The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการค่ายมหกรรมผลงานวิชาการ สุดยอด กศน. (Best Practice)”
วันที่ 1๒ กันยายน 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mueang, 2022-04-13 21:39:30

รายงานผลการดำเนินงานโครงการค่ายมหกรรมผลงานวิชาการ สุดยอด กศน. (Best Practice)

โครงการค่ายมหกรรมผลงานวิชาการ สุดยอด กศน. (Best Practice)”
วันที่ 1๒ กันยายน 2562



รายงานผลการดำเนินงาน

โครงการคา่ ยมหกรรมผลงานวชิ าการ สุดยอด กศน. (Best Practice)”

วันท่ี 1๒ กนั ยายน 2562

จัดทำโดย
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองนครราชสีมา

สำนกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
จงั หวัดนครราชสีมา

สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
สำนกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
ปีการศึกษา 2563



คำนำ

โครงการคา่ ยมหกรรมผลงานวชิ าการ สดุ ยอด กศน. (Best Practice)” ในวันท่ี 1๒ กนั ยายน 2562
จัดขึ้นโดยมวี ัตถปุ ระสงค์ เพ่ือใหน้ ักศึกษาหลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชพี มพี นื้ ฐานความรเู้ พยี งพอกับ
การศกึ ษาในระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ และมคี วามรู้ความสามารถทางด้านวิชาการ สามารถนำความรู้ท่ี ได้รบั
ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันและเปน็ ต้นแบบได้
ขอขอบคุณ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมืองนครราชสีมาทีจ่ ดั สรร
งบประมาณในการฝกึ อบรมวิชาชีพในคร้ังน้ี และขอขอบคุณวิทยากร ทใ่ี ห้ความรใู้ นการดำเนิน ทำใหก้ าร
ดำเนินงานบรรลุผลตามเป้าหมายท่กี ำหนด ซ่ึงมปี ระโยชน์ตอ่ ผทู้ ี่เขา้ รว่ มโครงการ และผู้เกยี่ วข้อง สำหรบั ใชใ้ นการ
พฒั นางาน ให้มีความก้าวหน้าตอ่ ไป

ผู้ดำเนินงาน
กศน.อำภอเมืองนครราชสีมา

สารบัญ ๑

เรอ่ื ง หน้า
คำนำ
บทท่ี 1 บทนำ 1
บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง 7
บทท่ี 3 วิธีการดำเนินงาน 8
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล 10

บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 14



บทที่ 1
บทนำ

๑. ช่อื โครงการพัฒนาคุณภาพผ้เู รยี น “มหกรรมผลงานวิชาการ สุดยอด กศน. (Best Practice)”

๒. สอดคล้องนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานของสำนกั งาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕62
2.1. แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ 20 ปี
ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การจดั การศึกษาเพ่อื ความม่นั คงของสงั คมและประเทศชาติ
ขอ้ 2.1 คนทุกชว่ งวยั มีความรกั ในสถาบนั หลักของชาติ และยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มี
พระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวยั และการสร้างคมแห่งการเรียนรู้
2.2 นโยบายและจดุ เน้นกระทรวงศึกษาธกิ าร ปงี บประมาณ 2562
1. ประชาชนทุกกลม่ วัย ไดร้ ับการศึกษาในระบบต่าง ๆ และการเรียนรู้ตลอดชวี ิต
2. เรียนรูด้ ว้ ยวธิ กี าร Active Learning เน้นพัฒนาทักษะกระบวนการคิด การเรยี นร้จู ากสถานการณ์จรงิ สถานการณ์

จำลอง กิจกรรมการเรยี นรู้จากปัญหาและการลงมือปฏบิ ตั ิ สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทกุ เวลาและเรียนรอู้ ย่างมคี วามสุข
3. จดั การเรยี นรู้ทีห่ ลากหลาย ท่ีเชอื่ มโยงส่อู าชีพและการมีงานทำ

2.3 นโยบายและจุดเนน้ สำนักงาน กศน. ปงี บประมาณ 2562
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 ยุทธศาสตร์ด้านความม่ันคง
ขอ้ 1.1 พฒั นาและเสรมิ สรา้ งความจงรักภักดตี อ่ สถาบนั หลกั ของชาติ
ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 ยุทธศาสตรด์ ้านการพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์

2.4 สอดคล้องกบั มาตรฐาน กศน. มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น/ผ้รู ับบรกิ าร
ตวั บง่ ชีท้ ี่ 1.1 ผู้เรยี นการศึกษาข้ันพนื้ ฐานมคี ุณธรรม

๓. หลกั การและเหตุผล
สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (สำนักงาน กศน.) ได้กำหนดนโยบาย

และจุดเนน้ การดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ขึ้นตามบทบัญญัติแหง่ กฎหมายวา่ ด้วยการสง่ เสริมการศกึ ษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือเป็นกรอบทิศทางและเครื่องมือในการดำเนนิ งานตามบทบาทหน้าทใ่ี นการ
ส่งเสรมิ สนับสนุนและประสานงานการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยในอันทีจ่ ะเพมิ่ และกระจายโอกาส
ทางการศึกษาให้ประชาชนกลุ่มเปา้ หมายไดร้ ับการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อย่างท่ัวถงึ และมีคุณภาพ
เพือ่ ยกระดบั การศึกษาพัฒนาทกั ษะการเรยี นรู้ของทุกกลมุ่ เปา้ หมาย ให้เหมาะสมทุกชว่ งวัยและสรา้ งสงั คมแห่งการเรยี นรู้
ตลอดชีวิต รวมทงั้ การดำเนินกจิ กรรมของศูนย์การเรยี นและแหลง่ เรยี นรู้อ่ืนในรูปแบบตา่ ง ๆ การพัฒนาหลกั สตู ร รปู แบบ
การจัดกิจกรรมการเรียนรูส้ ื่อและนวตั กรรม การวัดผลและการประเมนิ ผลในทุกรูปแบบให้สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทในปจั จุบัน
การจดั รูปแบบการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน การศึกษาต่อเน่ืองและการศึกษาตามอธั ยาศัยที่มีคณุ ภาพ
อยา่ งเทา่ เทียมและทัว่ ถึง เป็นไปตามสภาพ ปัญหาและความต้องการของแต่ละกลุม่ เปา้ หมาย การสร้างเสรมิ และปลกู ฝัง
คณุ ธรรม จริยธรรมและความเป็นพลเมืองอันนำไปสกู่ ารยกระดับคุณภาพชวี ิตและเสรมิ สร้างความเข้มแข็งให้ชมุ ชน



เพอื่ พัฒนาไปสู่ความมัง่ คงและยัง่ ยนื ทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวตั ศิ าสตร์และส่ิงแวดล้อม ส่งเสริมใหม้ ีนสิ ัยรกั
การอา่ นเพื่อการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง การใช้เทคโนโลยที ่ีเหมาะสม สามารถคิด วิเคราะห์และประยุกตใ์ ช้ใน
ชีวิตประจำวนั รวมท้ังแก้ปญั หาและพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ได้อยา่ งสร้างสรรค์และเพ่ือให้ได้รบั โอกาสและการเรียนรู้ตลอดชวี ติ
อยา่ งมีคณุ ภาพ

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมอื งนครราชสีมา ได้ดำเนนิ การจดั กิจกรรมตามกรอบ
นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ไดค้ รบทกุ กิจกรรม ครบทุกกลุ่มเปา้ หมาย มีผล
การดำเนนิ งานเชิงประจกั ษ์ ทำให้เกดิ การจดั การเรียนการสอนได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล เปน็ แบบอย่าง
และต้นแบบที่ดีสามารถนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้ ดังน้นั ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมอื ง
นครราชสมี า จงึ ได้จดั ทำโครงการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รียน “มหกรรมผลงานวิชาการ สดุ ยอด กศน. (Best Practice)” ข้ึน
เพือ่ ให้เกดิ ความรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของทุกกิจกรรมเสริมสร้างให้นำความรู้และแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ไปพฒั นา
คณุ ภาพชีวติ ให้ดยี ่งิ ขึน้ ตอ่ ไป

๔. วตั ถุประสงค์
4.1 เพ่อื ให้ความรู้ความเขา้ ใจในการดำเนนิ งานของทกุ กจิ กรรม
4.2 เพอื่ แลกเปลยี่ นเรียนรจู้ ากประสบการณ์จรงิ ในการฝกึ ปฏบิ ัติและนำความรู้ไปใชใ้ นชีวติ ประจำวันได้
4.3 เพ่ือเผยแพร่ผลงานวิชาการของ กศน.อำเภอเมืองนครราชสีมา ให้กับกลุ่มเป้าหมาย หน่วยงานและประชาชน

ไดท้ ราบ

๕. เปา้ หมาย
๕.๑ เชิงปริมาณ (Output)
1. ครูและบุคลากร กศน.อำเภอเมอื งนครราชสมี า จำนวน 100 คน
2. นักศกึ ษา กศน.อำเภอเมืองนครราชสมี า จำนวน 1,000 คน
๕.๒ เชงิ คณุ ภาพ (Outcome)
5.1 นกั ศกึ ษามีความร้คู วามเขา้ ใจในการดำเนนิ งานของทกุ กจิ กรรม
5.2 นกั ศกึ ษาสามารถแลกเปลย่ี นเรยี นรู้จากประสบการณ์จริงในการฝกึ ปฏิบตั แิ ละนำความร้ไู ปใช้ในชีวติ ประจำวนั

ได้



๖. วธิ ดี ำเนินการ

กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย พน้ื ท่ีดำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ
-
1.ขออนุมัติ - เพื่ออนุมัติ 1. ครแู ละ 5 คน กศน.อำเภอ สิงหาคม -
โครงการฯ โครงการ บุคลากร กศน. เมอื งนครราชสมี า 2562
งบประมาณและ - เพื่อขออนุมตั ิ อำเภอเมือง งบประมาณ
หลักเกณฑ์ การจัดกิจกรรม นครราชสมี า
ตามโครงการฯ

2.แตง่ ตัง้ - เพ่อื วาง - คณะกรรมการ 10 คน กศน.อำเภอ สิงหาคม

คณะกรรมการดำเนิน แผนการ ดำเนินโครงการ เมืองนครราชสีมา 2562
โครงการประชมุ ดำเนินการ และภาคี
คณะกรรมการดำเนิน โครงการ เครือข่าย

โครงการฯ และภาคี - ตดิ ตอ่

เครอื ข่าย ประสานงานเพือ่

กำหนด

ระยะเวลาและ
สถานท่ใี นการ
อบรม

กจิ กรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เปา้ หมาย พนื้ ท่ดี ำเนนิ การ ระยะเวลา

- งานหลกั สูตร
ประกาศนียบัตร
วิชาชพี (ปวช) (Best

Practice)
2.2 การจัดการศกึ ษา
ตอ่ เนือ่ ง (สาธติ )
- การศึกษาเพ่ือพัฒนา
อาชพี ของ 7 ตำบล

(Best Practice)
- การศึกษาเพ่ือพัฒนา
ทกั ษะชีวิต ของ 6
ตำบล (Best
Practice)
- การศึกษาเพื่อพัฒนา

สังคมและชมุ ชน
ของ 6 ตำบล (Best



Practice)

- การจดั กระบวนการ

เรียนรตู้ ามหลกั

ปรัชญาของเศรษฐกจิ

พอเพยี ง ของ 6 ตำบล

(Best Practice)

2.3 การศกึ ษาตาม

อัธยาศัย

- หอ้ งสมุดประชาชน”

“เฉลมิ ราชกมุ ารี”

-ห้องสมุดประชาชน

จงั หวัดนครราชสีมา

-หนงั สือลอ่ งหน...ตาม

รอยพ่ออย่างพอเพยี ง

2.4 งานภาคเี ครอื ข่าย

- เรือนจำกลาง

นครราชสีมา

พธิ กี าร พิธกี รรม

พิธีกร ด้านศาสนา

ธรรมเสวนา

- ร.23 พนั 1

ค่ายสรุ ธรรมพทิ ักษ์

กิจกรรมหลัก วัตถปุ ระสงค์ กลมุ่ เป้าหมาย เปา้ หมาย พน้ื ทดี่ ำเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ

4.วดั และประเมินผล เพอื่ วัดและ ผรู้ บั ผิดชอบ 5 คน กศน.อำเภอ 13 กันยายน

โครงการ/สรุปผลการ ประเมนิ ผล โครงการ เมอื งนครราชสมี า 2562

ดำเนินงาน โครงการและ

สรุปผลการ

ดำเนินงาน

๗. วงเงนิ งบประมาณทัง้ โครงการ

แผนงาน : ยุทธศาสตรพ์ ฒั นาการศึกษาเพือ่ ความยั่งยนื โครงการสนบั สนุนค่าใชจ้ ่ายในการจัดการศึกษาต้ังแตร่ ะดบั

อนุบาลจนจบการศึกษาขัน้ พื้นฐาน งบเงินอุดหนุน ค่าจัดการเรยี นการสอน ภาคเรยี นท่ี 1/2562 รหสั

2000233016500608 หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 จำนวนเงิน

321,088 บาท (สามแสนสองหม่ืนหนงึ่ พนั แปดสิบแปดบาทถ้วน) รายละเอียดดังนี้



1. ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 วนั ๆ ละ 5 คนๆ ละ 6 ชม.ๆ ละ 600 บาท เปน็ เงนิ 18,000 บาท

2. คา่ อาหารกลางวนั ครู จำนวน 100 คนๆ ละ 1 มือ้ ๆ ละ 80 บาท เปน็ เงนิ 8,000 บาท

3. คา่ อาหารวา่ งและเครอื่ งดื่มครู จำนวน 100 คนๆ ละ 2 ม้ือๆ ละ 25 บาท เป็นเงนิ 5,000 บาท

4. ค่าอาหารกลางวนั นกั ศกึ ษา จำนวน 1,000 คนๆ ละ 1 มือ้ ๆ ละ 70 บาท เป็นเงนิ 70,000 บาท

5. ค่าอาหารวา่ งและเครื่องด่ืม จำนวน 1,000 คนๆ ละ 2 มือ้ ๆ ละ 20 บาท เปน็ เงิน 40,000 บาท

6. คา่ บนั ทึกการเรียนรู้ จำนวน 1,000 เลม่ ๆ ละ 25 บาท เปน็ เงิน 25,000 บาท

7. คา่ เช่าเครื่องเสยี ง จำนวน 1 ชุดเล็ก จำนวน 1 วนั เปน็ เงิน 4,500 บาท

5. คา่ วัสดุ เป็นเงิน 150,588 บาท

รวมเป็นเงินทัง้ ส้ิน (ขอถัวจา่ ยตามทจ่ี า่ ยจริง) เปน็ เงิน 321,088 บาท

๘. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ

กิจกรรมหลกั ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4
ต.ค. – ธ.ค. 61 ม.ค. – ม.ี ค. 62 เม.ย. – ม.ิ ย. 62 ก.ค. – ก.ย. 62
1.ขออนมุ ัติโครงการฯ งบประมาณและ
หลกั เกณฑ์ -- - /
2.แตง่ ตง้ั คณะกรรมการดำเนินโครงการ
ประชุมคณะกรรมการดำเนนิ โครงการฯ -- - /
และภาคเี ครือขา่ ย
3. ดำเนินการจัดโครงการฯ -- - 321,088.-

4.วดั และประเมนิ ผลโครงการ/สรุปผลการ - - - /
ดำเนินงาน

๙. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองนครราชสีมา

๑๐. เครอื ขา่ ย
สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั นครราชสมี า

๑๑. โครงการท่เี ก่ียวข้อง
1. โครงการอบรมพัฒนาบุคลากร
2. โครงการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน



๑๒. ผลลพั ธ์
นกั ศกึ ษามีความรู้ความเขา้ ใจในการดำเนนิ งานของทุกกิจกรรม สามารถแลกเปล่ียนเรียนรู้จากประสบการณ์จรงิ ในการ

ฝึกปฏบิ ัตแิ ละนำความรู้ไปใชใ้ นชีวิตประจำวนั ได้
13. ตวั ชว้ี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ

๑๓.๑ ตวั ช้ีวดั ผลผลติ (Output)
ร้อยละ 100 ของนกั ศึกษากศน.มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในการดำเนนิ งานของทุกกจิ กรรม

๑๓.๒ ตัวช้ีวดั ผลลพั ธ์(Outcome)
ร้อยละ 85 ของนกั ศึกษากศน.สามารถแลกเปลยี่ นเรยี นรู้จากประสบการณ์จรงิ ในการฝึกปฏิบัติ

๑๔. การติดตามผลและประเมินผลการดำเนินงาน
๑๔.๑ แบบประเมนิ ผลโครงการ
๑๔.๒ แบบสอบถามความพงึ พอใจ



บทที่ 2
เอกสารท่เี กยี่ วขอ้ ง

ในยุคของศตวรรษที่ 21 น้ี สถานการณ์โลกมีความแตกต่างจากศตวรรษท่ี 20 และ 19 โดยเฉพาะระบบการศึกษา
ต้องมีการพฒั นาใหส้ อดคล้องกบั ภาวะความเป็นจรงิ ได้แก่ทกั ษะการเรียนร้นู วัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สอื่ เทคโนโลยี
ทักษะชวี ิตและอาชพี ในความหมายของทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมน้ัน หมายถงึ การมคี วามคิดสร้างสรรค์ มคี วาม
สนใจและใสใ่ จนวตั กรรม มวี จิ ารณญาณ มีการแกป้ ัญหาเป็น สอ่ื สารดี และมคี วามรว่ มมืออยา่ งเต็มใจ คุณลักษณะท่ี
เยาวชนพงึ มีในโลกยคุ ใหม่น้ี ไม่เพียงแต่การเล่าเรียนในห้องเรยี นหรือสถานศึกษา แต่จำเปน็ ตอ้ งขยายกลายเปน็ ชมุ ชนทีใ่ หญ่
ขึ้น (Greater Community) ผเู้ รียนตอ้ งมีคุณลกั ษณะเป็นผู้ชี้นำตนเองได้ ( Self-directed)

ทกั ษะจำเป็นที่คาดหวังสำหรับทศวรรษท่ี 21 ท่มี กี ารฝึกการเรยี นรแู้ บบสหวทิ ยาการ บรู ณาการ โดยเฉพาะทักษะ
สารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี ( Information, Media and Technology Skills) จะเกิดขึ้นไดจ้ ากการได้ร่วมการเรยี นรู้
การทำงานเปน็ ทีม การคิดเชงิ วิพากษ์ (Critical Thinking) ในปญั หาทีซ่ ับซ้อน การนำเสนอดว้ ยวาจา และด้วยการเขยี น
การใช้เทคโนโลยี ความเปน็ พลเมืองดี การฝึกปฎบิ ตั อิ าชีพและการวจิ ยั ในประเทศสหรฐั อเมรกิ าแนวคิดเร่ือง “ทักษะแห่ง
อนาคตใหม่ การเรียนร้ใู นศตวรรษท่ี ๒๑” ได้ถูกพัฒนาข้ึน โดยภาคส่วนท่ีเกิดจากวงการนอกการศกึ ษาประกอบด้วย
บรษิ ทั เอกชนช้นั นำขนาดใหญ่ เช่น บรษิ ัทแอปเปล้ิ บรษิ ัท ไมโครซอฟ บริษทั วอล์ดสิ นยี ์ องค์กรวชิ าชพี ระดบั ประเทศและ
สำนักงานดา้ นการศึกษาของรัฐ รวมตวั และก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความรว่ มมือเพอื่ ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21
(Partnership for 21st Century skills หรอื เรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21 ( เมษายน 28,2560
Kannikasunatda.blogspot.com22017204221.html.) หน่วยงานดงั ที่กล่าวนี้ มคี วามกงั วลและเหน็ ความจำเป็นที่
เยาวชนจะตอ้ งมีทักษะสำหรับการออกไปดำรงชวี ติ ในโลกศตวรรษที่ 21ท่ีเปล่ียนไปจากเดิม จงึ ได้พฒั นาวิสัยทัศนแ์ ละ
กรอบความคดิ เพ่ือการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ขน้ึ สามารถสรปุ ทักษะสำคญั อย่างย่อๆที่เด็กและเยาวชนควรมีได้ว่า “ทักษะ
การเรียนรแู้ ละนวัตกรรมหรอื 3R และ 4C ซึ่งมีองคป์ ระกอบดงั นี้ 3R ได้แก่ Reading (การอา่ น)”writing (การเขียน)และ
คณติ ศาสตร์ (Arithmetic) และ 4C คือ Critical Thinking (การคิดวิเคราะห์) Communication (การส่อื สาร)
Collaboration (การรว่ มมอื ) และ Creativity (ความคิดสร้างสรรค์ รวมถงึ ทักษะชีวติ และอาชีพและทกั ษะดา้ นสารสนเทศ
สอื่ และเทคโนโลยี และการบรหิ ารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่

คำนยิ าม Best Practice หมายถึง การกระทำส่ิงใดก็ตามใหส้ ำเรจ็ อนั เน่ืองมาจากการนำความรไู้ ปใช้ใน
กระบวนการ แล้วสรปุ ออกมาเป็นแนวปฏิบตั ทิ ่ีดที ี่สุด (ที่มา: จากองคก์ ารถ่ายทอดความรูแ้ ละเปน็ สว่ นร่วมกับงานวิจัย
โปรตอนจากทวปี ยโุ รป: Googl



บทท่ี 3
วธิ ีการดำเนินงาน

รายงานโครงการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น “มหกรรมผลงานวิชาการ สดุ ยอด กศน. (Best Practice)” คร้ังนเ้ี ป็น
การรายงานผลการดำเนินงานเพือ่ ให้ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมืองนครราชสีมา ได้ทราบ
ผลการดำเนนิ การจดั กจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนทีต่ อบสนองความต้องการและสอดคลอ้ งกับบรบิ ทของผ้เู รียนมีข้อมูลใน
การวางแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียนในภาคเรียนต่อไป
ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน

การดำเนนิ โครงการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น “มหกรรมผลงานวิชาการ สดุ ยอด กศน. (Best Practice)”
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองนครราชสมี า ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖2
มีวิธกี ารดำเนนิ งานดงั น้ี

๑. เขียนแผน สถานศึกษาได้รบั มอบหมายให้ กลมุ่ งานทร่ี ับผดิ ชอบ จดั ทำแผน เพ่ือขออนญุ าตจดั กจิ กรรม
พร้อมท้ังดำเนนิ การต้งั แต่เริ่มดำเนนิ การจนกระทั้งสน้ิ สุดกิจกรรม

๒. ประชุมครู วันที่ 11 มถิ นุ ายน ๒๕๖2 ณ. หอ้ งประชมุ กศน.อำเภอเมืองนครราชสีมา
๓. ดำเนินการตามแผน

๓.๑ มอบหมายให้งานให้งานแต่ละงานดำเนนิ การวางแผนการจัดกิจกรรมตามที่ได้รบั มอบหมาย
๓.๒ การจดั เตรียมเอกสารและแบบประเมินผลกจิ กรรม
๓.๓ ประสานงานกล่มุ เป้าหมาย เพือ่ เข้ารว่ มโครงการ ตามวนั และเวลาท่กี ำหนประสาน
วทิ ยากรและสถานทจ่ี ัดกิจกรรม
๓.๔ รับรายงานตัว แจกเอกสาร
๓.๕ รบั ผดิ ชอบการเบกิ – จ่ายเงินในการจัดกจิ กรรม
๓.๖ การจดั หา สื่อ เอกสารประกอบการเรยี นและสรุปรายงานผลโครงการ

ประชากรกลุ่มตวั อยา่ ง
๑. ประชากรของการรายงานโครงการ ไดแ้ ก่ ผเู้ รียนหลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับประถมศึกษา มธั ยมศึกษา
ตอนต้น มัธยมศึกษาตอนปลายและระดบั ประกาศนยี บัตร ปวช.

ทล่ี งทะเบยี นเรยี น ในภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 จำนวน ๒๐๐๐ คน
๒. กลุ่มตวั อยา่ งของการรายงานโครงการ ใชก้ ลมุ่ ประชากรเป็นกลุ่มตัวอย่าง คือ ผูเ้ รยี นหลักสตู รการศึกษานอกระบบ ระดับ

ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลายและระดับประกาศนียบัตร ปวช.ทล่ี งทะเบียน ในภาคเรยี นท่ี 1 ปี
การศกึ ษา ๒๕๖2 จำนวน ๑๐๐๐ คน

เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการประเมิน
เครอื่ งมอื ท่ีใช้ในการประเมนิ ผลครัง้ นีเ้ ปน็ แบบสอบถามแบง่ เป็น ๓ ตอนคอื

ตอนที่ ๑ ข้อมลู ทว่ั ไปที่เก่ยี วกบั ผ้ตู อบแบบสอบถาม
ตอนที่ ๒ ข้อมูลความคิดเหน็ เกีย่ วกบั การดำเนินงานกิจกรรม ด้านหลักสตู ร ดา้ นการจัดกิจกรรม การเรียนรู้



ด้านวทิ ยากร ดา้ นส่อื วสั ดแุ ละอุปกรณ์ ด้านการรำความร้ไู ปใช้
ตอนท่ี ๓ ข้อเสนอแนะ

การสรา้ งเครือ่ งมือ
สรา้ งแบบสอบถามความคดิ เหน็ และความพึงพอใจ คณะผูท้ ำรายงานผล นำแบบสอบถามซึ่งเป็นการสอบถาม

ความพึงพอใจและความคิดเห็นของการดำเนนิ โครงการ

การเก็บรวบรวมข้อมูล
ในการดำเนินการเก็บรวบรวมขอ้ มูล คณะผู้ทำรายงานผล นำแบบสอบถามซึ่งเป็นการสอบถามความพงึ พอใจและ

ความคดิ เห็นของการดำเนนิ โครงการ

การวิเคราะหข์ อ้ มูล
การวิเคราะห์ข้อมูล คณะทำงานดำเนนิ งานโดยการนำเอาข้อมูลที่ได้จากการทดลองจากกลมุ่ ตัวอยา่ งและ

แบบสอบถามที่ไดจ้ ากกลุม่ ตัวอยา่ งมาวิเคราะห์หาคา่ ดว้ ยโปรแกรมสำเรจ็ รปู SPSS/PC+ Window (Statical Packang for
the Science/Personal Computer Plus Window) ทงั้ นี้ไดด้ ำเนินการดงั นี้

1. ตรวจสอบความถูกต้องสมบรู ณข์ องผลการทดลองแบบสอบถามที่ไดร้ บั คนื มา
2. นำขอ้ มลู จากแบบสอบถามท่ีสมบรู ณ์มาวิเคราะห์ดังนี้

2.1 วิเคราะห์ข้อมลู จากแบบสอบถามความคิดเห็นและความพงึ พอใจ ในส่วนที่ 1 คดิ เป็นค่าร้อยละ
2.2 วิเคราะห์ข้อมลู จากแบบสอบถามความคดิ เห็นและความพงึ พอใจ โดยการหาคา่ เฉลี่ย ( x ) และคา่ ร้อยละ
ตามรายการในแบบสอบถามเป็นรายขอ้ รายดา้ นและภาพรวม นำเสนอผลวเิ คราะห์ข้อมูลในรปู ของตารางและการบรรยาย
โดยใช้เกณฑ์การแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลีย่ โดยการเปรยี บเทยี บกับเกณฑ์การประเมินมาตรฐานการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสำนักงาน กศน. 5 ระดบั ดงั นี้

ค่าเฉลย่ี 4.51 – 5.00 หมายถงึ เหน็ ด้วยและพงึ พอใจในระดบั มากท่ีสดุ
คา่ เฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง เห็นด้วยและพงึ พอใจในระดบั มาก
ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง เหน็ ดว้ ยและพึงพอใจในระดบั ปานกลาง
ค่าเฉลย่ี 1.51 – 2.50 หมายถงึ เห็นด้วยและพึงพอใจในระดับน้อย
ค่าเฉลี่ย 0.00 – 1.50 หมายถึง เห็นด้วยและพงึ พอใจในระดับน้อยทส่ี ดุ

๑๐

บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมลู

ในการรายงานผลผเู้ รียนหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ ระดับประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอน
ปลายและระดับประกาศนียบัตร ปวช. โดยมีวตั ถุประสงค์

4.1 เพื่อใหค้ วามรู้ความเข้าใจในการดำเนินงานของทุกกจิ กรรม
4.2 เพ่อื แลกเปล่ยี นเรยี นร้จู ากประสบการณจ์ รงิ ในการฝกึ ปฏิบัตแิ ละนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
4.3 เพอ่ื เผยแพร่ผลงานวชิ าการของ กศน.อำเภอเมืองนครราชสมี า ให้กบั กลมุ่ เปา้ หมาย หนว่ ยงานและประชาชน
ไดท้ ราบ ในจำนวนนเ้ี ปน็ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 1๐๐0 คน จัดกจิ กรรมในวันท่ี 1๒ กันยายน 2562 ผูร้ ับผิดชอบ
โครงการได้นำเสนอ ผลการประเมินโครงการ จำนวน 3 ตอน ดังนี้

ตอนที่ 1 ตารางแสดงข้อมลู พ้ืนฐานของผู้เขา้ รับการอบรม
ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รบั การอบรม
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอ่นื ๆ

ตอนท่ี 1 ตารางแสดงข้อมลู พื้นฐานของผู้เข้ารับการอบรม
ตารางท่ี 1 ผลการประเมนิ โครงการแสดงขอ้ มูลพ้นื ฐานของผเู้ ข้ารบั การอบรม

รายการ จำนวน รอ้ ยละ

เพศ ๔1๐ 42.50
ชาย ๕๙๐ 57.50
หญงิ

อายุ ๔2๐ 4๒.๐0
15 - 25 ปี 4๔๐ ๔๔.00
26 - 35 ปี ๗๐ ๗.00
36 - 45 ปี ๖๐ 6.๐0
46 - 59 ปี ๑๐ ๑.๐๐
๖๐ ปี ข้นึ ไป

อาชีพ 1๐๐ ๑๐.๐0
เกษตร ๕15 5๑.๕0
รับจ้าง ๒๐ ๒.๐๐
รบั ราชการ ๒๖๐ ๒๖.๐0
คา้ ขาย ๑๐๕ ๑๐.๕๐
อ่นื ๆ

๑๑

จากตารางท่ี 1 พบว่า ผู้เขา้ โครงการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี น “มหกรรมผลงานวิชาการ สุดยอด กศน. (Best
Practice)” ของศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนครราชสมี า ในวนั ที่ 1๒ กนั ยายน
2562 จำนวน 1๐๐0 คน ส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง จำนวน ๕๙๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๕๗.๕0 เพศชาย จำนวน ๔๑๐ คน
คดิ เป็นร้อยละ ๔๒.50 ในชว่ งอายุ 15 – 25 ปี จำนวน ๔2๐ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ๔๒.๐0 ในช่วงอายุ 26 – 35 ปี
จำนวน 4๔๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ 4๔.00 ในช่วงอายุ 36 – 45 จำนวน ๗๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๗.๐0 ในชว่ งอายุ 46 –
59 ปี จำนวน ๖๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๖.๐0 อายุ 60 ปี จำนวน ๑๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑.๐๐ ในด้านอาชพี มีผู้
ประกอบอาชีพเกษตร จำนวน 1๐๐ คน คดิ เปน็ ร้อยละ ๑๐.๐0 อาชีพรบั จ้าง จำนวน ๕15 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 5๑.๕0
รับราชการ จำนวน 2๐ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.70 อาชีพค้าขาย จำนวน 2๖๐ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๒๖ และอนื่ ๆ ๑๐๕
คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐.๕
ตอนที่ 2 ความพึงพอใจของผ้เู ขา้ รับการอบรม
ตารางท่ี 2 ผู้เรยี นที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการจัดการเรียนรู้

ดา้ นกระบวนการจัดการเรียนรู้ ระดบั ความพึงพอใจ
X . S.D. การแปลผล
1. การใหบ้ รกิ ารของเจ้าหน้าท่ี 4.79 0.43 มากท่สี ดุ
2. การลงทะเบยี น
3. พธิ ีการและขนั้ ตอนการดำเนินการมคี วามเหมาะสม 4.76 0.48 มากทส่ี ดุ

รวม 4.76 0.50 มากที่สดุ
4.77 0.04 มากทส่ี ดุ

จากตารางท่ี 2 พบว่า ผู้เขา้ โครงการพฒั นาคุณภาพผ้เู รียน “มหกรรมผลงานวชิ าการ สุดยอด กศน. (Best
Practice)”มีความพึงพอใจในดา้ นกระบวนการจัดการเรียนรู้ อยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ ( X = 4.77, S.D. = 0.04) เมอ่ื
พจิ ารณาเปน็ รายข้อพบว่า ความพงึ พอใจมากทสี่ ุดอยูใ่ นระดับมากที่สุด คือ การให้บริการของเจ้าหนา้ ที่ ( X = 4.79, S.D.
= 0.43) การลงทะเบยี น ( X = 4.76, S.D. = 0.48) พิธีการและข้นั ตอนการดำเนนิ การมีความเหมาะสม ( X = 4.77,
S.D. = 0.04)
ตารางที่ 3 ผเู้ รยี นท่เี ข้าร่วมกจิ กรรมมีความพึงพอใจด้านวิทยากร

ดา้ นวิทยากร ระดบั ความพึงพอใจ
X . S.D. การแปลผล
1. วทิ ยากรในการให้ความรู้มีความเหมาะสม 4.82 0.39 มากทส่ี ดุ
2. การถ่ายทอดความรู้ของวิทยากรมีความชัดเจน
3. ลำดับเนื้อหาการบรรยายเขา้ ใจงา่ ยมีความต่อเนื่อง 4.83 0.38 มากทีส่ ดุ
4. เปดิ โอกาสให้นกั ศึกษา/ผเู้ ขา้ อบรมไดซ้ ักถาม
5. การตอบคำถามตรงประเด็นและเข้าใจงา่ ย 4.83 0.40 มากทสี่ ุด
6. การสรปุ ประเดน็ เนอื้ หา
4.84 0.37 มากทีส่ ุด
รวม 4.79 0.41 มากที่สุด
4.80 0.42 มากท่สี ดุ
4.82 0.02 มากทส่ี ุด

๑๒

จากตารางที่ 3 พบว่า ผู้เข้าโครงการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รยี น “มหกรรมผลงานวชิ าการ สุดยอด กศน. (Best
Practice)”มีความพึงพอใจในดา้ นวิทยากร อยู่ในระดบั มากท่สี ุด ( X = 4.85, S.D. = 0.01) เมอ่ื พิจารณาเปน็ รายข้อ
พบว่า ความพึงพอใจมากทีส่ ุดอย่ใู นระดบั มากท่สี ุด คือ เปดิ โอกาสให้นกั ศึกษา/ผูเ้ ข้าอบรมไดซ้ ักถาม ( X = 4.84, S.D. =
0.37) การถา่ ยทอดความรู้ของวทิ ยากรมีความชัดเจน ( X = 4.83, S.D. = 0.38) ลำดบั เน้ือหาการบรรยายเขา้ ใจงา่ ยมี
ความตอ่ เนื่อง ( X = 4.83, S.D. = 0.40) วทิ ยากรในการให้ความรู้มีความเหมาะสม ( X = 4.82, S.D. = 0.39) การ
สรปุ ประเดน็ เนอ้ื หา ( X = 4.80, S.D. = 0.42) การตอบคำถามตรงประเดน็ และเขา้ ใจง่าย ( X = 4.79, S.D. = 0.41)

ตารางที่ 4 ผเู้ รยี นที่เข้าร่วมกจิ กรรมมีความพึงพอใจดา้ นปัจจยั ท่ีเก่ียวข้องกับการจดั การเรยี นรู้

ด้านปจั จยั ทเ่ี ก่ยี วข้องกับการจัดการเรียนรู้ ระดบั ความพึงพอใจ
X . S.D. การแปลผล
1. เร่ืองทสี่ อนมีความเหมาะสม 4.78 0.43 มากทส่ี ดุ
2. เอกสารประกอบการสอนมีความเหมาะสม 4.75 0.49 มากทสี่ ุด
3. ความพรอ้ มของอุปกรณโ์ สตทศั นูปกรณ์
4. การใชเ้ วลาในการสอนมีความเหมาะสม 4.78 0.45 มากทีส่ ดุ

รวม 4.74 0.53 มากทส่ี ดุ
4.76 0.04 มากท่ีสุด

จากตารางท่ี 4 พบวา่ ผู้เขา้ โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรยี น “มหกรรมผลงานวชิ าการ สุดยอด กศน. (Best
Practice)”มีความพึงพอใจในดา้ นปจั จยั ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับการจดั การเรยี นรู้ อยใู่ นระดบั มากทสี่ ุด ( X = 4.76, S.D. =
0.04) เมือ่ พิจารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ ความพึงพอใจมากท่ีสุดอยูใ่ นระดับมากที่สดุ คือ เรอ่ื งท่ีสอนมคี วามเหมาะสม ( X =
4.78, S.D. = 0.43) ความพรอ้ มของอปุ กรณโ์ สตทศั นูปกรณ์ ( X = 4.78, S.D. = 0.45) เอกสารประกอบการสอนมี
ความเหมาะสม ( X = 4.75, S.D. = 0.49) การใชเ้ วลาในการสอนมคี วามเหมาะสม ( X = 4.74, S.D. = 0.53)

ตารางที่ 5 ผเู้ รยี นทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรมมีความพึงพอใจดา้ นผลที่ได้รับจากการจัดการเรยี นรู้

ด้านผลที่ไดร้ บั จากการจดั การเรยี นรู้ ระดับความพึงพอใจ
X . S.D. การแปลผล
1. ความรู้ท่ีไดร้ ับจากการเรียนการสอน 4.78 0.42 มากท่ีสุด
2. การนำความรทู้ ี่ไดร้ ับไปใชป้ ระโยชนใ์ นการเรียน 4.75 0.45 มากทส่ี ดุ
3. ความพงึ พอใจในการจัดสอนในภาพรวม
4.74 0.46 มากท่ีสุด
รวม 4.76 0.02 มากที่สุด

จากตารางที่ 5 พบว่า ผ้เู ข้าโครงการพฒั นาคุณภาพผ้เู รียน “มหกรรมผลงานวชิ าการ สุดยอด กศน. (Best
Practice)”มีความพึงพอใจในด้านผลทไ่ี ด้รับจากการจัดการเรยี นรู้ อยใู่ นระดับมากทีส่ ดุ ( X = 4.76, S.D. = 0.02) เม่อื

๑๓

พิจารณาเปน็ รายข้อพบวา่ ความพึงพอใจมากท่ีสดุ อยู่ในระดับมากทส่ี ุด คอื ความรทู้ ี่ไดร้ บั จากการเรียนการสอน ( X =
4.78, S.D. = 0.42) การนำความรทู้ ีไ่ ด้รบั ไปใช้ประโยชนใ์ นการเรยี น ( X = 4.75, S.D. = 0.45) ความพงึ พอใจในการ
จัดสอนในภาพรวม ( X = 4.74, S.D. = 0.46)

ตารางที่ 6 ผูเ้ รยี นท่เี ข้าร่วมกจิ กรรมมีความพงึ พอใจดา้ นสถานที่ ระดับความพึงพอใจ
X . S.D. การแปลผล
ด้านสถานที่ 4.76 0.47 มากท่สี ุด
1. สถานทีจ่ ดั การสอนมีความเหมาะสม
2. สภาพแวดล้อมและบรรยากาศเอ้ืออำนวยต่อการเรยี นรู้ 4.72 0.54 มากทส่ี ดุ

รวม 4.74 0.05 มากท่สี ุด

จากตารางท่ื 6 พบว่า ผู้เขา้ โครงการพัฒนาคุณภาพผเู้ รียน “มหกรรมผลงานวชิ าการ สุดยอด กศน. (Best
Practice)”มีความพึงพอใจในด้านสถานท่ีอยูใ่ นระดบั มากท่ีสดุ ( X = 4.74, S.D. = 0.05) เม่อื พิจารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่
ความพงึ พอใจมากท่ีสุดอยู่ในระดบั มากท่สี ดุ คือ สถานทจี่ ัดการสอนมีความเหมาะสม ( X = 4.76, S.D. = 0.47)
สภาพแวดล้อมและบรรยากาศเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ ( X = 4.72, S.D. = 0.54)

ตอนท่ี 3 ข้อเสนอแนะ
ขอ้ 1. สงิ่ ที่ทา่ นประทับใจมากทีส่ ุด
- วทิ ยากรถา่ ยทอดความรู้ไดด้ ีมาก เข้าใจงา่ ย บรรยากาศในการบรรยายเตม็ ไปด้วยความสนกุ สนาน
ขอ้ 2. สิ่งท่ที ่านคิดวา่ ควรปรบั ปรุง
- บรรยากาศภายในหอ้ งเคร่ืองเสียงดังเกินไป
ข้อ 3. ความคิดเหน็ และข้อเสนอแนะ
-

๑๔

บทที่ 5
สรปุ ผล อภิปรายผล และขอ้ เสนอแนะ

การประเมนิ ผลโครงการในครั้งนม้ี ีวัตถุประสงค์เพื่อประเมนิ ความคดิ เหน็ ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน
“มหกรรมผลงานวชิ าการ สดุ ยอด กศน. (Best Practice)”
สรปุ ผลการประเมนิ โครงการ
ผลการประเมินโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน “มหกรรมผลงานวิชาการ สุดยอด กศน. (Best Practice)”จำนวน
กลุ่มเป้าหมาย 1๐๐0 คน ในคร้ังนี้พบว่า

1. แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงความพึงพอใจด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ พบว่า มีความพึงพอใจในด้าน
กระบวนการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.87, S.D. = 0.03) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ความพึง
พอใจมากที่สุดอยู่ในระดับมากที่สุด คือ การให้บริการของเจ้าหน้าที่ ( X =4.88, S.D. = 0.32) พิธีการและขั้นตอนการ
ดำเนินการมคี วามเหมาะสม ( X =4.88, S.D. = 0.77) การลงทะเบยี น ( X =4.85, S.D. = 0.38)

2. แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงความพึงพอใจดา้ นวทิ ยากร พบว่า มคี วามพึงพอใจในดา้ นวิทยากร อยู่ในระดับ
มากทส่ี ุด ( X = 4.85, S.D. = 0.01) เมอ่ื พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ ความพึงพอใจมากที่สุดอยู่ในระดบั มากที่สดุ คือ เปดิ
โอกาสใหน้ ักศึกษา/ผู้เขา้ อบรมไดซ้ ักถาม ( X = 4.84, S.D. = 0.37) การถา่ ยทอดความรูข้ องวทิ ยากรมีความชัดเจน ( X =
4.83, S.D. = 0.38) ลำดับเนอื้ หาการบรรยายเข้าใจง่ายมีความต่อเนื่อง ( X = 4.83, S.D. = 0.40) วทิ ยากรในการให้
ความรู้มคี วามเหมาะสม ( X = 4.82, S.D. = 0.39) การสรปุ ประเด็นเน้อื หา ( X = 4.80, S.D. = 0.42) การตอบคำถาม
ตรงประเดน็ และเข้าใจง่าย ( X = 4.79, S.D. = 0.41)

3. แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมูลแสดงความพึงพอใจด้านปัจจยั ทเี่ กย่ี วข้องกบั การจัดการเรียนรู้ พบวา่ มคี วามพึง
พอใจในดา้ นปัจจัย ท่ีเกยี่ วข้องกบั การจดั การเรยี นรู้ อยู่ในระดบั มากท่ีสดุ ( X = 4.76, S.D. = 0.04) เมอื่ พจิ ารณาเป็น
รายขอ้ พบวา่ ความพึงพอใจมากทสี่ ดุ อยู่ในระดับมากทส่ี ดุ คอื เรื่องที่สอนมคี วามเหมาะสม ( X = 4.78, S.D. = 0.43)
ความพร้อมของอุปกรณ์โสตทัศนปู กรณ์ ( X = 4.78, S.D. = 0.45) เอกสารประกอบการสอนมคี วามเหมาะสม ( X =
4.75, S.D. = 0.49) การใชเ้ วลาในการสอนมีความเหมาะสม ( X = 4.74, S.D. = 0.53)

4. แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมูลแสดงความพึงพอใจในด้านผลทไ่ี ดร้ บั จากการจดั การเรียนรู้ พบวา่ มีความพึงพอใจ
ในดา้ นผลทไี่ ดร้ บั จากการจดั การเรยี นรู้ อยู่ในระดับมากทีส่ ุด ( X = 4.76, S.D. = 0.02) เมือ่ พจิ ารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่
ความพึงพอใจมากที่สุด อยู่ในระดับมากที่สุด คือ ความรู้ท่ีได้รับจากการเรียนการสอน ( X = 4.78, S.D. = 0.42)
การนำความรู้ที่ได้รบั ไปใช้ประโยชนใ์ นการเรยี น ( X = 4.75, S.D. = 0.45) ความพงึ พอใจในการจัดสอนในภาพรวม
( X = 4.74, S.D. = 0.46)

5. แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมูลแสดงมคี วามพงึ พอใจในด้านสถานท่ี พบว่า มีความพงึ พอใจในดา้ นสถานที่อยใู่ น
ระดบั มากทส่ี ุด ( X = 4.74, S.D. = 0.05) เมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ ความพงึ พอใจมากทีส่ ดุ อยู่ในระดับมากทส่ี ดุ
คือ สถานที่จัดการสอนมคี วามเหมาะสม ( X = 4.76, S.D. = 0.47) สภาพแวดล้อมและบรรยากาศเออ้ื อำนวยต่อการ
เรยี นรู้ ( X = 4.72, S.D. = 0.54)

๑๕

อภิปรายผล
การประเมินโครงการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรียน “มหกรรมผลงานวิชาการ สดุ ยอด กศน. (Best Practice)”ดำเนินตาม

รูปแบบการประเมนิ ทกุ ขนั้ ตอน อย่างเปน็ ระบบ ผลการประเมนิ มีความเชอ่ื มน่ั เป็นไปตามวตั ถปุ ระสงคท์ ก่ี ำหนด

ขอ้ เสนอแนะ
ควรนำผลการประเมนิ โครงการพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น “มหกรรมผลงานวชิ าการ สุดยอด กศน. (Best Practice)”

ไปปรับใช้ในโครงการหรอื กจิ กรรมทเ่ี กี่ยวขอ้ งในภาคเรียนถัดไป


Click to View FlipBook Version