The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น 30 ชั่วโมงขึ้นไป หลักสูตรช่างพื้นฐาน (หลักสูตรช่างทาสี) วันที่ 16 - 30 กรกฎาคม 2561 ณ กศน.ตำบลหมื่นไวย อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mueang, 2022-05-01 22:59:26

รายงานผลการดำเนินงานโครงการฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น 30 ชั่วโมงขึ้นไป หลักสูตรช่างพื้นฐาน (หลักสูตรช่างทาสี)

โครงการฝึกอบรมอาชีพระยะสั้น 30 ชั่วโมงขึ้นไป หลักสูตรช่างพื้นฐาน (หลักสูตรช่างทาสี) วันที่ 16 - 30 กรกฎาคม 2561 ณ กศน.ตำบลหมื่นไวย อ.เมืองนครราชสีมา จ.นครราชสีมา

1

รายงานผลการดำเนินงาน
โครงการฝึกอบรมอาชพี ระยะสนั้ ๓๐ ชวั่ โมงข้นึ ไป

หลกั สูตรชา่ งพื้นฐาน (หลักสตู รช่างทาสี)
วนั ที่ 16 – 30 กรกฎาคม 2561

ณ กศน.ตำบลหมื่นไวย อ.เมอื งนครราชสมี า จ.นครราชสีมา

จดั ทำโดย
กศน.ตำบลหมนื่ ไวย
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเมอื งนครราชสีมา
สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั นครราชสีมา
ภาคเรยี นท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑

2

บทท่ี 1
บทนำ

ทม่ี าและความสำคัญ

ด้วยสำนักงาน กศน.มีนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑ นโยบายและ
จดุ เน้นการดำเนินงาน ยุทธศาสตร์ท่ี ๓ ข้อที่ ๕. ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน สู่ “วิสาหกิจชุมชน:ชุมชนพ่งึ ตนเอง ทำได้
ขายเป็น” ๕.๑ ส่งเสริมการจัดการศึกษาอาชีพท่ีสอดคล้องกับศักยภาพของชุมชน และความต้องการของตลาด
รวมทั้งสร้างเครือข่ายการรวมกลุ่มในลักษณะวิสาหกิจชุมชน สร้างรายได้ให้กับชุมชน ให้ชุมชนพึ่งพาตนเองได้
๕.๒ ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีในการสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับสินค้า การทำช่องทางเผยแพร่และจำหน่ายผลิตภัณฑ์
ของวิสาหกิจชุมชนใหเ้ ป็นระบบครบวงจร

ดังนั้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนครราชสีมา โดย กศน.ตำบล
หมื่นไวยตำบลหม่ืนไวย จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กับ กศน.ตำบลหม่ืนไวย แก่ประชนผู้ที่
สนใจในพืน้ ท่ีตำบลหม่ืนไวย ได้เรยี นรู้และฝึกอาชีพ ช่างไม้ และพัฒนาอาชีพ เพ่ือสง่ เสริม สนับสนุน และจัดให้มี
ประชาชนสามารถฝึก พัฒนาอาชพี และสรา้ งอาชพี ให้กบั ประชาชน นำความร้ทู ี่ได้รับไปปรับใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้

วัตถุประสงค์
๑. เพอื่ สง่ เสริม สนับสนนุ และจัดใหม้ ีประชาชนสามารถฝึกอาชีพช่างไม้ พฒั นาอาชีพและสร้างอาชีพ
ให้กปั ระชาชน
๒. เพือ่ ส่งเสริมให้ประชาชนนำความรู้ในการทำชา่ งไม้ และมีทักษะ สามารถนำความรูท้ ่ีไดไ้ ปปรบั ใชใ้ น
ชวี ติ ประจำวันได้

เป้าหมาย
เชิงปริมาณ
ประชาชนทว่ั ไปในเขตพื้นท่บี ริการ กศน.ตำบลหมื่นไวย อำเภอเมืองนครราชสีมา จงั หวัดนครราชสมี า

ท่ีสนใจเข้ากบั การฝึกอาชพี ชุมชน ช้นั เรยี นวชิ าชีพ หลักสตู รช่างไม้ จำนวน ๑๕ คน

เชงิ คุณภาพ
ประชาชนไดร้ ับการสง่ เสริม สนับสนุน และการฝึกทกั ษะวิชาชพี การทำช่างไม้ สามารถนำความรูท้ ไี่ ด้ไป

ปรบั ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้

วิธกี ารดำเนินการ
1. ประชาสมั พนั ธก์ ารจัดกิจกรรมโครงการ
2. จัดทำโครงการเสนอต่อ กศน. อำเภอเมืองนครราชสมี าและประสานวทิ ยากร
3. ดำเนนิ การจัดฝกึ อาชีพให้กับประชาชนตามความสนใจ หลักสูตรชา่ งปูน
4. ประเมนิ ผล
5. สรุป/รายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการ

3

ขอบเขตการดำเนนิ โครงการ
1. การดำเนนิ โครงการครัง้ น้ีทำการศึกษาเพื่อใหป้ ระชาชนทเี่ ข้ารว่ มโครงการได้รบั การฝึกอาชพี สามารถ
นำความรมู้ าประกอบอาชพี เพอ่ื เสริมสร้างรายได้ให้กับครอบครัว
2. การดำเนินโครงการใช้กลุม่ ประชาชน จำนวน ๑๕ คน

ผลลพั ธ์ (Outcome)
ประชาชนในชมุ ชนและประชาชนท่ัวไป มีความรู้ความเขา้ ใจเก่ียวกบั งานช่างไม้ สามารถนำความรู้ท่ีไดร้ ับ

ไปใช้ในชวี ิตประจำวนั และประกอบอาชีพได้

ตัวชวี้ ัดผลสำเร็จของโครงการ
๑ ตัวช้ีวัดเชิงปริมาณ (Output)
๑๓.๑.๑ รอ้ ยละ ๑๐๐ ของ กศน.ตำบล มีระบบบรหิ ารจดั การฐานขอ้ มูลความต้องการด้าน

การศกึ ษาเพอื่ พัฒนาอาชพี ของประชาชน
๑๓.๑.๒ รอ้ ยละ ๑๐๐ ของสถานศึกษามศี ูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน ทุกตำบล
๑๓.๑.๓ รอ้ ยละ ๘๕ ของประชากรทเี่ ขา้ รบั การศกึ ษาอาชีพ มคี วามรู้ ความสามารถเจตคตทิ ี่ดี

ต่อการประกอบอาชพี และเกิดการพัฒนาด้านทกั ษะ
๒ ตัวช้วี ัดเชิงคุณภาพ (Outcome)
๑๓.๒.๑ ประชากรผู้รบั บริการสามารถนำความรู้ท่ีได้รับไปใช้ประโยชนต์ ่อตนเองและครอบครัว
และมีรายได้จากการประกอบอาชพี
๑๓.๒.๒ ชุมชนสามารถสรา้ งฐานอาชีพใหมแ่ ละพัฒนาอาชพี ของตนเองไดต้ ามสาขาการศกึ ษาอาชพี
ทีจ่ ัดบรกิ าร
๑๓.๒.๓ ประชากรกลมุ่ เป้าหมายผ้รู บั บรกิ ารมีความพึงพอใจต่อบริการที่ไดร้ ับในระดับมากขนึ้ ไป

การติดตามและประเมินผลโครงการ
1. สงั เกตระหว่างเข้ารบั การอบรม
2. ให้ผ้เู ขา้ ร่วมโครงการประเมนิ ผล โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นและความพึงพอใจ

4

บทที่ 2
เอกสารทีเ่ ก่ียวขอ้ ง

ความหมาย ความสำคัญและประโยชน์ของงานช่างพ้นื ฐาน
ชา่ ง หมายถงึ ผ้ทู ีม่ ีความรู้และชำนาญในงานหรือในศลิ ปะอย่างใดอยา่ งหนึ่ง และงานช่าง หมายถึง ส่งิ ที่

เป็นผลเกิดจากการทำงานของช่าง งานช่างแบ่งออกไดห้ ลายสาขา เช่น งานปูน งานไม้ ช่างไฟฟ้า ช่างโลหะ
ช่างยนต์ ช่างประปา เป็นตน้ ความสำคญั ของงานช่าง เมอื่ ผู้เรียนไดเ้ รียนรู้งานชา่ งในแตล่ ะสาขา และได้
ทดลองปฏบิ ัติเพียงเลก็ น้อยก็สามารถทำไดด้ ้วยตนเอง ซ่ึงไดแ้ ก่ งานซ่อมแซม บำรุงรักษาเครื่องใชบ้ างอย่าง
ภายในบา้ น เช่น ซ่อมโตะ๊ เก้าอี้ ซอ่ มไฟฟา้ ภายในบา้ น ซอ่ มผนังรว้ั เปน็ ต้น หากไดฝ้ กึ ฝนจนเกดิ ความชำนาญก็
สามารถ นำความรู้ไปประกอบเป็นอาชีพต่อไปได้

ประโยชน์ของงานชา่ ง
คือ สามารถใช้เคร่ืองมือ เคร่ืองใช้ สอยได้อย่างถูกต้อง เข้าใจคุณสมบัติของวัสดุ ช่วยทำให้เกิดความ

ประหยัด ทำให้ยืดอายุการใช้งานของเครอ่ื งมือ เครื่องใช้ บางคร้ังสามารถใช้ความรู้ซ่อมแซมแกไ้ ข ข้อขัดขอ้ งที่เกิด
กับอุปกรณ์ได้ ตรวจสอบความบกพร่องอุปกรณ์ หากเราพัฒนาฝีมือความรู้จนเกิดความชำนาญก็ยงั สามารถที่
จะเพ่ิมรายไดใ้ หก้ ับตนเองโดยประกอบเปน็ อาชีพเสริม หรอื อาชพี หลกั เพ่ือเพิ่มรายได้ต่อไป

งานช่างพ้นื ฐาน หมายถงึ งานช่างเบอื้ งต้นทุกคนสามารถทำได้ด้วยตนเอง ทส่ี ่วนใหญ่เป็นงานเก่ียวกับการ
ซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของเครื่องใช้ในบ้านที่ชำรุด เสียหาย หรือสร้างสิ่งของง่ายๆ เช่น การเดินสายไฟฟ้าในบ้าน การ
เดินสายโทรศพั ท์ การต่อประปา ซอ่ มแซมโต๊ะ เก้าอ้ี รว้ั ผนัง ถนน ทางเทา้ ในบา้ น เปน็ ต้น
ลักษณะของงานชา่ ง จำแนกตามลกั ษณะงาน ได้ ดังนี้

1. งานเขียนแบบ เป็นการถ่ายทอดจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ของวิศวกรหรือนักออกแบบให้
ออกมาเป็นรูปเป็นร่างบนกระดาษ รูปร่างท่ีเกิดขึ้นจากการลากเส้นหลาย ๆ อย่าง เช่น เส้นดิ่ง เส้นโค้ง เส้น
เอยี ง เส้นนอน มาประกอบกันเกิดเปน็ รปู ร่างเรียกวา่ แบบ หรือ แบบงาน สามารถนำไปสรา้ งผลิตภัณฑต์ ่างๆ เช่น
สิ่งของอุปกรณ์ เคร่ืองมอื เครอื่ งใช้ เครือ่ งจักรต่างๆ เป็นตน้

2. งานไฟฟ้า ชวี ติ ประจำวันของมนษุ ย์ จะเกี่ยวข้องกับของใช้ทีเ่ ป็นเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า เพราะ เคร่ืองใช้ไฟฟ้า
ให้ความสะดวก ความสุขสบาย อย่างไรก็ตาม หากใช้ไม่เป็น ใช้ไม่ถูกต้อง ก็ย่อมมีโทษเช่นกัน การใช้จึงต้อง
คำนึงถึงเรื่องความปลอดภัย ความประหยัดและอายุการใช้งาน งานไฟฟ้าเป็นงานที่ต้องใช้ความรู้ ทักษะและ
ประสบการณ์ ของการนำเอาพลังงานไฟฟ้ามาใช้ ในลกั ษณะของการเปลี่ยนเป็นรปู อน่ื ๆ เช่น แสงสว่าง ความร้อน
พลังงานกล งานไฟฟ้าในงานช่างพ้ืนฐาน สามารถปฏิบัติได้ทั้งชายและหญิง เพราะเป็นงานท่ีเก่ียวข้องกับ
ชีวิตประจำวัน ซึ่งจะต้องรู้จักเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ วิธีใช้ การเก็บบำรุงรักษา ตลอดจนวัสดุอุปกรณ์ สามารถจัดหา
และนำมาใช้ได้อยา่ งประหยัดและปลอดภยั

3. งานช่างยนต์ เป็นงานท่ีต้องอาศัยความรู้ ความสามารถในการซ่อมแซมและบำรุงรักษายายนต์
ดังน้ันจึงต้องมีการเรียนรู้ในเรื่องของเครื่องยนต์เป็นหลัก ในปัจจุบันยานยนต์ ท่ีนิยมใช้ ได้แก่ รถยนต์
รถจักรยานยนต์ ซ่งึ จะมคี ่าใชจ้ ่ายในการใช้งานและการดูแลรักษามาก การยดื อายุการใช้งาน การดูแลตรวจเช็คจะ
ชว่ ยลดค่าใชจ้ ่ายและอบุ ตั เิ หตุจากการใช้งานของเครื่องยนต์ได้

4. งานโลหะ งานโลหะเป็นงานที่ต้องอาศัยทักษะ แรงกาย ความอดทน ความประณีตและบางครั้ง
ต้องใช้ เทคนิค วิธีการและประสบการณ์ในการทำงานค่อนข้างสูง ผลงานจึงจะมีคุณภาพและมีความปลอดภัยใน
การทำงานส่วนประกอบของอาคารบ้านเรอื น อุปกรณเ์ ครื่องใชภ้ ายในบา้ นหลายชนิด ทำด้วยโลหะ หรอื โลหะเป็น
ส่วนประกอบ เช่น รางน้ำ ลูกกรง ประตู หม้อ กระทะ ถังน้ำ เครื่องเรือน เป็นต้น เคร่ืองใช้แต่ละอย่างใช้โลหะ

5

ต่าง ๆ กัน เช่น ทองแดง ทองเหลือง เหล็ก อะลูมิเนียม มีรูปแบบต่าง ๆ กันตามลักษณะของการใช้งาน เคร่ืองใช้
โลหะทุกอย่าง เมื่อใช้นานวันย่อมมีการชำรุดเสียหายต้องบำรุงรักษา เพ่ือให้ใช้งานต่อไปได้อีก งานช่างโลหะบาง
ชนิด เช่น งานชา่ งโลหะแผน่ สามารถนำมาสร้างสรรคเ์ ปน็ เคร่อื งใชเ้ ครอ่ื งตกแตง่ ภายในบ้านได้

5. งานประปา ระบบประปาและระบบการระบายน้ำโสโครกในอาการบ้านเรือน เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง
สำหรับชีวิตประจำวัน ระบบประปาและระบบการระบายน้ำโสโครกท่ีมีประสิทธิภาพมีผลต่อสุขภาพและอนามัย
ของผู้อาศัยงานประปาจึงมีความสำคัญและเป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการวัด การตัดต่อท่อ ข้อท่อ มีความสามารถใน
การซ่อมแซม แกไ้ ขปัญหาทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในระบบประปาและระบบการระบายนำ้ ต่างๆ

6. งานไม้ งานไม้เป็นงานช่างที่ใช้ฝีมือและความคิดสร้างสรรค์ ช่างไม้ต้องมีความอดทน ขยัน มีความ
รับผิดชอบสูง สามารถนำทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นไม้มาประดิษฐ์สิ่งของต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมท้ังนี้จะต้องมี
ทักษะในการใช้เครื่องมือและวัสดุ จึงจะสามารถปฏิบัติได้ทั้งชายและหญิง เช่น การซ่อมบำรุงรักษาเฟอร์นิเจอร์
หรอื ส่วนประกอบของอาคารบ้านเรอื น เปน็ ตน้

7. งานปูน เปน็ งานหลักในงานก่อสร้าง อาคารสมยั ก่อน งานก่อสรา้ งจะใช้ไมเ้ ป็นหลกั ปัจจบุ ันไมม้ ี
จำนวนน้อย ราคาสูง นอกจากน้ียังช่วยในการต่อเติมซ่อมแซมสงิ่ ก่อสร้าง เหมาะสำหรับงานท่ีไม่ใหญ่นัก เช่นการ
กอ่ อฐิ ทำขอบไม้ การเทปนู ทางเดนิ

8. งานสี สีเป็นงานขั้นสุดท้ายของงานช่างหลายแขนง เช่น งานไม้ งานปูน และงานโลหะ เป็นต้น เพื่อ
ตกแต่งงานท่ีสำเร็จแล้วให้ดูเรียบร้อยสวยงาม และยังช่วยให้งานแต่ละช้ินมีความคงทนถาวรย่ิงข้ึน ยืดอายุการใช้
งานให้ยาวนาน งานสีมีหลักวิธีการ ของเครื่องมือเคร่ืองใช้ และวัสดุที่ต้องศึกษาจึงจะสามารถทำงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

ช่างไม้ เปน็ ช่างประเภทหนง่ึ ในจำพวกช่างสิบหมู่ งานของชา่ งไม้ เป็นงานสรา้ ง ทำอาคารสถานชนดิ
เคร่อื งกอ่ ประเภท เจติยสถาน และศาสนสถานตา่ งๆ เชน่ พระสถปู เจดีย์ พระพุทธปรางค์เจดีย์ พระอโุ บสถ พระ
วหิ าร ฐานชุกชี ซ้มุ คหู า กบั ได้ทำพระมหาปราสาท พระราชมณเฑยี ร แทน่ ฐาน เกยราชยาน ประตู เครอ่ื งยอด
ต่างๆ ใบเสมา กำแพงและป้อมปราการ เปน็ ตน้

งานไม้ เป็นงานชา่ งทใ่ี ช้ฝมี อื และความคิดสรา้ งสรรค์ ตอ้ งมีความอดทน ขยัน มีความรบั ผดิ ชอบสูง
สามารถนำทรัพยากรธรรมชาติท่ีเปน็ ไม้มาประดษิ ฐเ์ ป็นของเล่นของใช้ไดอ้ ย่างเหมาะสม ทง้ั ท่จี ะต้องมที กั ษะใน
การใชเ้ ครือ่ งมือและกระบวนการในการใช้ จงึ จะสามารถทำงาน ไม้ได้อย่างสวยงาม เรยี บรอ้ ย มีประสทิ ธิภาพ
ในการใชเ้ คร่ืองมือและใช้วสั ดุ ปจั จุบนั ไม้มคี ุณคา่ มาก หายาก เพราะป่าไม้ถูกทำลายไปเกอื บหมด จนตอ้ งใช้
วสั ดอุ ่นื ๆ มาทดแทนไม้ เชน่ พลาสติก โลหะ งานชา่ งไม้ในงานช่างพนื้ ฐานเปน็ งานช่างไมเ้ บ้ืองตน้ สามารถ
ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ้ังชายและหญงิ

การใช้เคร่อื งมืองานช่างไม้
1. เรยี นรเู้ กี่ยวกบั การใชเ้ ครอื่ งมือท่ีถูกต้อง และเขา้ ใจกฎความปลอดภัยของเครือ่ งมือและเครื่องจักรที่ซอ้ื มา

ตลอดจนเรยี นร้คู ำเตือนจากป้ายสญั ญาณ เช่น ปา้ ยหยดุ ดงั รูปท่ี 2.4
2. เคร่อื งตัดไม้ท่ีคมจะชว่ ยให้ทำงานไดง้ า่ ยและดี ส่วนใบมีดทีไ่ มค่ มจะทำให้ลืน่ และอาจพลาดไปถกู ส่วนต่างๆ ของ

รา่ งกายได้
3. ไม่ควรทดสอบความคมของเคร่ืองมือด้วยอวยั วะของร่างกาย แต่ควรใชไ้ ม้หรือกระดานแทน
4. นวิ้ มือควรจะใหห้ ่างจากคมมดี ของเครื่องมือ และใชไ้ ม้หรือวสั ดุอื่นตดั ดงั รูป 2.5
5. ต้องระวงั เป็นพเิ ศษเม่ือใชน้ ้วิ หรือมือในการสตาร์ตเครอื่ งจักร

6

6. ตอ้ งม่ันใจว่าเคร่อื งจักรท่ีใชอ้ ยู่ในสภาพดี ควรตรวจสอบความเรยี บร้อยว่าไม่แตกหักหรอื หลวม เพื่อปอ้ งกัน
อบุ ัตเิ หตทุ ี่อาจเกิดขึน้

7. ต้องไม่ใชเ้ ครื่องมือผดิ วธิ ี เชน่ ไม่ควรใช้ส่วิ เปดิ กล่องไม้หรือกระปอ๋ ง ต้องใช้เครอื่ งมือให้เปน็ ไปตามจุดมุง่ หมาย
เฉพาะอย่าง

การดูแลรกั ษาเครื่องมืองานช่างไม้ และ ความปลอดภยั ในการใช้เคร่ืองมืองานช่างไม้

เคร่ืองมือวัด
1. ตลับเมตร ใช้สำหรบั วัดหรอื กะสว่ น มีความยาว 23 เมตร บนเทปมมี าตราวัดทงั้ ระบบอังกฤษและระบบ

เมตรกิ

การบำรงุ รักษา

1. ไมค่ วรดึงตลบั เมตรเลน่ หรือทำตกจากโต๊ะฝึกงาน
2. ทำความสะอาดทุกครง้ั หลงั จากใช้งานแล้ว
3. ตรวจดูสภาพของตลบั เมตรกอ่ นหรือใช้งานทุกคร้ัง

2. ฉากตาย ใชส้ ำหรบั หาเส้นฉากและทำมุม 45 องศา
การบำรุงรกั ษา

1. ทำความสะอาดแลว้ เชด็ ดว้ ยน้ำมันกันสนมิ ก่อนเก็บทุกครัง้

2. ไมค่ วรนำฉากไปใชท้ ่ีไมเ่ หมาะสมกับงาน

3. ระวังไม่ใหฉ้ ากตกจากโตะ๊ ทำงาน

3. ฉากเปน็ ใชบ้ อกหรือวัดมมุ ต่างๆ ที่ไม่ใช่มุม 45 หรอื 90 องศาประกอบดว้ ยด้ามและใบบริเวณที่ต่อกัน
สว่ นใบจะมีร่อง วธิ ีใช้จับด้ามใหส้ นทิ กบั งานต้านทเี่ รียบจะใชม้ ากชว่ ยรับใบให้สนทิ กบั งานอีกดา้ นหน่ึงของมุมท่จี ะ
วัด และนำไปเทยี บองศาก็จะบอกมุมได้ตามต้องการ
การบำรงุ รักษา หลงั ใช้งานเสร็จแล้วต้องทำความสะอาดและชโลมนำ้ มนั บางๆ บนสว่ นทเ่ี ป็นโลหะ
4. ฉากใหญ่ ใชว้ ดั ขีดมุมฉาก ตรวจฉากของการเข้าไม้ฉากเป็นเหลก็ ช้ินเดียวกนั ทำมุม 90 องศา ขนาดหนา
1/8 นว้ิ เทา่ กันตลอด ความยาวอาจเปน็ 16 X 24 หรอื 18 X 24

วธิ ีใช้ - ใช้วดั ขดี มุมฉาก ใหว้ างฉากลงบนไม้ โดยให้ขอบแนบสนทิ กบั ผิวไม้ด้านเรยี บ แลว้ จงึ ขดี เสน้
ฉากตามต้องการบนอีกด้านหน่ึง

- ใช้ตรวจฉากของการเข้าไม้ โดยจบั ให้ฉากเข้ากับบรเิ วณท่เี ข้าไม้ ถ้าขนกับแนบชนดิ แสดงว่า
การเขา้ ไม้ได้ฉากตามต้องการ งานทม่ี กั จะใชฉ้ ากใหญ่ คอื งานชิ้นใหญ่ เชน่ ตู้ ฯลฯ
การบำรุงรักษา หลงั จากใชง้ านตอ้ งทำความสะอาดและชโลมน้ำมันบางๆ

5. ฉากรวม เปน็ ฉากทใี่ ชต้ รวจมมุ ฉาก และมุม 45 องศา อาจมีระดบั น้ำหรือเหล็กขีดเพื่อให้ใช้งาน
ได้กวา้ งขวางขนึ้ ฉากประกอบ ดว้ ย สว่ นหวั และใบ ซึ่งถอดแยกกนั ได้ สว่ นหวั สามารถวง่ิ ไปบนรอ่ งของใบได้
ด้วย

7

วธิ ีใช้ เนื่องจากช่วงระหวา่ งใบกบั หัวจะเป็นมมุ 90 องศา และ 45 องศา จงึ สามารถใชฉ้ ากรวมนี้
วัดมุมได้ ท้งั มมุ 90 องศา และ 45 องศานอกจากน้สี ่วนหวั เม่ือถอดออกจากใบแล้ว สามารถวดั ฉากของการ
เข้าไม่ได้อีกด้วย

การบำรุงรกั ษา หลังจากใชง้ านตอ้ งทำความสะอาดและใชช้ โลมน้ำมันบางๆ บนส่วนท่เี ป็นโลหะ
6. ขอขดี ไม้ ใชข้ ดี ทำแนวเพอื่ การเลื่อย ผ่า หรือทำรเู ดือย ประกอบดว้ ยส่วนหัวและแขนยึดกันแน่น

ดว้ ยสลักหรือลิม่ ปลายของแขนข้างหน่ึงจะมเี ข็มปลายแหลม
วธิ ีใช้ คลายสลกั หรอื ลิม่ ออกแลว้ วดั ระยะห่างจากปลายเข็มกับดา้ มของหวั ทอ่ี ย่ทู างปลายเขม็ ใหไ้ ด้

ขนาดตามต้องการแลว้ ลอ็ กให้แนน่ จับขอขีดด้ามท่ีมีเข็มให้แนบสนทิ กบั ไมแ้ ละกดดนั ไปข้างหน้าโดยให้ปลายเข็ม
ขดี ผิวไมต้ ลอดเวลา
การบำรงุ รักษา หลงั ใชง้ านควรทำความสะอาดชโลมนำ้ มันสว่ นท่ีเปน็ โลหะแลว้ เกบ็ เขา้ ที่ให้เรียบร้อย

เครอ่ื งมือตดั

1. เลอื่ ยลันดา ทมี่ ีขายตามทอ้ งตลาดแบง่ ออกได้เปน็ 2 อย่างดังนี้
1.1 เลอื่ ยลันดาชนดิ ตัด ใช้ตดั ขวางเสี้ยนไม้ปลายของฟันเลื่อยจะแหลม มีลักษณะ

เหมือนปลายมีดจำนวนฟันตอ่ น้ิวประมาณ 8-12 ฟัน ลกั ษณะการทำงานของฟนั จะเหมือน
มีดหลายๆเล่มเฉอื นไม้เวลาตดั มมุ เอยี งกับไมห้ รอื วางท่ีจะตัดอย่างนอ้ ย 45 องศา
1.2 เล่ือยลนั ดาชนดิ โกรก ใชเ้ ลอื่ ยหรือผ่าไม้ตามเส้ียนไม้ จำนวนฟันต่อนวิ้ 5-8 ซ่ี
เลื่อยชนิดน้มี ีฟันห่าง องศาเอยี งของฟนั จะมากกว่าความยาวของใบเลอ่ื ยมตี งั้ แต่ 20-28 นว้ิ
ขอบหนา้ ตดั ของปลายฟันจะตงั้ ฉากกับใบเลื่อย

เลอ่ื ยทุกชนดิ จะต้องทำการคัดคลองเลอ่ื ย คือคดั ปลายฟนั เลื่อยเอยี งสลับกนั ให้
กว้างกวา่ ความหนาของใบเลื่อย เพราะเวลาเลอื่ ยจะไม่ฝดื และตดิ ไม้

การบำรงุ รกั ษา

1. ระวังคมเลือ่ ยจะโดนส่วนหนง่ึ ส่วนใดของรา่ งกาย
2. เมือ่ ใช้แล้วทำความสะอาดทานำ้ มันกันสนมิ ดว้ ย
3. หมน่ั รักษาความคมของเลื่อย โดยใช้ตะไบสามเหลยี่ มและคัดคลองเล่ือยดว้ ยคีมคัดคลองเลื่อยตัดปากไม้
หรือเลือ่ ยสันแข็ง เพราะสันหนารูปร่างคลา้ ยตดั แต่ฟนั ถี่และละเอียดกว่าความยาวของสว่ นใบประมาณ 8-18 นวิ้
ใช้สำหรบั งานละเอียดประณีต เช่น เขา้ ปากไม้ เข้าเดือย
2. เลือ่ ยตัดปากไม้ หรือเล่อื ยสนั แข็ง เพราะสนั หลังแขง็ ฟันถ่แี ละละเอียดความยาวของใบ
ประมาณ 8-18 นวิ้ ใช้สำหรับงานละเอยี ด เชน่ เขา้ ปากไม้ เขา้ เดือย
3. เลือ่ นรอปากไม้ก็คือเลือ่ ยตดั ปากไมแ้ ต่ใบบางกว่าฟันละเอียดกวา่ ดา้ มจับคล้ายลิ่วความยาวของใบยาว 6-12
นิว้ ใช้สำหรับรอปากไม้ในเวลาเข้าไมใ้ ชเ้ ล่ือยแผน่ ไม้บางๆเพือ่ ทำแบบจำลอง

8

4. เลอ่ื ยฉลุ คือเล่อื ยอกขนาดเล็ก หน้าทก่ี ารทำงานเช่นเดยี วกับเลอ่ื ยอกแตโ่ ครงเป็นโลหะใบเล่ือยเลก็ ใชง้ านไม่ได้
กวา้ งเทา่ เล่อื ยอก
วธิ ีใช้เลื่อยฉลุ

1. ใสใ่ บเลอื่ ยเขา้ กบั โครงเล่ือยโดยให้ฟันของเลื่อยออกด้านหน้าและคมของใบเล่ือยพงุ่ ลงข้างล่าง
2. หมุนปรบั ใบเล่ือยใหต้ งึ (อย่าใหต้ ึงหรือหย่อนเกนิ ไปจะทำให้ขาดง่าย)
3. ขณะเลือ่ ยตดั งานควรบงั คบั โครงใบเลื่อยใหต้ รงและเคล่ือนไหวชา้ ๆ
5. เลอื่ ยอก ใชต้ ดั ผา่ ไม้ โครงเล่ือยส่วนใหญ่จะเป็นไมเ้ ช่นคนั เลื่อย(รัดเกลา้ ) อกเลอื่ ยไม้มือจบั สว่ นที่เป็นเหลก็ คอื สลัก

และใบเลอ่ื ย ใบเล่อื ยมีทัง้ ฟนั ตดั และฟันโกรก วางทำมุมกับเรือนเล่ือย
วิธีใช้ การผา่ หรอื โกรกไม้ควรใช้ทง้ั สองมือ มือหนึ่งจับด้ามอีกมือหนึ่งจับใบ เพื่อคุมใบเลื่อย วางใบเลอ่ื ย

ตง้ั ฉากกบั ไมแ้ ละฟนั เลอื่ ยทำมุมกับไม้ 60 องศา ส่วนการตัดไม้อาจใชม้ ือเดยี วจบั ดา้ มให้ใบเลอื่ ยตั้งฉากกบั ไม้ ฟนั
เลื่อยทำมุมกับไม้ 45 องศา
การบำรุงรกั ษา ก่อนใชง้ านควรสำรวจเลอื่ ยและหลงั ใช้งานควรผ่อนความตงึ ของใบ ทำความสะอาดและชโลม
นำ้ มันส่วนทเี่ ปน็ โลหะ
6. เล่ือยหางหนู ใชเ้ ลอื่ ยตดั ส่วนโค้งวงกลมภายในมีดา้ มและใบใบเลอ่ื ยใหญ่ทส่ี ่วนด้ามและเรียวเล็กลงไปถงึ ปลาย
เล่อื ย ฟันเล่อื ยเป็นฟนั ชนิดโกรก

วธิ ีใช้ เนื่องจากปลายของเลื่อยเรียวเลก็ จงึ ใช้ในการตัดสว่ นโค้งภายในแผ่นไม้ได้งา่ ย
วิธเี ลื่อยเหมือนกับเล่ือยลันดาฟนั โกรก
การบำรงุ รักษา หลงั จากการใชง้ านต้องทำความสะอาดและชโลมนำ้ มันบางๆบนส่วน
ทีเ่ ป็นโลหะและไมค่ วรเลื่อยไมท้ หี่ นาเกนิ ½ นิว้

เคร่ืองมอื ใส
1. กบล้าง กบลา้ งเป็นเครอ่ื งมือเพ่ือใสผวิ ของเน้อื ไม้ให้ราบเรยี บ ปกติไมท้ แี่ ปรรูปจะเป็นแผ่นหรือเป็นท่อนกต็ าม

ผวิ ยงั หยาบเปน็ ขุยมีเสี้ยนและรอยฟนั เลื่อยเม่ือจะนำมาใชจ้ ึงตอ้ งแต่งให้เรียบร้อยกบที่ใชใ้ นงานชา่ งไม้ได้แก่
1.1 กบลา้ งส้ัน เปน็ กบล้างท่ีมีความยาว 6- 8 น้วิ ใช้ใสไมท้ ี่ขรขุ ระ แอน่ บดิ ซง่ึ กบชนดิ อน่ื ไม่สามารถใสได้ ใบ

กบทำมุมกับใบกบ 45 องศา
1.2 กบลา้ งยาว ลักษณะคล้ายกบล้างสั้นแต่ตัวกบยาวกว่า มีความยาว 16 -18 นิ้วมีมมุ เอียงลาดราว 44 –
48 องศา ใช้ลา้ งเเนวไม้ให้ตรง ใช้ไสไม้ก่อนเพราะติดกัน
2 . กบผวิ ใชไ้ สตามหลงั กบลา้ งเพอื่ ให้เรยี บร้อย ถ้านำกบผวิ ไปไสไม้ขณะท่ีไม้ไม่เรียบ
หน้ากบจะเสียใชไ้ สผวิ ไมไ้ ดร้ ะดบั แบ่งออกเปน็ กบผิวสัน้ และกบผวิ ยาว
1.1 กบผิวยาวคล้ายกบลา้ งยาวแตไ่ ม่มีฝาประกับ แต่มีเหล็กขนาด 1/8 นิ้วX ¾ นิ้ว บงั หน้ากบเพื่อใหใ้ สไม้ได้เรยี บมี
ความยาว 16-18 นว้ิ มมี ุม 52-55 องศาในสว่ นของไมท้ เ่ี ล็ก มุม 56 – 60 องศา

การบำรงุ รกั ษา

1. เวลาลบั คมใบกบระวงั ใบกบโดนส่วนหนึง่ สว่ นใดของรา่ งกาย
2. ขณะใช้งานระวงั อย่าใหก้ บหล่นลงพ้นื เพราะอาจแตกหกั เสยี หายหรอื โดนขาได้

9

3. เม่ือใสใ่ บกบไมค่ วรตอกลม่ิ มากเกินไป อาจเสยี หาย และถอดยาก

4. หลังใชง้ านควรทำความสะอาดและทานำ้ มนั ทีท่ ้องกบ

2. กบบังใบ ใช้สำหรบั ใสรอ่ งบรเิ วณขอบไมห้ รือบังใบ ตวั เรือนกบคลา้ ยกบล้างตา่ งกันทีท่ อ้ งกบจะไม่เรียบแต่เปน็

สนั สีเ่ หล่ียมและใบกบโผลก่ ินเนอ้ื ไมจ้ ะอยู่ดา้ นน้ี

วธิ ใี ช้ ใชไ้ สไม้โดยกดให้สันท้องกบกนิ ตามแนวไม้ท่ีต้องการ

การบำรุงรกั ษา กอ่ นใชง้ านควรสำรวจให้อยใู่ นสภาพพร้อมใช้ หลังใชค้ วรทำความสะอาด ชโลมน้ำมัน

3. กบราง เปน็ กบทใ่ี ช้ทำรางร่องหรือลนิ้ เพ่อื การเพลาะหรอื เข้าไม้ตัวเรอื นกบแบง่ เป็น 2 ซกี โดยต่อกันด้วยไม้มือ

จบั ใบกบสามารถเปลยี่ นได้ ซ่ึงแบง่ ใบกบออกเป็น 2 อยา่ งคือ ใบกบทำล้ินและใบกบทำราง ล้ินและรางจะมี

ขนาดเทา่ กัน

วธิ ีใช้ ใชไ้ สโดยใหข้ อบกับดา้ นในของซีกทโี่ ผล่ยาวออกมาจับขอบไม้ แล้วทำการใสซง่ึ จะไดร้ อ่ งรางหรือลิน้ ตาม

ต้องการ

การบำรุงรกั ษา สำรวจความคมของใบกอ่ นใชง้ าน หลังใช้งานทำความสะอาดชโลมน้ำมันบางๆบนใบกบ

4. กบขูดหรอื กบแต่ง ใช้ใชแ้ ตง่ ผิวไม้ทเ่ี ปน็ ส่วนโค้งใหเ้ รียบ ซงึ่ กบธรรมดาไม่อาจทำได้ กบประกอบด้วยโครงและ

แผน่ เหล็กขดู ซ่งึ ยดึ กนั ดว้ ยสลกั เกลียว

วิธใี ช้ ใชม้ อื ทั้งสองข้างจับมือกบให้แนน่ แล้วทำการไสและขดู ผิวงาน อาจจะดึงเขา้ หาตัวหรอื ดนั ออกไปข้างหนา้ ก็

ได้

การบำรุงรกั ษา

1. การถอดประกอบควรใชค้ ้อนไม้เทา่ นัน้
2. หลงั การใชง้ านควรทำความสะอาดและชโลมน้ำมันบนสว่ นท่ีเป็นโลหะ

เครื่องมอื เจาะ
1. สิ่วปากบางหรือสิว่ แตง่ ใชแ้ ต่งขูดผิวไม้หรือปากไม้ให้เรียบส่ิวประกอบดว้ ย

ใบและด้าม ส่วนใบเปน็ เหล็กกลา้ แบนและบางแต่มีความคมมาก
วธิ ใี ช้ ใชม้ ือขา้ งหนึง่ จบั ดา้ มส่ิว ทำหน้าทีน่ ำสิ่วไปข้างหน้า อกี มือหนง่ึ จับตอนปากกลิว่ เพ่อื บงั คบั ทิศทาง

ของส่วิ ไมเ่ ฉออกจากแนวที่ตอ้ งการ
การบำรงุ รักษา

1. ก่อนใช้งานต้องสำรวจความคมของสิ่ว
2. หลังใชง้ านต้องทำความสะอาดและชโลมนำ้ มันบาง ๆ บนส่วนทีเ่ ปน็ โลหะ

2. ส่ิวเจาะ ใช้เจาะช่องรูเดือย สิ่วประกอบด้วยดา้ มและใบ ตวั สิว่ มีความหนาแตค่ วาม
แต่ความกว้างและความคมน้อยกว่าสวิ่ ปากบางจึงต้องใชค้ ้อนไม้ช่วย

วธิ ีใช้ ใช้มอื ขา้ งหนง่ึ จับด้ามมอื อกี ข้องหน่งึ จบั คอนไม้ค่อยๆตอกใหส้ ่ิวกนิ เน้ือไมท้ ลี ะน้อยจนใกล้กบั ความ
ลึกทต่ี อ้ งการแล้วแต่งร่องหรือรูอกี ครั้งใหเ้ รยี บร้อย
การบำรงุ รักษา

10

1. ก่อนใช้ควรสำรวจความคมของส่วิ
2. หลังใช้งานต้องทำความสะอาด ชโลมน้ำมันบางๆบนสว่ นทเี่ ป็นโลหะ

3. สิ่วเล็มมือ ใชส้ ำหรับเจาะร่องหรือรูให้มีความโคง้ หรือกลม แบ่งเปน็ 2 ชนิด
คือคมในและคมนอก ใบส่วิ จะมคี วามโค้ง

วธิ ีใช้ ใชม้ อื จบั ดา้ มสิ่ว จ่อคมส่วิ ลงบนตำแหน่งทตี่ ้องการแลว้ กดหรอื ดนั ใหส้ ว่ิ ดันเนือ้ ไม้ตามความ
ตอ้ งการ
การบำรุงรกั ษา

1. ก่อนใชง้ านตอ้ งสำรวจความคมของส่ิวเสียก่อน
2. หลังใชง้ านต้องทำความสะอาดและชโลมดว้ ยนำ้ มนั บางๆบนส่วนที่เป็นโลหะ

4. สว่านขอ้ เสือ ใช้สำหรับเจาะรูเพื่อใส่น๊อต สกรู โดยประกอบกับดอกสว่าน
ดอกสว่านมีหลายขนาดและหลายลกั ษณะ ตัวดอกสวา่ นแบ่งเป็น 2 ส่วน คอื สว่ นก้านและส่วนเกลยี วส่วนกา้ นจะ
เป็นรูปสามเหลีย่ มปลายเรยี ว ส่วนเกลยี วจะมหี ลายลกั ษณะใช้ในงานที่แตกตา่ งกัน

วิธีใช้ สอดก้านดอกสว่านลงในชัค (Chuck) แล้วหมุนให้Jaws บบี ดอกสวา่ นใหแ้ น่นใช้มือหนงึ่ จบั ท่ี
Head อกี ข้องหนึ่งจับที่ Handle แล้วจ่อดอกสวา่ นลงบนตำแหนง่ ที่ต้องการและกดHeadแลว้ จึงหมุน Handle
ดอกสว่านจะกนิ เนื้อไม้
การบำรงุ รกั ษา หลังจากใช้งานควรทำความสะอาดและชโลมนำ้ มันบางๆสว่ นท่เี ป็นโลหะ

4. สว่านเฟอื ง ใชส้ ำหรบั เจาะรูเพ่ือใส่น๊อตสกรูโดยประกอบกบั ดอกสวา่ น ดอกสว่านมหี ลายขนาด แต่ไม่
โตกว่า ¼ น้ิวก้านรูปทรงกระบอกเรยี บ
วิธีใช้ ใช้มือหนึ่งจับHandle หรอื Side handleอีกมือหนง่ึ จับที่ Crankแล้วจ่อปลาย
ดอกสว่านลงบนตำแหน่งทีต่ ้องการแลว้ กดมือท่ีจับHandleและหมุนมือทCี่ rank ดอกสวา่ นจะกินเนื้อไมต้ าม
ต้องการ
การบำรุงรกั ษา

1. ก่อนใช้ควรสำรวจสวา่ นและดอกสว่านทุกครัง้
2. หลงั ใช้ควรทำควรทำความสะอาดและชโลมนำมนั บางๆบนส่วนที่เป็นโลหะ

เคร่ืองตอกและเครือ่ งมอื อ่ืนๆ
1. คอ้ นหงอน สว่ นประกอบของค้อนแบง่ ออกเปน็ 2 ส่วนคอื สว่ นหัวและสว่ นด้ามใช้สำหรบั ตอกและถอนตะปู

ตอกส่ิว ตอกไม้เวลาทำโครงร่าง ขนาดของหวั ค้อนเรียกตามน้ำหนกั ของหวั ค้อนเป็นปอนด์
2. ค้อนไม้ สำหรบั เคาะ คอก ช้นิ งานไม้หรือเคาะถอนใบกบ เคาะโลหะแผน่ ใหเ้ รียบและตอกส่ิวเจาะ

การบำรงุ รักษา
1. เม่อื ใชแ้ ลว้ ทำความสะอาดทานำ้ มนั กันสนมิ
2. ปรับหน้าคอ้ นกบั ด้ามค้อนให้แนน่ อยเู่ สมอ
3. อย่าใช้คอ้ นผิดประเภท

11

4. ดแู ลหน้าค้อนใหเ้ รียบ
3. ปากกาจับไม้ติดโต๊ะ สำหรับจบั ไม้เวลา วัด กะ ไส โกรก ตดั

การบำรุงรักษา ต้องทำความสะอาดและยอดน้ำมนั กนั สนิมอยู่เสมอ
4. บุ้ง สำหรบั แตง่ ผวิ ไม้ แบง่ ออกเป็นบุ้งท้องปลิงกบั บุ้งกลม

การบำรุงรักษา ไม่ควรให้เปยี กน้ำ ถกู กรดดา่ งหรือนำ้ มนั ควรทำความสะอาดดว้ ยแปรงปัดผงภายในรอ่ งฟนั ก่อน
เก็บ
5. เหล็กสง่ หวั ตะปู เปน็ แท่งเหล็กยาวประมาณ 4-5 นิว้ เสน้ ผ่าศนู ย์กลาง ¼ นวิ้ มีหน้าที่สำหรับสง่ หวั ตะปูให้ลงไป
ตำ่ กวา่ ระดับพ้นื
6. คีมปากนกแกว้ ใช้ถอนตะปู ตดั หัวตะปู ตดั ลวด
การบำรงุ รักษา ทาน้ำมันกันสนมิ กอ่ นเก็บทุกครง้ั

อุปกรณ์งานไม้

เลอื่ ยลันดา *ใชต้ ดั ไม้ขนาดต่าง ๆ

เลอ่ื ยลอ *ใชต้ ดั ไม้ขนาดเล็ก

12

เลื่อยเซาะร่อง *ใช้เซาะร่องขนาดเลก็

ส่ิว * ใชเ้ ซาะร่องขนาดเลก็

ตะไบหางหนู * ใชแ้ ต่งรูกลมขนาดเลก็ ๆ
บุ้ง *ใช้งานไม้ แตง่ ผิวงานใหเ้ รียบ

13

กบ *ใชแ้ ต่งผวิ ไม้ใหเ้ รยี บ

ขวาน * ใช้ตัดไม้ขนาดต่าง ๆ

แปรงทองเหลอื ง *ใชส้ ำหรบั ทำความสะอาดปลายหวั แร้ง

เหลก็ ฉาก *ใช้วดั ให้ได้มุมฉาก ใชใ้ นการตดั ไมห้ รือเหล็ก

ทีว่ ดั ระดบั น้ำ * ใชป้ รับพื้นผวิ ตา่ ง ๆ ใหไ้ ด้ระดบั เดียวกัน

14

เต้า * ใชต้ เี สน้ ตรง
ตลบั เมตร * ใชว้ ัดความยาวของส่ิงของต่าง ๆ

15

บทที่ 3
วิธีการประเมนิ โครงการ

การดำเนินโครงการคร้ังนี้เป็นการประเมินโครงการส่งเสรมิ ศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน หลกั สูตรชา่ งไม้
ดำเนินการระหวา่ งวันท่ี 16 – 30 กรกฎาคม 2561 ได้จัดทำโครงการน้ีข้นึ ซ่งึ มเี นื้อหาและสาระสำคัญเก่ียวกบั
วิธกี ารดำเนนิ การ ดงั น้คี ือ ประชากร เคร่อื งมือทใ่ี ช้ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และวิธีการวิเคราะหผ์ ล ตามลำดับ
ดังน้ี

กลมุ่ ประชากร
ประชากรในการดำเนนิ โครงการส่งเสรมิ ศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลกั สูตรช่างไม้ คอื ประชาชนในเขตพ้นื ที่

ตำบลหม่นื ไวย จำนวน 15 คน

เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการดำเนินโครงการ
เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม (Questionnair) ท่ีผู้ดำเนนิ โครงการไดส้ รา้ ง

ขึ้น โดยศึกษาคน้ ควา้ จากการทบทวนวรรณกรรมต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวขอ้ ง ส่วนแบบสอบถาม แบง่ ออกเปน็ 3 ตอน ดังน้ี
ตอนท่ี 1 แบบสอบถามเกยี่ วกับข้อมลู ทัว่ ไป ของกลมุ่ ตวั อย่าง ไดแ้ ก่ ระดบั การศกึ ษา เพศ อายุ อาชีพ

กลมุ่ เป้าหมาย
ตอนที่ 2 แบบสอบถามความคดิ เห็นเกย่ี วกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 12 ขอ้ แบ่งไดด้ ังนี้
ดา้ นเนือ้ หาหลักสูตร จำนวน 3 ขอ้
ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ จำนวน 2 ข้อ
ดา้ นวทิ ยากร จำนวน 3 ข้อ
ด้านส่ือและวสั ดุอุปกรณ์ จำนวน 3 ข้อ
ดา้ นผลทไี่ ด้รบั จำนวน 2 ข้อ
ลักษณะเป็นแบบสอบถามชนิด มาตราสว่ นประมาณค่า ตามแบบของลิเคริ ์ท (Likert’s Scale)

มี 5 ระดบั ดว้ ยกัน คือ
1 หมายถงึ นอ้ ยทีส่ ดุ
2 หมายถึง น้อย
3 หมายถงึ ปานกลาง
4 หมายถึง มาก
5 หมายถงึ มากท่สี ดุ
ตอนท่ี 3 แบบสอบถามเก่ียวกับข้อเสนอแนะการดำเนินโครงการส่งเสรมิ ศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน

หลกั สตู รช่างไฟฟ้า

การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
การเก็บรวบรวมข้อมลู จากเครือ่ งมือ โดยเกบ็ จากประชาชนในเขตพน้ื ทตี่ ำบลหม่ืนไวย จำนวน 15 คน

16

วิธกี ารวิเคราะห์ผล
การวิเคราะห์ข้อมลู ทีเ่ ป็นข้อมูลเชงิ ปริมาณและเชงิ คุณภาพดำเนนิ การ 2 ขนั้ ตอนดังน้ี
1. การวิเคราะหข์ ้อมูลเชิงปริมาณจากแบบสอบถาม ดังนี้
1.1 ขอ้ มลู จากแบบสอบถามของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยหาคา่ เฉลีย่ (ˉx ) คา่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน

(S.D.)
1.2 ข้อมูลจากแบบสอบถามเกี่ยวกบั กระบวนการจดั การเรยี นรู้ขอ้ มลู โดยหาคา่ เฉลี่ย (ˉx ) ค่าส่วน

เบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.)

สถิติที่ใชใ้ นการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
ผ้ปู ระเมินได้นำข้อมูลจากแบบสอบถามมาวเิ คราะห์ขอ้ มูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย (ˉx ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

(S.D.)
1) ค่าเฉล่ีย (Mean) หรือเรียกว่าค่ากลางเลขคณิต ค่าเฉลี่ย คา่ มัชฌิมเลขคณิต เป็นต้น

X = x

n
เมอ่ื X แทน ค่าเฉลยี่

X แทน ผลรวมของคะแนนทง้ั หมดของกลมุ่
n แทน จำนวนของคะแนนในกลมุ่
2) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) เป็นการวดั การกระจายท่ีนิยมใชก้ ันมากเขียนแทนด้วย S.D.
หรอื S

S.D. = (X - X)2
n–1

หรอื
S.D. = nX2 - (X)2
n(n – 1)

เม่อื S.D. แทน ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
X แทน คา่ คะแนน
n แทน จำนวนคะแนนในแต่ละกลุม่
 แทน ผลรวม

17

บทที่ 4
ผลการประเมนิ โครงการ
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู โครงการส่งเสริมศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน หลกั สูตรช่างไม้ จำนวน 15 คน
สรปุ ไดด้ ังน้ี

ผลการวิเคราะห์ข้อมลู ความพึงพอใจของผู้เรยี น
ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมกจิ กรรมโครงการสง่ เสริมศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน หลักสูตรชา่ ง

ไม้ เกณฑ์การตดั สินและพิจารณาแบบสอบถามประเมินความพงึ พอใจ โดยใช้ scale 5 ระดับ หรอื ทเ่ี รียกว่าวัดเจตคติ
ตามเทคนิคของของลเิ คริ ท์ (Likert technique) หรอื แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณคา่ 5 ระดับของ
ลเิ คริ ท์ สเกล ถือเกณฑ์พจิ ารณาจากระดับคะแนนเฉลี่ยจากค่าคะแนนดังน้ี

4.21 – 5.00 หมายถงึ ผู้เข้าร่วมกจิ กรรมมีความพงึ พอใจระดบั มากที่สุด
3.41 – 4.20 หมายถึง ผ้เู ขา้ ร่วมกจิ กรรมมคี วามพึงพอใจระดบั มาก
2.61 – 3.40 หมายถงึ ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมมคี วามพงึ พอใจระดับ ปานกลาง
1.81 – 2.60 หมายถึง ผ้เู ขา้ ร่วมกิจกรรมมคี วามพึงพอใจระดบั นอ้ ย
1.00 – 1.80 หมายถึง ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมมคี วามพึงพอใจระดบั นอ้ ยท่ีสุด

ตอนท่ี 1 ตารางแสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ส่วนตัวของผู้เข้ารว่ มโครงการ
ตารางที่ 1.1 แสดงขอ้ มูลระดับการศึกษาของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ จำแนกตามระดบั ชัน้

ระดบั การศกึ ษา จำนวน รอ้ ยละ

ประถมศกึ ษา ๑๐ ๕๐
มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ๑๐ ๕๐
มัธยมศกึ ษาตอนปลาย - -
อนุปรญิ ญา - -
ปริญญาตรี - -

จากตารางท่ี 1.1 แสดงขอ้ มูลระดับการศึกษาของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ จำแนกตามระดบั ชั้น พบวา่
ผู้เขา้ รว่ มโครงการส่วนใหญ่ เป็นนักศึกษาระดบั ประถมศึกษา จำนวน ๑๐ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๕๐ และระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน ๑๐ คน คดิ เป็นร้อยละ ๕๐

18

ตารางท่ี 1.2 แสดงขอ้ มูลเพศของผ้เู ข้าร่วมโครงการ จำแนกตามเพศ

เพศ จำนวน ร้อยละ
ชาย ๑๙ ๙๕
หญงิ ๑๕

จากตารางท่ี 1.2 แสดงข้อมูลเพศของผ้เู ข้ารว่ มโครงการ จำแนกตามเพศ พบวา่ ผู้เข้ารว่ มโครงการ
สว่ นใหญ่เป็นเพศชาย จำนวน ๑๙ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๙๕ เป็นนกั ศกึ ษาเพศหญิง จำนวน ๑ คน คิดเปน็ ร้อยละ ๕
ตามลำดบั

ตารางท่ี 1.3 แสดงขอ้ มลู อายุของผู้เข้ารว่ มโครงการ จำแนกตามระดับอายุ

ระดบั อายุ จำนวน ร้อยละ
40 – 59 ปี 18 90
60 ปีข้นึ ไป 2 10

จากตารางที่ 1.3 แสดงข้อมูลอายขุ องผเู้ ข้ารว่ มโครงการ จำแนกตามระดบั อายุ พบว่าผูเ้ ข้ารว่ ม
โครงการสว่ นใหญม่ ีอายุระหว่าง ๔๐ – ๕๙ ปี จำนวน ๑๘ คน คิดเป็นร้อยละ ๙๐ อายรุ ะหวา่ ง ๖๐ ปขี ึน้ ไป
จำนวน ๒ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ๑๐ ตามลำดบั

ตอนท่ี 2 ตารางแสดงผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการ
ตารางที่ 2.1 แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมูลแสดงความพงึ พอใจในด้านหลักสูตร

ด้านหลกั สตู ร xˉ s.d ระดับความสำคญั

1.หลักสูตรมคี วามสอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผูเ้ ข้าร่วมโครงการ ๔.๗๐ .๔๗ มากท่ีสดุ
2.เนอ้ื หาหลักสตู รตรงกับความต้องการของผูเ้ ข้าร่วมโครงการ ๔.๖๐ .๕๐ มากทส่ี ุด
3.ส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรม คิดเป็น ทำเปน็ แก้ปัญหาเป็น ๔.๕๐ .๕๑
๔.๖๐ .๔๑ มาก
โดยรวม มากท่ีสุด

จากตารางท่ี 2.1 แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมลู แสดงความพึงพอใจในดา้ นหลักสูตร พบวา่ ภาพรวม
ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการมีความพงึ พอใจในด้านหลักสูตรอยใู่ นระดับมากที่สดุ ( ˉx = ๔.๖๐ , s.d = .๔๑) โดยพจิ ารณา
เปน็ รายข้อจะพบว่า ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจเกยี่ วกับหลักสูตรมีความสอดคล้องกับความ
ต้องการของผเู้ ข้ารว่ มโครงการอยใู่ นระดับมากทสี่ ุด ( ˉx = ๔.๗๐ , s.d = .๔๗) รองลงมา คือ เนอ้ื หาหลกั สตู รตรง
กบั ความต้องการของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ( ˉx = ๔.๖๐ , s.d = .๕๐) และ การสง่ เสรมิ ให้ผเู้ ข้ารว่ มอบรม คิดเป็น ทำ
เปน็ แกป้ ัญหาเป็น ( ˉx = ๔.๕๐ , s.d = .๕๑) ตามลำดับ

19

ตารางท่ี 2.2 แสดงผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู แสดงความพงึ พอใจในดา้ นการจัดการเรียนรู้

ดา้ นการจดั การเรียนรู้ xˉ s.d ระดับความสำคัญ
๔.๖๕ .๔๙
1. กิจกรรมการอบรมเป็นไปตามลำดบั ขน้ั ตอน ๔.๗๕ .๔๔ มากทีส่ ดุ
2. สง่ เสริมใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมอบรมได้รับความรู้ นำไปส่กู ารปฏบิ ตั ิ ๔.๗๐ .๔๔ มากท่สี ดุ
มากทสี่ ดุ
โดยรวม

จากตารางที่ 2.2 แสดงผลการวเิ คราะห์ข้อมลู แสดงความพงึ พอใจในดา้ นดา้ นการจดั การเรยี นรู้ พบว่า
ภาพรวมผูเ้ ข้ารว่ มโครงการมีความพึงพอใจในดา้ นการจดั การเรียนรู้อยใู่ นระดับมากท่สี ดุ ( ˉx = ๔.๗๐ , s.d = .
๔๔) โดยพิจารณาเป็นรายข้อจะพบว่า ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมส่วนใหญ่มคี วามพึงพอใจเกย่ี วกับสง่ เสริมใหผ้ ู้เข้ารว่ ม
อบรมได้รบั ความรู้ นำไปสู่การปฏบิ ัติอยู่ในระดับมากทสี่ ดุ ( ˉx = ๔.๗๕ , s.d = .๔๔) รองลงมา คือ กิจกรรมการ
อบรมเป็นไปตามลำดบั ขั้นตอน ( ˉx = ๔.๖๕ , s.d = .๔๙) ตามลำดบั

ตารางท่ี 2.3 แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมลู แสดงความพึงพอใจในดา้ นวิทยากร

ด้านวิทยากร xˉ s.d ระดับความสำคญั

1. ความรู้ ความชำนาญของวิทยากร ๔.๘๕ .๓๗ มากทีส่ ดุ
2. การเตรยี มตวั ของวิทยากร
3. การถา่ ยทอดความรู้ของวิทยากรมคี วามเข้าใจง่าย ชดั เจน ๔.๗๕ .๔๔ มากทส่ี ดุ

โดยรวม ๔.๖๕ .๔๙ มากที่สดุ

๔.๗๕ .๓๐ มากที่สดุ

จากตารางที่ 2.3 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงความพึงพอใจในดา้ นวิทยากร พบวา่ ภาพรวม
ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการมีความพึงพอใจในด้านวิทยากร ในระดบั มากที่สุด ( ˉx = ๔.๗๕ , s.d = .๓๐) โดยพิจารณาเปน็
รายข้อจะพบวา่ ผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรมสว่ นใหญเ่ ห็นว่าวิทยากรความรู้ ความชำนาญ อยู่ในระดบั มากท่ีสดุ ( ˉx = ๔.๘๕
, s.d = .๓๗) รองลงมาคอื การเตรียมตัวของวิทยากร ( ˉx = ๔.๗๕ , s.d = .๔๔) และการถา่ ยทอดความรู้ของ
วทิ ยากรมคี วามเขา้ ใจง่าย ชัดเจน ( ˉx = ๔.๖๕ , s.d = .๔๙) ตามลำดบั

ตารางท่ี 2.4 แสดงผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู แสดงความพงึ พอใจในด้านสอื่ วัสดุอุปกรณ์ สถานท่ี

ด้านสือ่ วัสดุอุปกรณ์ สถานที่ xˉ s.d ระดับความสำคัญ

1. สอื่ วัสดุอปุ กรณม์ ีความทันสมยั ๔.๔๕ .๖๐ มาก
2. ส่ือ วัสดอุ ปุ กรณม์ ีความเพียงพอกบั ผ้เู ข้าร่วมโครงการ
3. สถานทเ่ี อื้อต่อการเรยี นรู้ ๔.๖๕ .๔๙ มากทส่ี ุด

โดยรวม ๔.๕๐ .๖๙ มาก

๔.๕๓ .๔๖ มากทีส่ ุด

20

จากตารางท่ี 2.4 แสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลแสดงความพึงพอใจในด้านส่อื วสั ดุอปุ กรณ์ สถานที่
พบว่าภาพรวมผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรมมีความพึงพอใจในด้านสือ่ วัสดุอปุ กรณ์ สถานทใ่ี นระดับมากท่สี ุด ( ˉx = ๔.๕๓ ,
s.d = .๔๖) โดยพิจารณาเป็นรายข้อจะพบวา่ ผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรมสว่ นใหญเ่ หน็ ว่าสอ่ื วัสดอุ ปุ กรณ์มคี วามเพียงพอ
กับผเู้ ข้ารว่ มโครงการอยูใ่ นระดบั มากทีส่ ุด ( ˉx = ๔.๖๕ , s.d = .๔๙) รองลงมาคอื สถานที่จัดกจิ กรรมเออื้ ต่อการ
เรยี นรู้ ( ˉx = ๔.๕๐ , s.d = .๖๙) และสื่อ วสั ดุอุปกรณม์ ีความทนั สมยั ( ˉx = ๔.๔๕ , s.d = .๖๐) ตามลำดบั

ตารางที่ 2.5 แสดงผลการวเิ คราะห์ข้อมลู แสดงความพึงพอใจในด้านผลทไี่ ด้จากการฝกึ อบรม

ด้านผลท่ไี ดจ้ ากการฝึกอบรม xˉ s.d ระดบั ความสำคญั

1. ความรูท้ ่ไี ด้จากการเรียนรู้ ๔.๖๕ .๔๙ มากท่สี ุด
2. มคี วามมั่นใจในการนำความรู้ไปประยุกตใ์ ช้
๔.๕๕ .๕๑ มากท่ีสดุ
โดยรวม
๔.๖๐ .๔๕ มากท่สี ดุ

จากตารางท่ี 2.5 แสดงผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู แสดงความพึงพอใจในดา้ นผลทไ่ี ดจ้ ากการฝกึ อบรม พบวา่
ภาพรวมผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรมมีความพงึ พอใจในด้านผลทไ่ี ด้จากการฝึกอบรม อยู่ในระดับมากทส่ี ดุ
( ˉx = ๔.๖๐, s.d = .๔๕) โดยพจิ ารณาเป็นรายข้อจะพบวา่ ผู้เขา้ รว่ มกิจกรรมส่วนใหญเ่ ห็นวา่ ได้ความรทู้ ่ีได้จาก
การเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สดุ ( ˉx = ๔.๖๕ , s.d = .๔๙) รองลงมา คือ มีความมัน่ ใจในการนำความรู้ไป
ประยุกต์ใช้ ( ˉx = ๔.๕๕ , s.d = .๕๑) ตามลำดบั

21

บทที่ 5
สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

การประเมนิ ผลโครงการในครั้งน้ี มีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือประเมินความคิดเหน็ และความพงึ พอใจของผูเ้ ขา้ ร่วม
โครงการส่งเสริมศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน หลกั สูตรชา่ งไม้

สรุปผลการประเมนิ โครงการ
การประเมนิ ผลโครงการในครงั้ น้ี มีวัตถปุ ระสงค์เพื่อประเมินความคดิ เห็นและความพงึ พอใจของผูเ้ ข้าร่วม

โครงการสง่ เสริมศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน หลักสตู รชา่ งปูน กลุ่มประชากรคือประชาชนในเขตพน้ื ท่ีตำบลหมื่นไวย
จำนวน ๑๕ คน ดงั น้ี

๑. แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมูลแสดงความพึงพอใจในด้านหลกั สตู ร พบว่าภาพรวมผูเ้ ข้าร่วมโครงการมี
ความพงึ พอใจในดา้ นหลักสูตรอยูใ่ นระดับมากทสี่ ุด ( ˉx = ๔.๖๐ , s.d = .๔๑) โดยพจิ ารณาเป็นรายขอ้ จะพบวา่
ผู้เข้ารว่ มกิจกรรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจเกีย่ วกบั หลกั สตู รมีความสอดคล้องกับความตอ้ งการของผูเ้ ข้ารว่ ม
โครงการอยู่ในระดบั มากที่สุด ( ˉx = ๔.๗๐ , s.d = .๔๗) รองลงมา คอื เน้ือหาหลักสูตรตรงกับความต้องการของ
ผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ ( ˉx = ๔.๖๐ , s.d = .๕๐) และ การสง่ เสรมิ ให้ผเู้ ข้ารว่ มอบรม คดิ เปน็ ทำเปน็ แก้ปญั หาเป็น
( ˉx = ๔.๕๐ , s.d = .๕๑) ตามลำดับ

๒. แสดงผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลแสดงความพึงพอใจในด้านด้านการจัดการเรยี นรู้ พบวา่ ภาพรวมผ้เู ขา้ ร่วม
โครงการมคี วามพงึ พอใจในดา้ นการจัดการเรียนรู้อยใู่ นระดับมากที่สุด ( ˉx = ๔.๗๐ , s.d = .๔๔) โดยพิจารณา
เป็นรายข้อจะพบวา่ ผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรมสว่ นใหญ่มีความพึงพอใจเก่ยี วกับสง่ เสริมให้ผู้เข้าร่วมอบรมไดร้ บั ความรู้
นำไปสูก่ ารปฏิบตั ิอยู่ในระดับมากทสี่ ุด ( ˉx = ๔.๗๕ , s.d = .๔๔) รองลงมา คือ กจิ กรรมการอบรมเปน็ ไป
ตามลำดับขัน้ ตอน ( ˉx = ๔.๖๕ , s.d = .๔๙) ตามลำดับ

๓. แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมูลแสดงความพึงพอใจในด้านวิทยากร พบว่าภาพรวมผู้เข้าร่วมโครงการมี
ความพึงพอใจในดา้ นวทิ ยากร ในระดบั มากทีส่ ุด ( ˉx = ๔.๗๕ , s.d = .๓๐) โดยพิจารณาเป็นรายข้อจะพบวา่
ผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมสว่ นใหญเ่ ห็นว่าวทิ ยากรความรู้ ความชำนาญ อยู่ในระดบั มากทีส่ ุด ( ˉx = ๔.๘๕ , s.d = .๓๗)
รองลงมาคอื การเตรียมตัวของวิทยากร ( ˉx = ๔.๗๕ , s.d = .๔๔) และการถ่ายทอดความรขู้ องวิทยากรมคี วาม
เขา้ ใจง่าย ชัดเจน ( ˉx = ๔.๖๕ , s.d = .๔๙) ตามลำดับ

๔. แสดงผลการวิเคราะหข์ ้อมูลแสดงความพึงพอใจในด้านส่ือ วสั ดุอปุ กรณ์ สถานที่ พบวา่ ภาพรวม
ผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมมคี วามพึงพอใจในด้านสื่อ วัสดอุ ปุ กรณ์ สถานทใี่ นระดบั มากทสี่ ดุ ( ˉx = ๔.๕๓ , s.d = .๔๖) โดย
พิจารณาเปน็ รายข้อจะพบวา่ ผเู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรมสว่ นใหญเ่ ห็นวา่ ส่อื วัสดอุ ุปกรณม์ ีความเพยี งพอกับผู้เขา้ ร่วม
โครงการอยู่ในระดับมากทส่ี ดุ ( ˉx = ๔.๖๕ , s.d = .๔๙) รองลงมาคือ สถานทีจ่ ัดกิจกรรมเอ้อื ต่อการเรียนรู้
( ˉx = ๔.๕๐ , s.d = .๖๙) และส่อื วัสดอุ ปุ กรณ์มคี วามทันสมัย ( ˉx = ๔.๔๕ , s.d = .๖๐) ตามลำดบั

๕. แสดงผลการวเิ คราะห์ข้อมูลแสดงความพึงพอใจในด้านผลท่ไี ดจ้ ากการฝกึ อบรม พบว่าภาพรวม
ผ้เู ขา้ รว่ มกจิ กรรมมีความพึงพอใจในดา้ นผลท่ีได้จากการฝกึ อบรม อยู่ในระดบั มากท่ีสุด ( ˉx = ๔.๖๐, s.d = .๔๕)
โดยพิจารณาเป็นรายขอ้ จะพบวา่ ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมสว่ นใหญเ่ หน็ ว่าไดค้ วามรู้ทีไ่ ดจ้ ากการเรยี นรู้ อยใู่ นระดับมาก

22

ท่สี ุด ( ˉx = ๔.๖๕ , s.d = .๔๙) รองลงมา คือ มีความมัน่ ใจในการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ( ˉx = ๔.๕๕ , s.d = .
๕๑) ตามลำดบั

อภปิ รายผล
การประเมนิ โครงการสง่ เสรมิ ศูนย์ฝึกอาชีพชมุ ชน หลกั สูตรชา่ งไม้ ดำเนนิ ตามรปู แบบการ

ประเมินทุกขัน้ ตอนอยา่ งเปน็ ระบบ ผลการประเมินมีความเชอื่ มนั่ เป็นไปวัตถปุ ระสงคท์ ก่ี ำหนด คอื
1. ตัวช้ีวดั ผลผลิต มผี เู้ ขา้ ร่วมโครงการส่งเสรมิ ศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน หลักสูตรช่างไม้

รอ้ ยละ 100
2. ตัวชว้ี ดั ผลลัพธ์ ร้อยละ ๘๕ ประชาชนในชมุ ชนและประชาชนท่ัวไป สามารถนำความรู้ท่ี

ไดร้ บั ไปใช้ในชีวิตประจำวนั และประกอบอาชีพได้

ข้อเสนอแนะ
ควรนำผลการประเมินโครงการสง่ เสริมศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน หลกั สูตรชา่ งไม้

กศน.อำเภอเมืองนครราชสมี า ไปปรบั ใชใ้ นโครงการหรือกิจกรรมท่เี ก่ียวข้องตอ่ ไป


Click to View FlipBook Version