวัติศาสตร์อย่างกว้างขวางลึกซ้ึง จะมีส่วนช่วยส่งเสริมการประกอบวิชาชีพเหล่าน้ีให้มี
ประสิทธภิ าพและประสบความสำเร็จมากย่ิงขน้ึ ทงั้ ยังจะมีส่วนช่วยส่งเสรมิ ความเข้าใจเก่ียวกบั วิชาการดา้ นประวตั ศิ าสตร์
ใหเ้ ป็นที่ร้จู กั ยอมรับ และตระหนักถึงความสำคญั ของความรู้ทางประวตั ศิ าสตร์ที่มีตอ่ การพัฒนาสงั คมมากขน้ึ ด้วย

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมอื งนครราชสีมา ไดเ้ ล็งเห็นความสำคัญ
ประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทยและบุญคณุ ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย ความเขา้ ใจอดตี ปจั จุบนั และอนาคตประวัตศิ าสตร์ชาติไทย
จงึ ไดจ้ ดั โครงการคา่ ยเรยี นรู้ประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย เพือ่ ใหน้ ักศึกษานำความรทู้ ี่ได้ไป
นำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวนั ข้นึ
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื ใหน้ ักศึกษา กศน. มคี วามรู้ ความเข้าใจทางประวัตศิ าสตร์ ความเป็นมาของชาติไทยและสถาบนั

พระมหากษัตริย์

๒. เพ่อื ใหน้ ักศึกษา กศน. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำวัน

เปา้ หมาย
๑ เชงิ ปริมาณ นกั ศึกษา กศน.ตำบลหมน่ื ไวย จำนวน ๔๖ คน

๒ เชงิ คุณภาพ
นักศึกษา กศน.ตำบลหมื่นไวย มคี วามรู้ ความเข้าใจความรู้ทางประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยและบญุ คุณของ

พระมหากษัตริย์ไทย มีความเขา้ ใจอดีต ปจั จบุ ันและอนาคตประวัติศาสตร์ชาติไทย นำความรู้ที่ได้รับนำไปประยุกต์ใช้ใน

ชวี ิตประจำวนั

ผลลพั ธ์ (Outcome)
นกั ศกึ ษา กศน. มคี วามรู้ ความเข้าใจความรทู้ างประวตั ิศาสตร์ชาติไทยและบญุ คุณของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย

ความเข้าใจอดตี ปัจจุบันและอนาคตประวตั ิศาสตร์ชาติไทย นำความรทู้ ีไ่ ด้ไปนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำวนั



ดัชนชี ีว้ ดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ
๑ ตัวช้ีวัดผลผลิต (Output)
ร้อยละ ๘๕ ของนักศึกษาท่ีเขา้ รว่ มโครงการมีความรู้ ความเข้าใจความร้ทู างประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยและบญุ คุณ

ของพระมหากษัตรยิ ไ์ ทย ความเข้าใจอดตี ปจั จบุ ันและอนาคตประวัตศิ าสตร์ชาติไทย นำความร้ทู ่ีได้ไปนำไปประยุกต์ใชใ้ น
ชวี ิตประจำวนั

๒ ตัวชี้วัดผลลพั ธ์ (Outcome)
นกั ศึกษา กศน.มคี วามรู้ ความเขา้ ใจความรู้ทางประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยและบุญคุณของพระมหากษัตรยิ ์ไทย
ความเขา้ ใจอดีต ปจั จบุ ันและอนาคตประวตั ิศาสตร์ชาติไทย นำความร้ทู ไ่ี ด้ไปนำไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั



บทที่ ๒
เอกสารทเ่ี กี่ยวขอ้ ง

ปจั จยั การสร้างอาณาจักรของคนไทย
ในพทุ ธศตวรรษท่ี 16 ถงึ 18 ดินแดนตอนกลางของลมุ่ แม่น้ำเจา้ พระยาไดอ้ ย่ภู ายใต้อิทธิพลของเขมร

มศี นู ย์กลางอย่ทู ่ีพระนครหลวง สงั คมเป็นสังคมทาส เขมรเปน็ มหาอำนาจอยูเ่ กือบ 400 ปี และได้ขยายอำนาจเข้ามาใน
ลพบรุ ี เชน่ ในสมัยพระเจา้ สุริยวรมันที่ 1 (พ.ศ. 1545-1593) ใช้ลพบรุ ีเป็นศูนย์กลางแผ่อำนาจ แต่อำนาจเขมรจะขึน้
ๆ ลง ๆ ในช่วง พ.ศ. 1658 – 1698 ลพบุรเี ปน็ อิสระ แต่ต่อมาในสมยั พรเจ้าชัยวรมนั ท่ี 7 กก็ ลบั มีอำนาจอีก พ.ศ.
1738 เขมรจารกึ ไวว้ า่ พระเจ้าชยั วรมนั ท่ี 7 สง่ โอรสมาเปน็ อุปราชทีล่ พบุรเี ปน็ องค์สดุ ทา้ ย หลงั จากน้นั เขมรกอ็ ่อนกำลัง
ลง เพราะว่า

(1) ทำสงครามกับไทย และจาม และชาตอิ ่นื ๆ
(2) มีการก่อสร้างมากมาย เช่น การสร้างนครธม เพื่อเป็นการแสดงบารมีของกษัตริย์ ทำให้เปลืองทรัพย์สินเงิน
ทองจำนวนมาก
(3) เกิดความเปล่ียนแปลงทางสังคม พลเมืองเปล่ียนจากทาสมาเป็นไพร่ และเริ่มมีอิสระมากขึ้น ความ
เปล่ียนแปลงภายในทที่ ำให้เขมรเส่ือมลง เปิดโอกาสให้คนไทยมอี ำนาจขน้ึ มา

ความเปล่ียนแปลงภายนอก ซ่ึงเป็นการเปลี่ยนแปลงยุคประวัติศาสตร์ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (จากยุค
พุทธกาล ถึงพุทธศตวรรษที่ 18 เป็นยุคการเมืองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้แบบคลาสสิค) ส่ิงท่ีพบในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้คือ ตามอาณาจกั รโบราณมีลกั ษณะของการเมืองการปกครองที่มีอิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ ฮนิ ดู พุทธศาสนา
นิยายมหายาน เป็นหลัก แต่ต่อมาเกิดมีขบวนการซ่ึงเป็นอิทธิพลของพุทธศาสนานิยาหีนยานแพร่หลายเข้ามาจากลังกา
ทำให้ความเช่ือคนแถบน้ีเริ่มเปล่ียนไป โดยเฉพาะในดินแดนของมอญ ในท่ีสุดความเช่ือนี้เข้าไปอยู่ในความคิดของ
ประชาชน การเผยแพรพ่ ุทธศาสนาจะถกู เผยแพรเ่ ขา้ มาทางแผ่นดนิ ใหญ่ ซ่ึงตามข้ามกับศาสนาอิสลาม ท่ีจะแผน่ เข้าไปที่
ตามเกาะตา่ ง ๆ และระยะเดยี วกันน้ี จีนก็จะแผอ่ ำนาจมารุกรานดินแดนต่าง ๆ แต่ไทยกลับมีความสมั พันธ์ทางการทูตอัน
ดีกับจนี จงึ เป็นโอกาสใหไ้ ทยไดส้ ร้างตวั มมี ากขึน้

อาณาจกั รสโุ ขทยั

สภาพทั่วไป
อาณาเขตของสโุ ขทัย เม่ือยึดอำนาจได้จากเขมรแล้ว เขา้ ใจว่าเมืองสุโขทัยกค็ งเป็นอาณาจกั รเล็ก ๆ คือ คงมีเมือง

สำคัญได้แก่ สุโขทัย และทางเหนือขึ้นไปเป็นเมืองศรีสัชนาลัย ซึ่งคงเป็นเมืองท่ีตั้งของอุปราชของสุโขทัย เราจะเห็นได้
จากศลิ าจารึก ซงึ่ มกั จะบอกถึง 2 เมืองนีค้ กู่ นั เสมอ คือเมอื งศรีสัชนาลยั สุโขทยั

เม่ือเร่ิมต้ังอาณาจักร สุโขทัยก็คงเป็นเมืองเล็ก ๆ และต่อมาก็คงจะขยายใหญ่โตข้ึน ในท่ีสุด กลายเป็นเมืองที่
ลักษณะท่ีเราเรียกว่า เมืองลูกหลวง เมืองลูกหลวงมีอยู่ 4 เมือง คือ เมืองกำแพงเพชร (หรือนครชุม) ศรีสัชนาลัย (หรือ
เชลียง) พิษณุโลก (หรือสองแคว) พจิ ิตร (หรอื สระหลวง) อันรวมเรยี กว่า หัวเมืองชนั้ ใน สุโขทัยใหญ่โตข้นึ ในสมยั รัชกาล
พอ่ ขุนรามคำแหงเท่านั้น คือทางเหนือจะขน้ึ ถงึ อาณาจกั รล้านนาไทย ทางใต้ลงไปถึงแหลมมลายู ซึ่งรวมเรียกว่าหัวเมือง
ชั้นนอก อันแบ่งออกเป็น 2. ประเภท คือ เมืองพระยามหานคร ในสมัยพ่อขุนรามคำแหง ได้แก่ เมืองสุพรรณบุรี
เมืองนครศรีธรรมราช เมืองราชบุรี เมืองเพชรบุรี และเมืองประเทศราช ได้แก่ เมืองมอญ เมืองหงสาวดี สุโขทัยไม่ได้มี
อำนาจทางทหารไปควบคุมหัวเมืองเหล่าน้ีอย่างจริงจัง แลเมืองเหล่าน้ีก็ปกครองตนเอง เพียงแต่ส่งบรรณาการมาให้
สโุ ขทัยปีละคร้งั เท่านั้น เมื่อสิ้นสมัยพ่อขุนรามคำแหง หัวเมืองพระยามหานคร และเมืองประเทศราชตา่ งก็เป็นอิสระหมด
อาณาจักรสโุ ขทยั จึงเหลอื เพียงหวั เมืองชัน้ ในเท่านนั้

กำลงั คนของสุโขทยั อาณาจักรต่าง ๆ สมัยโบราณพยายามรวบรวมผู้คนเอาไว้เป็นของตนให้มากท่ีสดุ จงึ ปรากฎ
ระบบทางสังคมเพ่ือควบคุมกำลังคนหรือผู้คนไว้ ที่เรียกกันว่า ระบบทาส และระบบไพร่ น่ีเป็นวิธีการหน่ึงที่จะควบคุม



คนไว้ให้เข้มแข็ง เพ่ือความมั่นคงและอำนาจทางการเมืองของอาณาจักร สาเหตุของการสงครามในอดีตส่วนใหญ่นั้น
เกิดข้ึนเพื่อจะไปจับเอาผู้คน หรือไปกวาดต้อนเอาผู้คนของอาณาจักรอื่นมาเป็นของตน ซ่ึงเราจะเห็นได้ชัดในสมัยรัชกาล
ท่ี 1

สุโขทยั เองก็มีปัญหาเร่ืองกำลงั คน เม่อื เทียบกบั อาณาจกั รอื่น ๆ แลว้ สุโขทยั มีผูค้ นน้อยกว่า ทำใหช้ ่วงเวลาทเี่ ป็น
อาณาจักรสนั้ มาก เสยี อิสรภาพไปเรว็ มาก เรื่องน้ีกส็ ะท้อนออกมาในรปู แบบของนโยบายของรัฐบาล เช่น การที่สุโขทัยให้
งดการเก็บภาษีผ่านแดน หรือภาษีผ่านด่านท่ีเรียกว่า ภาษีจังกอบ เป็นนโยบายอย่างหนึ่งท่ีจะชักชวนให้คน
ประนีประนอมบ้าง ให้เสรีบ้าง เพื่อจะดึงดูดผู้คนจากท่ีอ่ืนให้เข้ามาอยู่ในสุโขทัย เชื่อกันว่าสมัยสุโขทัยก็มีทาสและไพร่
ประชากรส่วนใหญ่คงจะมีฐานะเป็นไพร่ แต่ระบบไพร่ของสุโขทัยก็ต่างจากของอยุธยาในแง่ท่ีจะไม่ค่อยเข้มงวดเท่าไรนัก
คือไมม่ ีกฎเกณฑบ์ ังคบั มากเท่ากบั ของอยธุ ยา

พื้นฐานทางเศรษฐกิจ เกี่ยวกบั การปลุกข้าวก็คงจะเป็นการผลิตที่มีเพียงพอ มีพอกินคงไม่เหลือเฟือที่จะเล้ียง
ประชากรได้จำนวนมาก นี่เป็นข้อเสียเปรียบของสุโขทัย เพราะลักษณะที่ดินค่อนข้างจะเป็นที่ดอน ข้าวซ่ึงเป็นอาหาร
หลัก คงจะไม่มีมากจนกระทั่งกลายเป็นฐานทางเศรษฐกิจอย่างเช่นอาณาจักรอยุธยา และมีหลักฐานว่า ในบางครั้ ง
สุโขทัยประสบปัญหาเก่ียวกับเร่ืองอาหารเหมือนกัน อีกส่ิงหน่ึงที่เข้าไปเก่ียวข้องกับเศรษฐกิจของสุโขทัยก็คือ
เคร่ืองปั้นดินเผา มีความสำคัญต่อสุโขทัยเป็นอย่างมาก ได้มีการผลิตเพ่ือส่งออกต่างประเทศจำนวนมาก ตลาดที่สำคัญ
อยทู่ ีอ่ นิ โดนเี ซียและฟลิ ิปปนิ ส์

โดยทว่ั ไปเครอื่ งสงั คโลกของสุโขทัยมเี สน้ ทางการค้าทจี่ ะส่งออก 2 ทางคือ
- เส้นทางทิศตะวันตก เป็นการขนส่งสินค้าทางบก จากสุโขทัยและศรีสัชนาลัยไปยังเมืองตาก แล้วไปออกทาง

ตอนล่างของพมา่
- เส้นทางด้านทิศใต้ จะล่องลงมาทางน้ำตามลำแม่น้ำเจ้าพระยา แม่น้ำน้อย สินค้าส่วนมาก เป็นพวกเครื่องสังค

โลกประเภท จาน ชาม กระปกุ
ด้านการปกครอง สุโขทัยจัดได้ว่าเป็นสังคมเล็ก ๆ ท่ีจะสะท้อนออกมาว่ากษัตริย์และประชาชนใกล้ชิดกันมาก

พุทธศาสนานิกายหีนยานมีอิทธิพลด้านการปกครองสมัยสุโขทัย ศาสนาพุทธมีส่วนช่วยในด้านการปกครองของสุโขทัย
อยา่ งมาก เพราะพระสงฆก์ ลายเปน็ ส่อื เชือ่ มความสัมพนั ธ์ระหวา่ งกษตั ริย์กบั ประชาชนทีอ่ ย่หู า่ งไกลออกไป

ระบบเครือญาติ ผู้ปกครองของเมืองต่าง ๆ ส่วนใหญ่มักจะเก่ียวดองกัน ลักษณะเช่นน้ีทำให้สุโขทัยสามารถดึง
เอาเมืองต่าง ๆ เขา้ มาสวามิภกั ดไ์ิ ด้เป็นจำนวนมาก แต่ความสัมพนั ธก์ นั ในระบบเครือญาตจิ ะไมม่ น่ั คง

เม่ือมาถึงสมัยพระมหาธรรมราชาลิไทมีผู้กล่าวว่าในสมัยของพระองค์บ้านเมืองอ่อนแอเนื่องจากพระองค์ทรง
ฝักใฝ่หรือหมกมุ่นอยู่แต่ทางพุทธศาสนา และอาจจะสืบเนื่องมาจากในสมัยพระองค์ บ้านเมืองระส่ำระสายมีการแย่งชิง
ราชสมบัติกัน ทำให้บ้านเมืองวุ่นวาย พระองค์จึงต้องแก้ปัญหาการปกครองโดยอาศัยพุทธศาสนา ความคิดของคนใน
อดีตมาจากการพิจารณาโดยทั่วไปที่มองว่าพระเจ้าลิไททรงยุ่งเก่ยี วกับศาสนามากเกินไป ทำให้อาณาจักรสุโขทัยอ่อนแอ
ลง แต่ความเป็นจริงแลว้ ตอ้ งพจิ ารณาดว้ ยวา่ ในสมัยทพ่ี ระเจา้ ลิไทขนึ้ ครองราชย์ (ระหวา่ ง พ.ศ. 1890-1917) นั้นได้เกิด
ปัญหาทางด้านการเมืองทั้งภายในและภายนอก ปัญหาการเมืองภายใน ไดแ้ ก่การแย่งชิงราชสมบัติจนต้องมีการรบพุ่งกัน
ปัญหาการเมืองภายนอกเกิดจากการที่กรุงศรีอยุธยาตั้งตัวเป็นอิสระ สถาปนาเป็นอาณาจักรใหม่เมือง พ .ศ. 1893
และในปี พ.ศ. 1897 สโุ ขทัยก็เกิดสงครามกับอยุธยา ซง่ึ เป็นปญั หาทางการเมอื งภายนอกทีพ่ ระเจ้าลิไทต้องประสบ

สาเหตทุ ี่ทำใหอ้ าณาจักรสุโขทัยเสื่อมลงและหมดอำนาจไปอยา่ งรวดเร็ว คอื
(1) สโุ ขทยั เปน็ อาณาจกั รเลก็ เปน็ อาณาจกั รใหม่ มคี นน้อยมาก ความเจรญิ มอี ย่เู ฉพาะในสมยั พ่อขนุ รามคำแหง
(2) สถานที่ต้ังเสียเปรยี บ ถูกขนาบข้างดว้ ยอาณาจักรทเ่ี ข้มแขง็ กว่า
(3) พื้นฐานทางเศรษฐกิจไม่ดี จึงไม่สามารถจะเล้ียงคนจำนวนมากได้ เวลาขาดแคลนอาหารต้องได้รับความ

ลำบากมาก
(4) มีปญั หาการเมืองภายในของการแยง่ ชงิ ราชสมบัติ และการถูกแบง่ แยกอาณาจกั ร



สมัยกรุงศรีอยธุ ยา

สภาพท่วั ไป
กำเนิดกรุงศรีอยธุ ยาจากดินแดนเกา่ แกท่ างตอนกลางของลุ่มแม่น้ำเจา้ พระยา มีเมือง 2 เมอื งท่ีสำคัญมากใน

แถบนค้ี ือ ลพบรุ ี และสุพรรณบุรี เมืองลพบุรีมคี วามสำคัญในแงท่ ีเ่ ปน็ ศูนยก์ ลางของวฒั นธรรม ลทั ธิศาสนา และวิชาการ
ดา้ นต่าง ๆ เมืองสุพรรณบรุ ี เป็นศูนย์กลางของกำลงั คนมีพ้นื ฐานทางเศรษฐกิจดี เป็นแหล่งท่สี ำคญั แห่งหนึ่งทีม่ นุษย์ตั้ง
หลักฐานอย่กู นั มาแต่สมัยดึกดำบรรพ์ จงึ มีกำลังคนสะสมมาเรอื่ ย ๆ

ที่ต้ัง ดินแดนแถบนี้อุดมสมบูรณม์ าก อยุธยาเหมาะสำหรบั ทจี่ ะทำการค้ากับต่างประเทศ สามารถติดต่อทาง
ทะเลได้ จากสภาพท่ีตัง้ จงึ ทำให้อยุธยาสามารถคมุ อาณาจักรอน่ื ๆ ใหบ้ ริเวณใกลเ้ คียงไดท้ ้ังหมด เพราะตั้งอยู่ปากแม่นำ้
ทางตะวันตกของอยธุ ยาเปน็ ภเู ขา ทางดา้ นตะวันออกเปน็ ท่ีราบสงู โคราช อยุธยาสามารถท่ีจะกำหนดนโยบายทาง
เศรษฐกิจดว้ ยวธิ ีการผูกขาดทางการค้าและสินค้า

อาณาเขต อยุธยามีเมืองอยู่รอบดา้ น อยุธยาเพงิ่ จะตสี โุ ขทัยไดใ้ น พ.ศ. 1921 โดยขุนหลวงพะง่ัว เมืองลูกหลวง
ซงึ่ เปน็ เมืองสำคญั ของกรงุ ศรอี ยธุ ยาได้แก่ เมืองสพุ รรณบรุ ี เมอื งลพบรุ ี เมอื งพระประแดง และเมอื งนครนายก

กำลังคน จะเหน็ วา่ มกี ฎเกณฑว์ างไวแ้ นน่ อนไม่คลุมเครือ มกี ฎหมายอย่างชัดเจนใช้บงั คับเกยี่ วกับเรื่องผคู้ น
ซ่งึ เปน็ ระบบทเ่ี ขม้ งวดและทารุณมาก คนในกรุงศรอี ยธุ ยาจึงมกั จะหลบหนีไปอย่เู มืองอ่ืน

ลัทธกิ ารปกครอง เร่ืองลทั ธเิ ทวราช ปรากฏอยู่ชดั เจนทส่ี ุด คือเปน็ ลทั ธิการนับถอื ผ้ปู กครองวา่ เปน็ เทวดา
กษตั ริย์พยายามสร้างอำนาจให้แก่ตวั เอง
การเมอื งภายในสมยั กรุงศรอี ยุธยาตอนตน้

เป็นการตอ่ สู้ระหว่างกษัตริย์ 2 ราชวงศ์ คอื ราชวงศ์อู่ทอง และราชวงศ์สุพรรณบุรี ในสมัยน้ันยังไม่มีกฎเกณฑ์ที่
แน่นอนว่าใครจะเปน็ ผู้สืบราชสมบัติ จึงตัดสินกันโดยการใช้กำลังสู้รบกัน โอรสของกษตั รยิ ์กย็ ่อมต้องการที่จะครองราชย์
ต่อจากพระบิดา มักมีการขัดแย้งกันอยู่ตลอดเวลา ขุนหลวงพะง่ัว ซึ่งเป็นอาของพระราเมศวรจึงยกกองทัพมากรุงศรี
อยุธยาเพ่ือแย่งชิงราชสมบตั ิจากพระราเมศวร เมื่อรบชนะก็ขับพระราเมศวรกลับไปลพบุรี ขนุ หลวงพะงั่วครองราชย์ต่อ
มาถึง พ.ศ. 1931 ก็สวรรคต พระเจา้ ทองลนั ครองราชย์ไดเ้ พียง 7 วัน กถ็ ูกพระราเมศวรยกกองทัพมาตแี ละสำเร็จโทษ
พระเจ้าทองลันเสีย แล้วพระราเมศวรข้ึนครองราชย์สืบต่อ ในปเี ดยี วกนั ก็ถูกพระอินทราเช้ือสายราชวงศ์สุพรรณบุรแี ย่ง
ราชสมบัติไปได้ กษัตริย์พระองค์น้ีจึงมีบทบาทสำคัญในความสัมพันธ์กับประเทศจีน ท้ังราชวงศ์อู่ทองและราชวงศ์
สุพรรณบุรีไดแ้ ขง่ กนั ส่งทูตไปเมืองจนี เพือ่ สรา้ งฐานะของตนในกรุงศรีอยุธยา
การขยายอำนาจ

สมัยอยุธยาตอนต้น การแผ่อำนาจไปทางตะวันออกของราชวงศ์อู่ทอง ได้ทำสงครามใหญ่กับเขมร ท่ีสำคัญมีอยู่
3 ครั้งด้วยกนั

คร้ังแรก ในปี พ.ศ. 1912 ตรงกับสมัยปลายรัชกาลพระเจ้าอู่ทอง สาเหตุของสงครามเป็นเพราะ"เขมรแปร
พกั ตร"์

ครั้งท่ีสอง ในปี พ.ศ. 1932 ในสมัยพระราเมศวร ก็ได้ยกทัพไปตีเขมรอีก สาเหตุของสงครามมักจะเป็นสาเหตุ
ทางด้านพรมแดนเป็นสว่ นใหญ่

ครั้งทสี่ าม พ.ศ. 1974 ในสมัยสมเด็จสามพระยาแห่งราชวงศส์ พุ รรณบรุ ี จดั เป็นสงครามสำคญั ท่สี ดุ เพราะ
(1)พระองคส์ ามารถยึดนครหลวงไดอ้ ยา่ งเดด็ ขาด
(2)ทำให้อิทธิพลของเขมรในอยุธยาเพ่ิมมากขึ้น เพราะเมื่อไทยรบชนะเขมร ก็จะจับผู้คนชาวเขมรเข้ามาไว้ใน
อยุธยาเป็นเหตใุ หไ้ ทยไดร้ บั อิทธิพลจากเขมรอย่างมาก
ในปี พ.ศ. 1933 สมัยพระราเมศวร มกี ารลงนามทำสญั ญาเปน็ ไมตรีกนั
สมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ซ่ึงครองราชย์อยู่ 40 ปี มีหนังสือแต่ง ขึ้นสรรเสริญยกยอพระเกียรติของ
พระองค์ ชื่อหนังสือ ลิลิตยวนพ่าย ซึ่งได้ย้ำว่า สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถทรงเป็นกษัตริย์ทวิติวงศ์ คือ มีเช้ือสาย 2
ราชวงศ์ ในตอนนี้พุทธศาสนาเข้ามาเก่ียวข้องกับการเมือง ทรงใช้พุทธศาสนาเป็นส่ือรวมสุโขทัยกับอยุธยาให้เป็น



อาณาจักรเดียวกัน พุทธศาสนาทำให้ท้ังสองเมอื งรวมกันอยา่ งแน่นแฟ้น
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ทรงผนวช ซ่ึงคนทางเหนือถือว่าเป็นส่ิงท่ีดีมาก จัดเป็นการผูกใจของคนสุโขทัยได้

สำเร็จมาถึงปลายสมัยรัชกาลของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระองค์ได้ทรงทำการบูรณะวัดมหาธาตุที่เมืองพิษณุโลก
เป็นการใหญ่ทัง้ หมดนี้กม็ าสำเร็จลงในสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พอถึงสมัยของพระนเรศวร พระองค์กย็ ังทรง
ยอมรับว่า อยุธยาเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรไทย โดยมีสุโขทัยเป็นส่วนหนึ่ง กล่าวโดยสรุปเม่ือถึงสมัยสมเด็จพระบรม
ไตรโลกนาถสงั คมไทยกเ็ ปลยี่ นเป็นอกี แบบหนงึ่ คือ บ้านเมืองได้รวมกันเป็นปึกแผน่
เศรษฐกิจ สังคมและการปกครองสมยั สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

การปกครอง เดิมเป็นแบบจตุสดมภ์ เมื่อถึงสมัยของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ก็มีการต้ังตำแหน่งใหม่เพ่ิม
ข้ึนมา คือ สมหุ นายก และสมหุ กลาโหม

เศรษฐกิจ มีการเก็บภาษีอย่างเข้มงวดมากในรัชกาลน้ี ส่วนสินค้าขาเข้าท่ีรัฐบาลผูกขาด ได้แก่ ถ้วยชาม อาวุธ
ดินปนื กำมะถัน สนิ คา้ เหลา่ นห้ี ้ามเอกชนรับมาขาย ถ้าใครฝา่ ฝืนจะถกู ลงโทษอย่างรนุ แรง

ระบบทางสังคม สำหรับระบบไพร่ สมัยนี้ก็มีกฎเกณฑ์ทเ่ี ก่ียวกับประชาชนท่วั ไปอย่างแน่นอน สังคมไทยขณะน้ัน
ไม่มชี นชนั้ กลาง

ด้วยเหตนุ ี้จึงกลายเป็นการปดิ โอกาสให้ชาวจนี เขา้ มาแทนท่ีได้งา่ ยในสมัยรตั นโกสินทรต์ อนต้น
ความสมั พันธก์ บั ชาวต่างชาติ

การติดต่อสัมพันธ์กันระหว่างอยุธยากับพวกชาวตะวันตกจะแตกต่างจากการติดต่อกับชาวจีน คือ การติดต่อกับ
จนี น้ันจะมีการส่งทูตติดต่อกันในระดับรัฐบาลสาเหตุทที่ ำให้ชาวตะวันตกเดินทางเข้าในเอเชีย อยธุ ยาเปน็ อาณาจักรหนึ่ง
ในเอเชีย ซง่ึ เดิมชาวตะวันตกติดต่อกบั เอเชียโดยทางบก แต่ในคริสต์ศวรรษท่ี 15 จึงเปลี่ยนมาติดต่อโดยทางเรือ ปจั จัยที่
ทำให้ชาวตะวันตกเข้ามาในเอเชยี ไดแ้ ก่

ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจของประเทศยุโรปเป็นระบบเมอแคนทายลิซึม (Mercantilism) คือระบบ
พาณิชย์นิยม ต้องการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อเป็นวัตถุดิบมาป้อนโรงงาน เอเชียเป็นดินแดนอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะมี
เครอื่ งเทศทีช่ าวตะวนั ตกตอ้ งการมาก

ปัจจัยทางศาสนา พวกชาวตะวันตกต้องการเผยแพร่ครสิ ต์ศาสนาของตนให้คนอนื่ ๆ
ออกญาเสนาภิมุข ในสมัยพระเจา้ ทรงธรรมมกี ารใช้ทหารญปี่ ุ่นเปน็ ทหารรกั ษาพระองค์

การเสียกรุงศรอี ยธุ ยาท้ังสองครงั้

สาเหตทุ ี่ทำให้เสียกรุงศรอี ยธุ ยาคร้ังที่ 1 (พ.ศ. 2112) มีประเด็นสำคัญ ๆ ที่ก่อให้เกิดสงครามเสยี กรุงศรีอยธุ ยา
ครั้งท่ี 1 ดงั น้ี

(1)เกิดจากการต่อสู้ของผู้ปกครองด้วยกัน เป็นสงครามการต่อสู้ระหว่างพระมหากษัตริย์ด้วยกัน เพื่อขยาย
อำนาจของตน

(2)การช่วงชิงผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่ช่วงชิงกันในตอนนั้น ก็คือการช่วงชิงไพร่
พล สงครามส่วนใหญ่จะเปน็ สงครามแย่งไพร่พลกนั หรืออาจจะเปน็ การชว่ งชงิ ดินแดนบางแห่งที่อุดมสมบรู ณ์
สาเหตทุ ีท่ ำให้เสียกรงุ ศรีอยธุ ยาครัง้ ท่ี 2 (พ.ศ. 2310) การเสียกรุงศรีอยุธยาคร้งั ทสี่ องอาจกลา่ วไดว้ า่ เ ป็ น ก า ร
เปลี่ยนแปลงครัง้ สำคญั ของประวตั ศิ าสตร์ไทย เพราะทำให้ศนู ย์กลางของอาณาจักรไทยซ่ึงตั้งมา 400 ปี ต้องสูญสลายไป
สาเหตขุ องการสญู เสียกรุงศรีอยุธยาครงั้ ท่ี 2 ไดแ้ ก่

(1)เป็นเรื่องของผู้นำ จะเห็นว่าปัญหาของผู้นำในอยุธยา ซ่ึงช่วงชิงอำนาจกันเองนั้นมีอยู่ตลอดเวลา ก่อนให้เกิด
ปัญหาการสืบทอดทางผู้นำ ซึ่งขาดระเบียบแบแผนในการส่งต่ออำนาจทางการเมือง และเป็นผลทำให้กรุงศรีอยุธยา
อ่อนแอ

(2)เป็นเรื่องทางการทหาร การรบของทหารอยุธยานับว่าอ่อนแอมาก ทหารไม่ชำนาญ นอกจากน้ีสมัยตอน
ปลายอยุธยา ไทยหนั ไปพึง่ ทหารต่างชาติเสยี เป็นส่วนใหญ่ ต้ังแต่รชั กาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช จนถึงเสียกรุงฯ ครั้ง

๑๐

ท่ี 2 ไทยว่างเว้นจากสงครามกับพม่าถึง 95 ปี ทำให้ไทยชะล่าใจไม่ปรับปรุงกองทัพให้ดีข้ึน และไม่ได้สะสมในด้านกำลัง
อาวุธให้มากขน้ึ ทำใหท้ หารของกรุงศรอี ยุธยาอ่อนแอมาก เป็นเหตใุ ห้เสยี กรงุ ฯ ง่าย

(3)เป็นเรื่องเก่ียวกับไพร่พล ในยุคน้ีคนที่เป็นไพร่ถูกกดข่ีมาก ต้องไปทำงานให้กับมูลนายโดยไม่ได้รับ
ผลตอบแทน ตอ้ งทำงานหนกั 6 เดือนต่อปี เม่อื ไพรพ่ ลตอ้ งไดร้ ับความยากลำบากดังกล่าวจงึ ไม่มีกำลังในการรบ

(4) ปัญหาทางเศรษฐกิจ ตอนปลายสมัยกรุงศรีอยุธยาได้เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ ส่ิงที่เห็นได้ชัดคือ การค้ากับ
ตา่ งประเทศมนี อ้ ยมาก

อีกประการหน่ึงที่เกี่ยวโยงกับเศรษฐกิจของอยุธยา คือ รัฐบาลขณะนั้นพยายามที่จะใช้ข้าวมากู้เศรษฐกิจของ
อยุธยา โดยการส่งข้าวไปขายท่เี มืองจีน แต่ข้าวทีส่ ่งไปยังเมืองจีนยังมีปริมาณน้อยมาก เพราะความปั่นป่วนทางการเมือง
ในตอนปลายกรุงศรีอยุธยา การท่ีไทยเพาะปลูกข้าวไม่ค่อยได้ผลในปลายสมัยอยุธยา จากหลักฐานพงศาวดารจะเห็นว่า
ในช่วงก่อนเสียกรุงฯ คร้ังที่สอง ผู้คนอดอยากกันมาก เกิดโจรผู้ร้ายชุกชุม ประชาชนอดอาหารซูบผอมและล้มตายไป
จำนวนมาก ท่ีหนอี อกไปหาพม่ากม็ ี

สมัยกรุงธนบุรแี ละตน้ รัตนโกสินทร์

บทบาทของพระเจา้ ตากกบั การกู้ชาตบิ ้านเมืองจากพม่า
ก่อนเสยี กรุงฯเล็กน้อย พระเจ้าตากเห็นว่าอยธุ ยาไม่มที างเอาชนะพม่าไดแ้ ล้ว จึงออกจากกรงุ ศรีอยุธยามุ่งไปทาง

ตะวนั ออก ทงั้ นี้เพราะทางตะวนั ออกไม่มกี องกำลงั พม่า
ตอนปลายสมัยอยุธยา หัวเมอื งตะวันออกท้ังส่ี ได้แก่ เมืองชลบุรี ระยอง จันทบรุ ี และตราด นัน้ มีคนจีนเขา้ มาตั้ง

หลักแหล่งจำนวนมาก ในแง่น้ีทำให้พระเจา้ ตากมีฐานกำลังคนที่เป็นเชื้อสายจีนอยู่จำนวนมาก เม่ือพระเจ้าตากไปต้ังฐาน
กำลังอยู่ที่เมืองจันทบุรี ส่ิงแรกท่ีทำก็คือ การต่อเรือ เร่ืองเรือเป็นสิ่งสำคัญมากในการกู้ชาติของพระเจ้าตาก กล่าวโดย
สรุป การท่ีพระเจ้าตาก ทรงสามารถปราบปรามพม่ารวมทั้งก๊กต่าง ๆ ของคนไทยได้อย่างรวดเร็วท้ังนี้เพราะทรงอาศัย
ปัจจัย 3 ประการด้วยกันคือ

(1)พระองค์ทรงสามารถควบคมุ กำลงั คนทไ่ี ม่บอบชำ้ จากการสงครามเลยในทางตะวันออกไว้ได้
(2)พระองค์ทรงสามารถคุมคนจีนเอาไว้ได้ ทำให้ได้เงินจากการเร่ียไรจากชาวจีนมาซ้ือข้าวสารจากต่างประเทศ
เพ่อื มาเล้ยี งผูค้ นได้มาก
(3)พระองค์ยังทรงคมุ เส้นทางคมนาคมทางนำ้ ไว้ไดห้ มด

ปญั หาและการฟน้ื ฟูสังคมไทย

ปัญหาเศรษฐกิจ ภายหลังเสียกรุงฯ เรียกได้ว่าเป็นเศรษฐกิจที่อยู่ในสภาพสังคม ซึ่งจะใช้เวลาถึงกว่า 30 ปี จึง
จะแก้ไขได้ การทำสงครามในสมัยพระเจ้าตากและรัชกาลที่ 1 บางคร้ังเป็นการทำสงครามเพ่ือหาอาหารมาเล้ียง
ประชาชน สองสมัยน้ีจึงต้องพยายามจัดการปัญหาเร่ืองข้าวและเร่ืองผู้คน โดยพยายามไปเกล้ียกล่อมผู้คนให้เข้าม าต้ัง
หลกั แหลง่ หรือไปกวาดตอ้ นผคู้ นมาเมอ่ื รบชนะในสงคราม

นโยบายการแก้ปญั หาเรือ่ งขาดคน มกี ารชักชวนให้ชาวต่างชาติเขา้ มาเป็นจำนวนมาก
หลังเสยี งกรงุ ศรีอยธุ ยาครั้งท่ีสองแล้ว มีปญั หาและการฟน้ื ฟสู งั คมอยู่ 4 ประการ พอสรปุ ไดด้ งั น้ี
(1)ปัญหาทางเศรษฐกิจ ช่วงท่ีเศรษฐกิจตกต่ำ เพราะขาดอาหารหลักคือ ข้าว ซึ่งไทยต้องไปนำเอาข้าวมาจากที่อื่นอยู่
ตลอดเวลา
(2)ปญั หาการขาดแคลนกำลังคน ผลสะท้อนของการทำสงครามไทยกับพม่า ทำให้เหลอื คนท่ีพอจะมกี ำลังเข้มแข็งอยู่ทาง
ตะวันออกเท่านั้น จากปัญหาขาดผู้คนข้างต้นทำให้มีการแก้ไขปัญหาโดยเอาคนต่างด้าวเข้ามาโดยเฉพาะอย่างย่ิงคนจีน
ซงึ่ ที่จรงิ กเ็ ป็นกลมุ่ คนท่ีเข้ามาเป็นจำนวนมากตัง้ แตป่ ลายสมยั กรุงศรีอยุธยาแล้ว
(3)ความสิบเนื่องของสงครามหลังจาการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งท่ีสองแล้ว ค่อนข้างจะเด็ดขาดลงไปเลยระหว่างไทยกับ
พม่า คอื ทางกรุงเทพฯ ยึดล้านนาไทยไดเ้ ดด็ ขาด นน่ั คือ กอ่ นเสยี กรุงฯ คร้ังท่ีหน่ึง อาณาจักรล้านนาหรือเชียงใหม่ของพระ
เจา้ มงั รายเป็นอสิ ระ แตห่ ลงั เสยี กรงุ ฯ ก็ยดึ ลา้ นนากลบั คนื มาได้

๑๑

โดยสรุป จากการเสียกรุงศรีอยุธยาท้ังท่ีสองน้ี ทำให้เมืองหลวงของไทยซ่ึงอยู่ท่ีอยุธยาต้องสลายลง และทำให้
ผูน้ ำของไทยต้องย้ายเมอื งหลวงมาอยู่กรงุ ธนบรุ ี ท้งั ยังทำให้เกิดปัญหาแก่ผู้นำไทยในขณะนั้น คือ พระเจ้าตาก และรัชกาล
ที่ 1 ท่จี ะต้องฟ้นื ฟสู ังคมไทยข้ึนมาใหม่

สำหรับการฟ้ืนฟูทางดา้ นวฒั นธรรมท่ีเราจะเรียกได้ว่า สำคัญท่สี ดุ ในแง่ของวรรณคดีหรอื วรรณกรรมน้ัน เปน็ เรอ่ื ง
ของสมัยรัชกาลที่ 1 และรัชกาลท่ี 2 วรรณคดีเหล่านี้ได้แก่ อิเหนา สามก๊ก ราชาธิราช นิทานอิหร่านราชธรรม รัตนพิม
พวงศ์ ไซฮ่ ั่น สงั คตี ิยวงศ์ รามเกยี รติ มหาชาติ กฎหมายตราสามดวง พงศาวดาร

การปกครองและเศรษฐกิจสมัยตน้ รตั นโกสนิ ทร์

การปกครองในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ แบ่งออกเป็นการปกครองส่วนกลางและส่วนภูมิภาค การปกครอง
ส่วนกลางมีกลาโหม มหาดไทย เวียง วัง คลัง นา เป็นหน่วยงานที่สำคัญ ส่วนการปกครองส่วนภูมิภาคเป็นรูปแบบของ
การปกครองหวั เมอื งต่าง ๆ ซ่ึงมีดงั ต่อไปน้ี

การปกครองสว่ นภูมิภาคแบ่งออกเป็น 3 ส่วนสำคัญ คือ กรมกลาโหมทำหน้าท่ีควบคุมดนิ แดนหัวเมืองภาคใต้ถึง
20 เมือง เช่น เมืองสงขลา พัทลงุ นครศรีธรรมราช ไชยา ชุมพร ตะก่ัวป่า เป็นตน้ กรมคลงั ควบคุมหัวเมืองทอี่ ยู่บริเวณ
ชายทะเลตอนใต้ของกรงุ เทพฯ และด้านตะวันออก

สว่ นในเรอ่ื งของการเศรษฐกิจนั้น ในยุคนเี้ ราอาจจะพูดได้วา่ การคา้ ขายกบั เมืองจีนเฟ่ืองฟมู าก แตจ่ ะเปน็ การคา้ ท่ี
รัฐบาลผูกขาด ยุคนี้คนจีนในเมืองไทยเร่ิมท่ีจะเข้ามาควบคุมเศรษฐกิจของเมืองไทยอย่างมากคือ ทำหน้าที่รับสัมปทาน
การผูกขาดการค้าระดับหลวงหรือของราชการ ท่ีเห็นได้ชัด คือ การค้าสำเภา การค้าสำเภานั้นอาจจะทำไปในนามของ
พระยา หรือหลวงอะไรก็ตาม แตค่ นทีด่ ำเนินการค้าจริง ๆ ก็คอื คนจีน

ส่วนเรื่องของคนท่ัวไป การเกณฑ์แรงงานในระบบไพร่ก็จะเริ่มเปล่ียนแปลงไปเรื่อย ๆ คือ แรงงานเกณฑ์จะมี
ความสำคัญน้อยลงทุกที เราอาจจะกลา่ วไดว้ ่า รฐั บาลตอ้ งการเก็บภาษีท่ีเป็นเงินมากกว่าภาษีทเี่ ป็นแรงงาน สมยั นคี้ นท่ไี ม่
ไปทำงานใหห้ ลวงก็ต้องเสียเงนิ แทน

เรื่องการเก็บภาษีอากรในเมืองเหนือ(ไม่รวมหัวเมืองล้านนา) การเก็บภาษีในดินแดนแถบน้ี จะแบ่งเป็นภาษีจาก
การเกษตร และภาษีทเี่ ปน็ ของป่า

ภาษีอีกอย่างหน่ึงก็คือ ภาษีที่ออกมาเป็นตัวเงิน หรือเป็นสินค้าท่ีคนน้ันจะต้องเก็บเอามาให้กับรัฐบาล วิธีการ
เก็บภาษีอากรจะทำโดยการต้ังเจ้าภาษีนายอากรขึ้นมา ซ่ึงส่วนใหญ่แล้วจะเป็นคนจีน คนจีนเหล่านี้ก็จะมาประมูลกัน
ใครประมลู ไดส้ ูงสุดกไ็ ด้รบั มอบใหไ้ ปเก็บภาษี สำหรบั ภาษีท่เี ปน็ นายกองส่วย คำว่า สว่ ย สว่ นใหญจ่ ะเปน็ ของปา่

สรุปแล้วเรื่องของภาษีในตอนต้น คนจีนเข้ามามีบทบาทมาก โดยการเป็นเจ้าภาษีนายอากร และอัตราของการ
จัดเก็บก็ไมแ่ นน่ อน แล้วแตล่ ะทอ้ งที่

ประวัตศิ าสตร์ไทยยคุ สมยั ใหม่

ไทยกบั ลทั ธิอาณานิคม
ประวัติศาสตร์ไทยยุคสมัยใหม่ซ่ึงเป็นพื้นฐานของยุคปัจจุบัน ยุคน้ีจะมีการเปลี่ยนแปลงเพราะมีพวกฝร่ังเข้ามา

คือไทยจะมกี ารตดิ ตอ่ กบั ฝร่งั หรอื ชาวตะวันตกนั่นเอง
การติดต่อกับฝรั่ง ได้มีปรากฏการณอ์ ยา่ งหน่งึ เกดิ ขน้ึ คอื เร่ืองลัทธอิ าณานคิ ม หรือจักรวรรดินยิ ม
สมัยรัชกาลท่ี 2 รัชกาลที่ 3 รัชกาลท่ี 4 ไทยจะเริ่มติดต่อกับฝรั่งอยา่ งมาก นับเปน็ การเรม่ิ ยุคใหม่ของการตดิ ต่อ

กบั ฝรั่ง หลังจากท่ีไดห้ ยุดชะงักไป เมื่อหลงั รชั กาลสมเด็จพระนารายณ์ ปัจจัยสำคัญในการติดต่อกับฝรัง่ ก็คือ เรอ่ื งการค้า
การค้าของเมืองไทยต้ังแต่สมัยอยุธยาจนถงึ ยุคนี้เป็นการคา้ แบบผูกขาด ฝร่ังจึงไม่ได้รับความสะดวก เม่ือฝรงั่ เขา้ มาค้าขาย
ในเมืองไทย จึงยืนยันว่าการค้าขายควรจะต้องเป็นแบบเสรี คือ ประชาชนทั่วไป ก็แง่ท่ีว่าไทยจะค้าขายแบบผูกขาด แต่
ฝร่งั จะใหไ้ ทยคา้ ขายแบบเสรี รชั กาลท่ี 3 ทรงยนื ยันว่าจะไม่เปลยี่ นการคา้ ระบบผกู ขาด

ตอ่ มาเม่ือสมัยรัชกาลที่ 4 การเมอื งแบบจักรวรรดินิยม จะเข้ามาบีบประเทศไทยอย่างมากในแง่ท่ีว่า ถ้าเรามองดู
ประเทศรอบ ๆ ไทยในสมัยน้ัน เราจะเห็นว่าประเทศใกล้เคยี งกับไทยทั้งหลายได้ถูกฝร่ังยดึ ครองไปหมด แม้แต่ญี่ปุ่นเองก็
ถูกฝร่ังบงั คบั ให้เปิดประตกู ารค้า

๑๒

สมัยแหง่ การปฏิรปู
พ.ศ. 2535 รัชกาลที่ 5 ทรงหันไปสร้างคนรุ่นใหม่ โดยการปฏิรูปการศึกษาด้วยการสร้างโรงเรียนขึ้นสำหรับ

ผลิตคนรนุ่ ใหมใ่ ห้เป็นกำลัง นอกจากน้ัน ยงั ให้มกี ารแต่งตำราเรียนขึ้นมา คือ หนังสือมูลบทบรรพกิจ ของพระยาศรสี ุนทร
โวหาร (นอ้ ย อาจาริยางกูร) มีการสร้างพจนานกุ รม การปฏิรปู การศกึ ษา

ส่วนเรื่องการเมืองและการปกครองน้ัน สมัยรัชกาลท่ี 5 ตอนต้น พวกเช้ือพระวงศ์ได้เสด็จไปศึกษาต่างประเทศ
กันเป็นจำนวนมาก เจ้านายและข้าราชการจึงรวมกลุ่มกัน ใน พ.ศ. 2427(ร.ศ.103) ร่วมกันทำหนังสอื ถวายรัชกาลที่ 5
ใหเ้ ปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสสิทธิราช โดยให้มีรฐั ธรรมนูญเป็นหลักในการปกครองเสยี ที แต่การ
เรียกร้องคร้ังน้ีก็ไม่สำเร็จ จนกระทั่งถึงสมัยรัชกาลที่ 6 ก็ออกมาในรูปของกบฏ ร.ศ. 130 (พ.ศ. 2454) อันเป็นกบฏ
ของข้าราชการทหารซึ่งสว่ นใหญ่ยงั มีอายุน้อย จุดประสงค์ของการกบฏคร้ังนี้ ต้องการให้เอาระบอบประชาธปิ ไตยมาใช้ใน
เมืองไทย กลุ่มนายทหารคณะก่อการ ร.ศ. 130 ได้รับการศึกษาสูงพอสมควรทีเดียว อันเป็นผลจากการปฏิรูปการศึกษา
แมก้ ารกบฏคร้งั นจ้ี ะทำไม่สำเร็จ แต่ก็ทำใหเ้ ราทราบว่าความคิดท่จี ะเปลยี่ นแปลงการปกครองมีอยตู่ ลอดเวลา

ผลของการเรียกร้องของกลุ่ม ร.ศ. 103 (พ.ศ. 2427) ก็คือ เกิดการปฏิรูปการปกครองโดยการตั้งกระทรวง
ทบวงกรมข้ึนมา เพอ่ื ที่จะแกป้ ัญหาของไทยในสมัยน้ัน

ผลของการปฏิรูปท่ีมีหัวเมืองท่ีสำคัญมาก ก็คือ ระบบการปกครองแบบเทศาภิบาล เทศาภิบาลหมายถึง การให้
บรรดาเมืองตามต่างจังหวัดท้ังหลาย มาข้ึนกับกระทรวงมหาดไทย ซ่ึงมีการจัดแบ่งเป็นมณฑล การจัดการปกครองแบบน้ี
ทำใหห้ ัวเมอื งไกล ๆ ที่เคยปกครองกันอย่างอสิ ระต้องหมดอำนาจลง

ลทั ธิชาตินิยมก่อตัวขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 เนื่องจากกษัตริย์ซ่ึงเป็นผู้ปกครอง ทรงมองเห็นว่าคนจีนท่ีเข้ามาอยู่ใน
เมืองไทย มีอิทธิพลในเมืองไทยเป็นอย่างมาก และเข้ามาคุมเศรษฐกิจของไทยไว้ได้ ก่อให้เกิดความไม่สบายใจในหมู่
เสนาบดแี ละผ้ปู กครอง

ส่งิ สำคญั ท่ีเกิดขนึ้ ในสมัยรัชกาลท่ี 6 กค็ ือ เกิดภาวะงบประมาณขาดดลุ เป็นครงั้ แรก
พ.ศ. 2463 ไทยเร่ิมขาดดุลงบประมาณเป็นคร้ังแรก แล้วก็ขาดดุลเพิ่มข้ึนทุกที จนส่งผลไปถึงสมัยรัชกาลท่ี 7
ทำให้รัชกาลท่ี 7 ต้องเป็นผู้แก้ไขปัญหานี้ ด้วยวิธีปลดข้าราชการออกบ้าง ลดเงินเดือนข้าราชการลงบ้าง ยุบมณฑล ยุบ
กระทรวงบางกระทรวง แต่ก็แก้ไขอะไรไม่ได้นัก

การปฏิวตั ิ พ.ศ. 2475

การปฏิวัติ พ.ศ. 2475 นี้ บางคนเรียกคณะผู้ทำการปฏิวัติว่ากลุ่มผู้ก่อการ แต่คนกลุ่มน้ีเรียกตัวเองว่า
คณะราษฎร กลุ่มผู้ก่อการคร้ังนี้ส่วนใหญ่ล้วนเป็นคนท่ีอยู่นอกวงราชการมาก่อนทั้งน้ัน ในหมู่ผู้นำของกลุ่มน้ัน มักจะ
เป็นนักเรยี นทุนท่ไี ดไ้ ปศึกษาตอ่ ตา่ งประเทศ แต่เม่ือกลบั มารบั ราชการจะเกิดความขดั แยง้ กับพวกเจ้านายท่ีมผี ้หู นนุ หลงั

การปฏิวัติ พ.ศ. 2475 คณะผู้ก่อการไม่ได้มีกำลังทหารอยู่ในมือแต่อย่างใด หากแต่ไดอ้ าศัยสถานการณ์ท่ีพร้อม
ทีจ่ ะทำการปฏิวัติ จงึ ลงมือประกาศยึดอำนาจ
สาเหตทุ ีก่ ่อใหเ้ กดิ การปฏวิ ตั ขิ ้นึ ใน พ.ศ. 2475 คือ

(1)ความคิดเก่ียวกับประชาธิปไตยไดแ้ พร่หลายอยู่ในหมู่ของชนชั้นนำ หรอื ชนช้ันผู้ปกครอง ความคิดมาพร้อม
กบั อิทธิพลของตะวันตกและลัทธิอาณานิคมเป็นความคิดที่คนต้องการเอามาใช้กับเมืองไทย จึงแสดงออกในรูปของกบฏ
ร.ศ. 130 (พ.ศ. 2454)

(2)เกิดข้าราชการชนชั้นกลางที่เป็นสามัญชน หมายถึง ผู้ที่เรียกหนังสือเก่งแล้วเข้ามามีบทบาททางการเมือง
เนือ่ งจากการศกึ ษาแบบสมัยใหมช่ กั นำเข้ามา

(3)เกิดความรู้สึกชาตินิยมขึ้นมาในหมูข่ องคนรุ่นใหม่ คิดว่า เพราะระบอบการปกครองแบบเก่า จึงทำให้ประเทศ
ไม่เจริญ เพราะฉะน้ันจึงคิดท่ีจะเปล่ียนแปลงการปกครองเสียใหม่ เพ่ือให้ชาติก้าวหน้า จึงเกิดการปฏิวัติ พ .ศ. 2475
ขน้ึ

๑๓

(4)ฐานะทางเศรษฐกิจตกต่ำของประเทศนับเป็นสาเหตุสำคัญท่ีทำให้เกิดการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 ท้ังนี้สืบ
เน่ืองมาจากการขาดดุลงบประมาณมาต้ังแต่สมัยรัชกาลที่ 6 และเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำท่ัวโลก อีกในสมัยรัชกาลที่ 7
ซ่ึงส่งผลกระทบตอ่ ระบบเศรษฐกิจของไทยอย่างรุนแรง

สรุปได้ว่า การปฏิวัติ พ.ศ. 2475 เป็นการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่สำคัญมาก เพราะเป็นการ
เปลีย่ นแปลงการปกครองไปในแงท่ ีว่ ่าดึงเอาอำนาจของพระมหากษัตรยิ ม์ าอย่ใู ตร้ ฐั ธรรมนญู

๑๔

บทท่ี 3
วธิ ีการประเมินโครงการ

การดำเนนิ โครงการครั้งนี้เปน็ การประเมนิ โครงการค่ายเรียนรูป้ ระวัติศาสตรช์ าติไทยและบญุ คณุ ของ
พระมหากษัตริยไ์ ทย ไดจ้ ัดทำโครงการนี้ขน้ึ ซ่งึ มเี นือ้ หาและสาระสำคัญเก่ียวกบั วธิ ีการดำเนนิ การ ดังนี้คือ ประชากร
เครื่องมือที่ใช้ การเก็บรวบรวมข้อมูล และวธิ กี ารวิเคราะห์ผล ตามลำดับดงั นี้

กลมุ่ ประชากร

ประชากรในการดำเนนิ โครงการค่ายเรียนร้ปู ระวัตศิ าสตร์ชาติไทยและบญุ คณุ ของพระมหากษัตริย์ไทยคือ นักศึกษา

กศน.ตำบลหม่ืนไวย จำนวน ๔๖ คน

เครือ่ งมือท่ีใช้ในการดำเนินโครงการ

เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ได้แก่ แบบสอบถาม (Questionnair) ทีผ่ ้ดู ำเนินโครงการไดส้ ร้างขึน้ โดย
ศึกษาคน้ คว้าจากการทบทวนวรรณกรรมตา่ ง ๆ ท่เี ก่ยี วข้อง ส่วนแบบสอบถาม แบ่งออกเปน็ 3 ตอน ดังนี้

ตอนท่ี 1 แบบสอบถามเกยี่ วกบั ข้อมลู ทว่ั ไป ของกลุ่มตัวอย่าง ไดแ้ ก่ ระดับการศึกษา เพศ อายุ อาชพี
กลมุ่ เปา้ หมาย

ตอนท่ี 2 แบบสอบถามความคิดเหน็ เกี่ยวกบั กระบวนการจัดการเรยี นรู้ จำนวน 1๔ ขอ้ แบ่งได้ดังน้ี
ดา้ นวทิ ยากร จำนวน ๖ ข้อ
ดา้ นสถานที/่ ระยะเวลา/อาหาร จำนวน ๔ ข้อ
ดา้ นความรู้ความเข้าใจ จำนวน ๒ ข้อ
ด้านการนำความรู้ไปใช้ จำนวน 2 ขอ้
ลักษณะเปน็ แบบสอบถามชนดิ มาตราส่วนประมาณคา่ ตามแบบของลเิ คิร์ท (Likert’s Scale) มี 5 ระดบั
ดว้ ยกนั คือ
1 หมายถงึ ต้องปรับปรุง
2 หมายถงึ ควรปรับปรงุ
3 หมายถงึ ปานกลาง
4 หมายถึง ดี
5 หมายถงึ ดมี าก
ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกย่ี วกบั ข้อเสนอแนะการดำเนนิ โครงการค่ายเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร์ชาติไทยและบญุ คุณ
ของพระมหากษตั ริยไ์ ทย

การเก็บรวบรวมขอ้ มูล

การเก็บรวบรวมข้อมลู จากเครอ่ื งมือ โดยเกบ็ จาก นักศึกษา กศน.ตำบลหมืน่ ไวย จำนวน ๔๖ คน

วิธกี ารวเิ คราะหผ์ ล

การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ท่เี ปน็ ข้อมูลเชงิ ปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพดำเนนิ การ 2 ขน้ั ตอนดังน้ี
1. การวเิ คราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณจากแบบสอบถาม ดังน้ี

1.1 ขอ้ มลู จากแบบสอบถามของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยหาค่าเฉล่ีย (ˉx ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.)
1.2 ขอ้ มลู จากแบบสอบถามเกี่ยวกบั กระบวนการจดั การเรยี นรู้ขอ้ มูลโดยหาค่าเฉลี่ย (ˉx ) คา่ ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน (S.D.)

๑๕

สถิตทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล
ผ้ปู ระเมินได้นำขอ้ มูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ขอ้ มูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย (ˉx ) ค่าส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.)

1) ค่าเฉล่ีย (Mean) หรอื เรยี กวา่ ค่ากลางเลขคณิต ค่าเฉล่ีย ค่ามชั ฌิมเลขคณิต เปน็ ต้น

X = x

n
เมอื่ X แทน คา่ เฉล่ยี

X แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดของกลมุ่
n แทน จำนวนของคะแนนในกลุ่ม
2) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เป็นการวดั การกระจายที่นยิ มใช้กันมากเขียนแทนด้วย S.D.

S.D. = (X - X)2
n–1

หรือ
S.D. = nX2 - (X)2
n(n – 1)

เมอ่ื S.D. แทน ค่าสว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน
X แทน คา่ คะแนน
n แทน จำนวนคะแนนในแตล่ ะกล่มุ
 แทน ผลรวม

๑๖

บทท่ี 4

ผลการประเมินโครงการ

ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู โครงการคา่ ยเรยี นรปู้ ระวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษตั ริย์ไทย

จำนวน ๔๖ คน สรุปได้ดังน้ี

ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลความพึงพอใจของผู้เรียน

ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการค่ายเรยี นรปู้ ระวตั ิศาสตรช์ าติไทยและบุญคณุ ของ

พระมหากษัตริยไ์ ทย เกณฑก์ ารตัดสนิ และพจิ ารณาแบบสอบถามประเมนิ ความพึงพอใจ โดยใช้ scale 5 ระดับ หรือทเี่ รียกว่า

วัดเจตคตติ ามเทคนคิ ของ ลิเคิร์ท (Likert technique) หรือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับของลิเคริ ท์ สเกล

ถอื เกณฑ์พจิ ารณาจากระดับคะแนนเฉลีย่ จากค่าคะแนนดงั น้ี

4.21 – 5.00 หมายถึง ผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมมคี วามพงึ พอใจระดับ มากท่สี ดุ

3.41 – 4.20 หมายถึง ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมมีความพงึ พอใจระดับ มาก

2.61 – 3.40 หมายถึง ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพงึ พอใจระดับ ปานกลาง

1.81 – 2.60 หมายถงึ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจระดับ น้อย

1.00 – 1.80 หมายถึง ผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมมคี วามพึงพอใจระดับ น้อยทสี่ ดุ

ตอนท่ี 1 ตารางแสดงผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู สว่ นตวั ของผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ

ตารางท่ี 1.1 แสดงขอ้ มูลระดับการศกึ ษาของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ จำแนกตามระดับชน้ั

ระดบั การศึกษา จำนวน ร้อยละ

ประถมศึกษา ๒ 5.0

มธั ยมศึกษาตอนต้น ๒๓ ๕๗.๕

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย ๑๕ 37.5

จากตารางท่ี 1.1 แสดงข้อมลู ระดบั การศึกษาของผู้เขา้ ร่วมโครงการ จำแนกตามระดับช้ัน พบว่าผเู้ ข้ารว่ ม

กจิ กรรมส่วนใหญเ่ ปน็ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ นักศึกษา จำนวน ๒๓ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๕๗.๕ เปน็ นกั ศกึ ษาระดบั

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน ๑๕ คน คดิ เป็นร้อยละ 37.5 และระดบั ประถมศึกษา จำนวน ๒ คน คิดเปน็ ร้อยละ

5.0ตามลำดับ

ตารางที่ 1.2 แสดงขอ้ มูลเพศของผเู้ ข้าร่วมโครงการ จำแนกตามเพศ

เพศ จำนวน รอ้ ยละ

ชาย ๑๙ ๔๗.๕

หญิง ๒๑ ๕๒.๕

จากตารางท่ี 1.2 แสดงขอ้ มูลเพศของผูเ้ ข้าร่วมโครงการ จำแนกตามเพศ พบวา่ ผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรมส่วนใหญเ่ ปน็

เพศหญงิ จำนวน ๒๑ คน คดิ เป็นร้อยละ ๕๒.๕ เป็นนกั ศึกษาเพศชาย จำนวน ๔๗.๕ คน คดิ เป็นร้อยละ ๔๗.๕ ตามลำดบั

ตารางที่ 1.3 แสดงข้อมลู อายุของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ จำแนกตามระดบั อายุ

ระดบั อายุ จำนวน รอ้ ยละ

ต่ำกว่า ๒๐ ปี ๕ ๑๒.๕

๒๐ – ๓๐ ปี ๒๖ ๖๕.๐

๓๑ – ๔๐ ปี ๕ ๑๒.๕

๔๑ – ๕๐ ปี ๔ ๑๐.๐

82 ปขี นึ้ ไป

จากตารางท่ี 1.3 แสดงข้อมูลอายุของผ้เู ข้ารว่ มโครงการ จำแนกตามระดบั อายุ พบวา่ ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมสว่ น

ใหญ่มอี ายรุ ะหว่าง ๒๐ – ๓๐ ปี จำนวน ๒๖ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๖๕.๐ อายรุ ะหว่าง ๓๑ – ๔๐ ปีและตำ่ กวา่ ๒๐ ปี

จำนวน ๕ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๑๒.๕ และอายุระหว่าง ๔๑ – ๕๐ ปี จำนวน ๔ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐.๐ ตามลำดบั

๑๗

ตารางตอนที่ ๒ แสดงจำนวนความคดิ เห็นของผู้เข้ารว่ มกิจกรรมโครงการค่ายเรียนร้ปู ระวตั ศิ าสตร์ชาติไทยและ
บญุ คุณของพระมหากษตั ริย์ไทย ขอ้ มูลจากผู้ตอบแบบสอบถาม จำนวน ๔๖ คน

รายการประเมิน มากท่ีสดุ ระดบั ความคิดเหน็ (ร้อยละ) น้อยที่สุด
มาก ปานกลาง นอ้ ย
ด้านวิทยากร ๖๒.๒๒ -
1. การถา่ ยทอดความร้ขู องวิทยาการมีความ ๖๘.๕๖ ๓๒.๗๘ ๕ - -
ชดั เจน ๕๗.๒๒ ๓๑.๔๔ - -
2. ความสามารถในการอธิบายเนื้อหา ๖๕.๘ ๓๓.๕๘ ๙.๒๐ - -
3. การเชื่อมโยงเนอ้ื หาในการฝกึ อบรม ๔๗.๒๓ ๒๒.๑ ๑๒.๑ - -
4. มีความครบถ้วนของเนื้อหาในการฝกึ อบรม ๕๗.๔๒ ๔๐.๕๒ ๑๒.๒๕ - -
5 .การใชเ้ วลาตามทกี่ ำหนดไว้ ๔๐.๐๕ ๒.๕๓ -
6. การตอบข้อซักถามในการฝึกอบรม ๕๙.๕๓ - -
ดา้ นสถานท/่ี ระยะเวลา/อาหาร ๔๑.๖๗ -
๑. สถานท่สี ะอาดและมีความเหมาะสม ๖๑.๓๒ ๓๒.๒๓ ๘.๒๔ -
๔๗.๒๓ ๒๙.๖๙ ๒๘.๖๔ - -
2. ความพรอ้ มของวสั ดุ อุปกรณ์ ๓๒.๔๙ ๖.๑๙ -
3. ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม ๕๗.๑๓
๔. อาหาร มีความเหมาะสม ๖๒.๒๓ ๔๐.๕๒ ๑๒.๒๕
ด้านความรู้ความเข้าใจ
๑. สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยกุ ตใ์ ช้ให้ ๓๙.๐๒ ๓.๘๕ -
เหมาะสมตามบริบทของพ้ืนที่ ๓๔.๗๑ ๓.๐๖ -
๒. เหน็ ช่องทางการพัฒนาอาชีพดา้ นการเกษตร

จากตารางตอนที่ ๒ ผลการวิเคราะห์การแสดงความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่ ความคิดเห็นส่วนใหญ่ของ
นักศึกษา ท่ีมีต่อการจัดโครงการค่ายเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย อยู่ในระดับมาก
ท่ีสดุ ซงึ่ สามารถจดั ลำดับตามคะแนนท่ีไดด้ งั นี้ (ตามระดับความคดิ เห็นมากท่ีสุดของแตล่ ะขอ้ )

๑. คะแนน อันดบั ท่ี ๑ คือ ความสามารถในการอธิบายเน้ือหา
๒. คะแนน อันดบั ที่ ๒ คอื มีความครบถ้วนของเน้ือหาในการฝึกอบรม
๓. คะแนน อนั ดบั ท่ี ๓ คือ เหน็ ชอ่ งทางการพัฒนาอาชพี ดา้ นการเกษตร
๔. คะแนน อนั ดับท่ี ๔ คอื การถ่ายทอดความรู้ของวิทยาการมีความชัดเจน
๕. คะแนน อนั ดบั ที่ ๕ คือ ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม
๖. คะแนน อันดับที่ ๖ คือ สถานทีส่ ะอาดและมคี วามเหมาะสม
๗. คะแนน อนั ดับที่ ๗ คือ การตอบข้อซักถามในการฝกึ อบรม

๑๘

๘. คะแนน อนั ดับท่ี ๘ คือ การเชือ่ มโยงเน้ือหาในการฝึกอบรม
๙. คะแนน อนั ดบั ท่ี ๙ คอื สามารถนำความร้ทู ี่ได้ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ หมาะสมตามบริบท

๑๐.คะแนน อนั ดับท่ี ๑๐ ของพนื้ ท่ี
๑๑.คะแนน อันดับท่ี ๑๑ คือ การใช้เวลาตามท่กี ำหนดไว้และอาหาร มคี วามเหมาะสม
คอื ความพรอ้ มของวสั ดุ อปุ กรณ์

จากตารางตอนท่ี ๓ แสดงจำนวนความพึงพอใจของผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมโครงการค่ายเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยและ
บุญคุณของพระมหากษัตริยไ์ ทย ขอ้ มูลจากผตู้ อบแบบสอบถาม จำนวน ๔๖ คน ดังน้ี

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ การแปลผล
ร้อยละ คา่ เฉลยี่ (X)

ด้านวทิ ยากร

1. การถา่ ยทอดความรู้ของวิทยาการมีความชัดเจน ๘๙.๕๔ ๔.๕๕ ดีมากท่สี ุด/เหมาะสมมากที่สุด

2. ความสามารถในการอธิบายเน้ือหา ๙๑.๘๑ ๔.๖๔ ดีมากทส่ี ุด/เหมาะสมมากทส่ี ุด

3. การเชอื่ มโยงเน้ือหาในการฝกึ อบรม ๘๖.๔๐ ๔.๓๗ ดีมาก/เหมาะสมมาก

4. มคี วามครบถว้ นของเน้ือหาในการฝกึ อบรม ๙๐.๒๑ ๔.๕๔ ดมี ากท่สี ดุ /เหมาะสมมากทีส่ ุด

5 .การใช้เวลาตามทกี่ ำหนดไว้ ๘๕.๓๓ ๔.๓๕ ดมี าก/เหมาะสมมาก

6. การตอบข้อซักถามในการฝึกอบรม ๘๙.๕๔ ๔.๕๕ ดมี ากที่สุด/เหมาะสมมากทส่ี ุด

ดา้ นสถานที/่ ระยะเวลา/อาหาร

๑. สถานท่ีสะอาดและมีความเหมาะสม ๘๙.๐๒ ๔.๕๑ ดมี าก/เหมาะสมมาก

2. ความพรอ้ มของวัสดุ อุปกรณ์ ๙๑.๒๘ ๔.๖๓ ดีมากทีส่ ดุ /เหมาะสมมากท่สี ุด

3. ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม ๘๒.๖๑ ๔.๑๓ ดมี าก/เหมาะสมมาก
๔. อาหาร มคี วามเหมาะสม ๘๙.๖๖ ๔.๕๓ ดมี ากที่สดุ /เหมาะสมมากท่สี ุด

ด้านความรู้ความเขา้ ใจ ๘๒.๖๑ ๔.๑๓ ดมี าก/เหมาะสมมาก
๙๓.๒๔ ๔.๗๑ ดมี ากที่สุด/เหมาะสมมากทีส่ ุด
๑. ความรู้ ความเขา้ ใจในเรื่องนี้ กอ่ น การอบรม
๒. ความรู้ ความเขา้ ใจในเรื่องนี้ หลงั การอบรม

ด้านการนำความร้ไู ปใช้

๑. สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมตามบริบท ๘๒.๖๑ ๔.๑๓ ดมี าก/เหมาะสมมาก
ของพ้ืนท่ี ๔.๓๗ ดีมาก/เหมาะสมมาก

๒. เหน็ ชอ่ งทางการพฒั นาอาชพี ด้านการเกษตร ๘๖.๔๐

จากตารางที่ ๓ การวิเคราะห์และแปลผลความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมจำนวน ๔๖ คน

ทมี่ ีต่อการอบรมคร้งั นี้

๑๙

๑. การถา่ ยทอดความรู้ของวทิ ยาการมคี วามชดั เจน การแสดงความคดิ เห็นอยใู่ นระดับ
ดมี ากท่สี ุด/เหมาะสมมากท่ีสุด ( X ) = ๔.๕๕ คิดเป็นรอ้ ยละ ๘๙.๕๔

๒. ความสามารถในการอธิบายเน้อื หา การแสดงความคิดเห็นอยใู่ นระดบั ดีมากที่สดุ /เหมาะสมมากทส่ี ดุ
มากท่สี ุด ( X ) = ๔.๖๔ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๑.๘๑

๓. การเชือ่ มโยงเนื้อหาในการฝึกอบรม การแสดงความคิดเห็นอยูใ่ นดมี าก/เหมาะสมมาก ( X ) = ๔.๓๗
คดิ เป็นร้อยละ ๘๖.๔๐

๔. มคี วามครบถ้วนของเน้ือหาในการฝกึ อบรม การแสดงความคิดเห็นอยใู่ นระดับดีมากท่ีสดุ /เหมาะสมมาก
ท่สี ุด ( X ) = ๔.๕๔ คิดเป็นร้อยละ ๙๐.๒๑

๕. การใชเ้ วลาตามท่ีกำหนดไว้ การแสดงความคดิ เห็นอยใู่ นดีมาก/เหมาะสมมาก ( X ) = ๔.๓๕ คดิ เปน็
ร้อยละ ๘๕.๓๓

๖. การตอบขอ้ ซักถามในการฝึกอบรม การแสดงความคิดเห็นอยูใ่ นระดับดีมากที่สุด/เหมาะสมมากทีส่ ุด
( X ) = ๔.๕๕ คิดเปน็ ร้อยละ ๘๙.๕๔

๗. สถานทีส่ ะอาดและมีความเหมาะสม การแสดงความคดิ เห็นอยู่ใน ดีมาก/เหมาะสมมาก ( X ) = ๔.๕๑
คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๙.๐๒

๘. ความพร้อมของวัสดุ อปุ กรณ์ การแสดงความคิดเห็นอยู่ใน ระดบั ดีมากที่สดุ /เหมาะสมมากท่สี ุด ( X ) =
๔.๖๓ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๑.๒๘

๙. ระยะเวลาในการอบรมมคี วามเหมาะสม การแสดงความคิดเหน็ อยใู่ นระดับดีมาก/เหมาะสมมาก ( X ) =
๔.๑๓ คิดเป็นร้อยละ ๘๒.๖๑

๑๐.อาหาร มีความเหมาะสม การแสดงความคดิ เห็นอย่ใู นระดับดมี ากทส่ี ุด/เหมาะสมมากท่ีสุด
( X ) = ๔.๕๓ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๙.๖๖

๑๑.ความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองนี้ ก่อน การอบรม การแสดงความคดิ เห็นอยใู่ นระดับดมี าก/เหมาะสมมาก ( X
) = ๔.๑๓ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๒.๖๑

๑๒.ความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองนี้ หลัง การอบรม การแสดงความคิดเหน็ อยู่ในระดับดมี ากทส่ี ุด/เหมาะสมมาก
ทส่ี ุด ( X ) = ๔.๗๑ คิดเปน็ ร้อยละ ๙๓.๒๔

๑๓. สามารถนำความรู้ที่ได้ไปประยุกตใ์ ชใ้ ห้เหมาะสมตามบริบทของพื้นท่ี อบรม การแสดงความคดิ เหน็ อยู่ใน
ระดับดมี าก/เหมาะสมมาก ( X ) = ๔.๑๓ คิดเปน็ รอ้ ยละ ๘๒.๖๑

๑๔. เหน็ ช่องทางการพัฒนาอาชีพดา้ นการเกษตร การแสดงความคดิ เห็นอยูใ่ นดมี าก/เหมาะสมมาก ( X ) =
๔.๓๗ คดิ เปน็ ร้อยละ ๘๖.๔๐

๒๐

๒๑

บทท่ี 5
สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การประเมินผลโครงการในครั้งนม้ี วี ัตถปุ ระสงค์เพื่อประเมินความคิดเหน็ ของผู้เข้าร่วมโครงการค่ายเรยี นรู้
ประวัตศิ าสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย

สรุปผลการประเมินโครงการ

จากผลการจัดกจิ กรรมโครงการคา่ ยเรียนรปู้ ระวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทยและบญุ คณุ ของพระมหากษตั รยิ ์ไทย
ระหว่างวันท่ี ๒๔ มิถุนายน ๒๕๖1 ณ ตำบลหม่นื ไวย อำเภอเมอื งนครราชสีมา จงั หวัดนครราชสีมา มีวตั ถุประสงค์
เพื่อใหเ้ กดิ ความรกั ความภาคภูมิใจในชาติบา้ นเมืองของตน คือทำใหเ้ รารู้ถึงความเสยี สละของบรรพบุรุษท่ีได้สรา้ ง
บ้านเมืองมา รักชาตบิ า้ นเมอื งไวด้ ้วยชีวิต สรา้ งสมวัฒนธรรมอันดงี ามมาส่รู นุ่ ลูกหลานจงึ กอ่ ใหเ้ กดิ ความภมู ิใจ รกั หวงแหน
มรดกทบี่ รรพบรุ ุษทิ้งไว้ ตอ้ งการทจ่ี ะอนรุ กั ษ์และสบื สานสิง่ ทด่ี งี ามไปยังคนรนุ่ ลูกรุน่ หลานของเราต่อไป ทำใหเ้ ข้าใจ
ทัศนคติของผู้อ่ืน การศกึ ษาประวัติศาสตร์ช่วยใหเ้ ราเข้าใจความคดิ ความรสู้ ึกของคนในสังคมต่างๆ และในเวลาตา่ ง ๆ กัน
ทำให้ได้บทเรียนจากประวตั ิศาสตร์ เหตุการณ์หรอื พฤติกรรมของมนุษย์ในอดีตย่อมมที งั้ ด้านดีและดา้ นรา้ ย พฤติกรรมใด
ทน่ี ำความเสียหายมาสู่สังคมส่วนรวมในอดตี ซึ่งอาจสง่ ผลรา้ ยมาส่ปู จั จบุ นั และเชอ่ื มโยงไปถึงอนาคตด้วย เราก็จำไว้เป็น
บทเรยี น ไม่สร้างความเสื่อมเสยี เชน่ นนั้ อีก เหตุการณห์ รอื พฤติกรรมในทางดี เรากน็ ำมาเปน็ แบบอยา่ งในการประพฤติ
ปฏบิ ัติ ทำให้เราเขา้ ใจในปจั จุบนั ชัดเจนขึ้น การเรียนร้วู า่ ชาติหรือประเทศของเราน้นั มีที่มาจากไหน มีพัฒนาการมา
อยา่ งไร มีวฒั นธรรมด้ังเดมิ เป็นอย่างไร และเปลยี่ นแปลงไปเพราะอะไร ซงึ่ จะทำใหเ้ รารู้จักตัวเองและเขา้ ใจสังคม
ปจั จุบันได้ดยี งิ่ ขึ้น ทำใหไ้ ดฝ้ ึกทักษะที่จำเป็น ฝึกทักษะท่เี ป็นประโยชนซ์ งึ่ นำมาใชใ้ นการเรียนวชิ าอ่ืนและนำไปใชใ้ น
ชวี ิตประจำวันได้

เคร่อื งมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบประเมนิ ความพึงพอใจ และใชว้ ธิ ีคดิ วเิ คราะหข์ ้อมูลโดยการหาค่า
ร้อยละผลจากการประเมนิ ความพงึ พอใจตอ่ การจดั การจดั กิจกรรม ผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรมมีความพึงพอใจในรูปแบบกิจกรรมมี
ความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย เน้ือหาสอดคลอ้ งกับสภาพปญั หาและความต้องการ ของกลุ่ม เนอ้ื หามคี วามทนั สมัย
ตรงตามสภาพของสังคมปัจจุบนั กจิ กรรมสง่ เสริมให้ผูเ้ รียน คิดเป็น ทำเปน็ แก้ปัญหาเป็น กิจกรรมส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรียน มคี วาม
สนุ ทรีย์ (นันทนาการ) กิจกรรมเปน็ ไปตามลำดบั ขั้นตอน วิทยากรมีความรูค้ วามชำนาญในการจดั กิจกรรม การถา่ ยทอด
ความรู้ของวิทยากรเขา้ ใจงา่ ย วทิ ยากรมกี ารใช้สอ่ื ที่หลากหลาย สถานทจ่ี ัดกจิ กรรมมีบรรยากาศทเี่ อื้อต่อการเรียนรู้
ความเหมาะสมของเวลาในการจดั กิจกรรมความรทู้ ไี่ ด้รบั มีประโยชนส์ ำหรับนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวัน การอำนวยความ
สะดวก/การให้บริการของครูกระบวนการจดั กิจกรรมตรงกับวตั ถปุ ระสงค์โครงการ เวลาและสถานทสี่ ำหรับการให้บริการมี
ความเหมาะสม ได้รับความรู้หรอื ประโยชนจ์ ากกระบวนการจัดกิจกรรมทุกขน้ั ตอน สามารถนำความรจู้ ากการเขา้ รว่ ม
กิจกรรมไปใช้ในการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและในชีวติ ประจำวนั ได้ และวิทยากรให้คำแนะนำและวธิ ี
แกป้ ญั หาได้ถูกต้อง อยใู่ นระดับดีมาก

ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลการประเมินไปใช้

- จะนำผลการประเมนิ ท่ีได้จากการประเมนิ ไปพฒั นาโครงการในคราวตอ่ ไป

๒๒

บรรณานกุ รม

ความเปน็ มาของชาติไทย.ทม่ี า http://office. bangkok.go.th/doh/daptd/Knowledge knowledge001.html.
(ออนไลน์).วันที่สบื คน้ 28 สงิ หาคม 60.

๒๓

ภาคผนวก

๒๔

แบบสอบถามความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รบั การอบรม
ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑

โครงการค่ายเรียนรปู้ ระวัติศาสตรช์ าติไทยและบุญคณุ ของพระมหากษัตริย์ไทย

กศน.ตำบลหมน่ื ไวย

......................................................................................................................................................................................

วตั ถุประสงค์ แบบสอบถามความคิดเห็นฉบับนท้ี ำขึน้ โดยมวี ตั ถุประสงค์เพื่อสอบถามความคดิ เห็นของผูเ้ ขา้ รับการอบรมตามโครงการฯ
ถงึ ผลกระทบทเ่ี กดิ ประโยชนแ์ ละสร้างคณุ คา่ โดยจะใชเ้ ป็นข้อมูลในการปรับปรุงในการจัดโครงการครั้งต่อไปใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากยง่ิ ขึ้น

คำอธิบาย แบบประเมินฉบับน้มี ที ้งั หมด ๓ ตอน ขอใหผ้ ู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมตอบแบบประเมินให้ครบทงั้ ๓ ตอน เพือ่ ให้ดำเนินโครงการ
เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงค์ และเพือ่ เปน็ ประโยชน์ในการนำไปใช้ต่อไป

ตอนท่ี ๑ สถานภาพทัว่ ไป

คำชแี้ จง โปรดใสเ่ ครอื่ งหมาย / ลงในช่อง หน้าขอ้ ความ

1. เพศ ชาย หญงิ

๒. อายุ ตำ่ กวา่ ๒๐ ปี ๒๐ – ๓๐ ปี ๓๑ – ๔๐ ปี ๔๑ – ๕๐ ปี 82 ปขี ้นึ ไป

๓. การศกึ ษา

ประถมศกึ ษา มธั ยมศกึ ษาหรือเทียบเท่า อนปุ ริญญาหรือเทียบเทา่

ปรญิ ญาตรี สูงกวา่ ปริญญาตรี

๔. อาชีพ

เกษตรกร รบั จา้ งทว่ั ไป ธุรกจิ สว่ นตัว อ่นื ๆ...................................

ส่วนที่ 2 ระดับความพงึ พอใจ/ความร้คู วามเขา้ ใจ/การนำไปใช้ ตอ่ การเข้ารว่ มโครงการ

คำชแ้ี จง โปรดใสเ่ ครือ่ งหมาย / ลงในช่องที่ตรงกับความพงึ พอใจ/ความรคู้ วามเข้าใจ/การนำไปใช้

ของทา่ นเพียงระดับเดยี ว

ประเดน็ ความคดิ เห็น ระดบั ความพงึ พอใจ/ความรคู้ วามเข้าใจ/การนำไปใช้
มากทส่ี ดุ 5 มาก ๔ ปานกลาง ๓ น้อย ๒ นอ้ ยที่สดุ ๑

ด้านวิทยากร
1. การถ่ายทอดความรู้ของวิทยาการมคี วามชดั เจน
2. ความสามารถในการอธิบายเนอื้ หา
3. การเชอื่ มโยงเน้อื หาในการฝกึ อบรม
4. มคี วามครบถว้ นของเนอื้ หาในการฝกึ อบรม
5 .การใชเ้ วลาตามท่ีกำหนดไว้
6. การตอบข้อซกั ถามในการฝึกอบรม
ด้านสถานที/่ ระยะเวลา/อาหาร
๑. สถานทส่ี ะอาดและมคี วามเหมาะสม
2. ความพร้อมของวสั ดุ อุปกรณ์
3. ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม
๔. อาหาร มคี วามเหมาะสม
ด้านความรคู้ วามเข้าใจ
๑. ความรู้ ความเข้าใจในเรอ่ื งนี้ กอ่ น การอบรม
๒. ความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ืองนี้ หลงั การอบรม
ดา้ นการนำความรไู้ ปใช้
๑. สามารถนำความร้ทู ่ไี ด้ไปประยกุ ต์ใช้ใหเ้ หมาะสมตามบริบทของพนื้ ท่ี

๒. เห็นช่องทางการพฒั นาอาชีพดา้ นการเกษตร

ตอนท่ี๓ ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ...........................................................................................................................................................................

๒๕

คณะผดู้ ำเนินโครงการ

1. นางกรแกว้ แบบกลาง ผอ.กศน.อำเภอเมืองนครราชสมี า ทีป่ รึกษาโครงการ
2. นางสาวจฬิ ติกาล พลบตั ิ
หวั หนา้ กศน.ตำบลหม่ืนไวย กรรมการ/เลขานกุ าร


Click to View FlipBook Version