The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน อาชีพระยะสั้น การทำพรมเช็คเท้า วันที่ 17 - 21 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่12 บ้านมะขามเฒ่าพัฒนา ต.บ้านใหม่ อ.เมือง จ.นครราชสีมา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mueang, 2022-01-26 01:59:32

รายงานผลการดำเนินงานโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน อาชีพระยะสั้น การทำพรมเช็คเท้า

โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน อาชีพระยะสั้น การทำพรมเช็คเท้า วันที่ 17 - 21 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่12 บ้านมะขามเฒ่าพัฒนา ต.บ้านใหม่ อ.เมือง จ.นครราชสีมา



รายงานผลการดำเนนิ งาน

โครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน กิจกรรมอาชีพระยะสั้น
หลกั สูตรการทำพรมเชด็ เทา้

วนั ที่ 17 – 21 กมุ ภาพันธ์ 2563
ณ ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 12 บา้ นมะขามเฒ่าพฒั นา ตำบลบา้ นใหม่

อำเภอเมอื งนครราชสมี า จงั หวัดนครราชสีมา

จัดทำโดย
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมอื งนครราชสีมา

สำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั
นครราชสีมา

สำนกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
ปกี ารศึกษา 2563



คำนำ
การจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนกับ กศน. เป็นการให้บริการกับผู้เรียน
ผู้รับบริการ และชุมชน ในหลายลักษณะ เพื่อให้การดำเนินการจัดกิจกรรมสอดคล้องกับสภาพปัญหาและ
ความต้องการของผู้เรียน ผู้รับบริการและชุมชนได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งจะเป็นการสรุปผลการดำเนินงาน
ปีงบประมาณ 2562 ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองนครราชสมี า
การสรุปผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2563 โครงการส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนกับ กศน.
ตำบลบา้ นใหม่ หลกั สตู รการทำพรมเช็ดเท้า เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของชุมชน โดยยดึ หลักชมุ ชนเป็นฐาน
และบูรณาการกิจกรรมให้สอดคล้องกับวิถีชุมชน ให้ฝึกทักษะจนสามารถนำไปสู่การปฏิบัตจิ รงิ และสามารถ
ประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตและพรอ้ มทจ่ี ะนำไปประกอบอาชพี เพื่อสรา้ งรายได้อย่างยัง่ ยนื
ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมอื งนครราชสีมา โดย กศน.ตำบล
บา้ นใหมห่ วงั วา่ เอกสารเล่มนี้ที่จะบง่ บอกถึงการบรรลวุ ัตถุประสงค์ของโครงการ และจะเปน็ ประโยชน์ต่อการ
จัดกิจกรรม กศน.ทั้งในการบริหารงาน การพัฒนาคน และการทำงานที่ตรงตามความต้องการของผู้เรียน
ผูร้ บั บรกิ ารและชมุ ชนและสามารถเผยแพรต่ ่อสาธารณชนได้ และขอขอบคุณผมู้ สี ว่ นเกย่ี วข้องทกุ ทา่ นไว้
ณ โอกาสน้ดี ว้ ย

กุมภาพันธ์ 2563

สารบญั หน้า

เร่ือง ก
1
คำนำ 3
บทที่ 1 บทนำ 8
บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง 10
บทท่ี 3 วิธีการประเมนิ โครงการ 15
บทที่ 4 ผลการประเมินโครงการ
บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
ภาคผนวก
- โครงการ
- ภาพกิจกรรม



1

บทนำ

ท่ีมาและความสำคญั
ก าร จั ด ก าร ศึ ก ษ า อ า ชี พ ใน ปั จ จุ บั น มี ค ว า ม ส ำ คั ญ ม า ก เพ รา ะ จ ะ เป็ น ก าร พั ฒ น าป ร ะ เท ศ ให้ มี ค ว าม รู้

ความสามารถและทกั ษะในการประกอบอาชีพของบุคคลและกลมุ่ บคุ คล เปน็ การแกป้ ัญหาการว่างงาน และสง่ เสริม
ความเข้มแข็งใหแ้ กเ่ ศรษฐกิจชุมชน กระทรวงศึกษาธกิ ารได้กำหนดยุทธศาสตร์ท่ีจะพัฒนา 5 ศักยภาพของพ้ืนที่คือ
ศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติในแตล่ ะพ้ืนที่ ศักยภาพของพ้ืนทตี่ ามลักษณะภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมปิ ระเทศ
และทำเลที่ตง้ั ของแต่ละพืน้ ที่ ศักยภาพของศิลปวฒั นธรรม ประเพณีและวิถีชีวิตของแต่ละพื้นที่ และศักยภาพของ
ทรัพยากรมนุษย์ในแต่ละพ้ืนท่ีใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม เศรษฐกิจ
สร้างสรรค์ จัดการและบริการสำนักงาน กศน. ได้นำนโยบายและยุทธศาสตร์ ดังกล่าวสู่การปฏิบตั ิ เพ่ือจัดการศกึ ษา
พัฒนาอาชีพให้กลุ่มเป้าหมายและประชาชนมีรายได้และมีงานทำอย่างย่ังยืน มีความสามารถเชิงการแข่งขันทั้งใน
ระดบั ภูมิภาคอาเซียนและระดบั สากล โดยจัดศนู ย์ฝึกอาชีพชมุ ชน ทัว่ ประเทศซ่ึงการดำเนินการดังกลา่ วจะทำใหก้ าร
จัดการศึกษาของประเทศและของสำนักงาน กศน. เป็นการจัดการศึกษาของประเทศ เป็นการจัดการศึกษาตลอด
ชวี ติ อยา่ งแทจ้ ริง

ดังน้ันศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนครราชสมี า โดย กศน.ตำบล
บ้านใหม่ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนกับ กศน.ตำบลบ้านใหม่ หลักสูตรการทำพรมเช็ดเท้า
ใหแ้ ก่ประชาชนผู้สนใจในพน้ื ที่ตำบลบ้านใหม่ได้เรียนร้แู ละฝกึ อาชีพ เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของชมุ ชน โดยยึด
หลักชมุ ชนเป็นฐานและบูรณาการกิจกรรมให้สอดคล้องกับวิถีชุมชน ให้ฝึกทักษะจนสามารถนำไปสู่การปฏิบัติจริง
และสามารถประยกุ ต์ใชใ้ นการดำเนินชวี ติ และพรอ้ มทีจ่ ะนำไปประกอบอาชพี เพอ่ื สรา้ งรายไดอ้ ย่างยง่ั ยนื
วตั ถปุ ระสงค์

1. เพอ่ื ใหป้ ระชาชนได้เรยี นรแู้ ละเขา้ ใจเกี่ยวกับการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพได้เห็นช่องทางการประกอบ
อาชพี และสามารถพ่ึงตนเองได้

2. เพอื่ ให้ประชาชนฝกึ ทักษะจนสามารถนำไปสกู่ ารปฏิบัติจริง และสามารถประยกุ ต์ใช้ในการดำเนนิ ชวี ติ
และพร้อมท่ีจะนำไปประกอบอาชีพเพ่ือสร้างรายไดอ้ ยา่ งย่ังยืน

3. เพอื่ ใหป้ ระชาชนที่เข้ารว่ มโครงการสามารถนำความรู้ท่ีไดไ้ ปพัฒนาตนเองและเปน็ แบบอย่างได้
เป้าหมาย

1. เชงิ ปริมาณ
ประชาชนในพืน้ ที่ตำบลบา้ นใหม่ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 8 คน

2. เชิงคุณภาพ
ประชาชนในเขตพน้ื ทบ่ี รกิ ารตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมอื งนครราชสีมา ได้เรียนรู้และเขา้ ใจเกีย่ วกบั

การศึกษาเพอ่ื พฒั นาอาชพี ได้เห็นช่องทางการประกอบอาชีพ สามารถพง่ึ ตนเองได้ ฝกึ ทักษะจนสามารถ
นำไปสูก่ ารปฏิบตั จิ ริง สามารถประยุกต์ใช้ในการดำเนินชวี ติ และพร้อมทีจ่ ะนำไปประกอบอาชพี เพอื่ สร้างรายได้
อยา่ งย่ังยืนได้
วธิ ีการดำเนินการ

2

1. สำรวจความต้องการ/ประชาสมั พนั ธ์วางแผนการจดั กจิ กรรมโครงการ
2. ประชมุ เพ่ือวางแผนจดั ทำโครงการเสนอตอ่ กศน. อำเภอเมืองนครราชสมี าและประสานวทิ ยากร
3. ดำเนนิ การจัดกจิ กรรมโครงการ ดังนี้ อบรมใหค้ วามร้เู รื่องการทำพรมเช็ดเท้า
4. ดำเนนิ การวัดผล/ประเมนิ ผล
5. กำกับนเิ ทศ/ตดิ ตามผลการดำเนินงาน
6. สรุป/รายงานผลการจัดกิจกรรมโครงการ

ขอบเขตการดำเนนิ โครงการ
1. การดำเนินโครงการคร้งั น้ที ำการศึกษาเพื่อใหป้ ระชาชนไดเ้ รยี นรู้และเขา้ ใจเกย่ี วกบั การศึกษาฝกึ ทกั ษะ

อาชพี การทำขนมไทยได้
2. การดำเนนิ โครงการใช้ผู้เขา้ รว่ มโครงการ จำนวน 8 คน

ผลลพั ธ์ (Outcome)
ประชาชนท่ีเข้ารว่ มโครงการได้เรยี นรูเ้ กยี่ วกับอาชีพการทำพรมเชด็ เท้า และสามารถนำความรู้ไปปรบั ใช้

ในชีวิตประจำวนั และเปน็ ตวั อยา่ งทีด่ ีในตำบล

ตัวชวี้ ัดผลสำเร็จของโครงการ
1. ตวั ช้ีวัดผลผลติ (Output)
- ร้อยละ 85 ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความร้คู วามเข้าใจในและมที ักษะในการทำพรมเช็ดเทา้
- รอ้ ยละ 10 ของประชาชนสามารถเปน็ ตวั อย่างที่ดีได้
2. ตวั ชีว้ ัดผลลพั ธ์ (Outcome)
ประชาชนทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการมคี วามรูเ้ ก่ียวกับอาชีพการทำพรมเชด็ เท้า และนำความรไู้ ปปรับใช้

ในชีวิตประจำวนั และเปน็ ตัวอย่างท่ดี ใี นตำบล

การติดตามและประเมนิ ผลโครงการ
1. แบบประเมินความพงึ พอใจ
2. การสงั เกตผลงาน

3

บทท่ี 2
เอกสารที่เกยี่ วข้อง

ในการจดั ทำการศึกษาคน้ คว้าพรมเช็ดเท้า การทำพรมเช็ดเทา้ ความรเู้ ก่ยี วกับการทำพรมเช็ดเทา้ ผู้จดั ทำ
ได้ศกึ ษาขอ้ มลู เอกสารท่เี กยี่ วขอ้ งดังน้ี

2.1 พรมเช็ดเทา้

2.2 เวบ็ ไซต์ (Website)

2.1 พรมเช็ดเทา้

ทอพรมเชด็ เท้า เพอ่ื จัดต้ังกลุ่มตัดเย็บผ้า ซึ่งยึดเป็นอาชพี เสรมิ จากการทำอาชพี หลักคือ เกษตรกรรมและ

ต่อมาได้มีโอกาสไปดงู านกลุ่มทอพรมเช็ดเทา้ ประกอบกับไดด้ ทู างทวี ีในเร่อื งของการทอพรมเช็ดเทา้ จงึ ได้คิดรเิ ร่มิ

ทอพรมเช็ดเท้า ปัจจบุ นั มีการนำวัสดุเหลอื ใช้มาประดิษฐเ์ ปน็ ส่งิ ของสำหรบั ใชส้ อยในชวี ิตประจำวันมากมาย เชน่

พรมเช็ดเท้าจากเศษผา้ ของใช้ที่ทกุ ๆครวั เรือนจะต้องมี ทุกวนั นพ้ี รมเชด็ เท้ามลี วดลายและรปู แบบตา่ งๆมากมายให้

เราเลอื กใช้ แถมวิธีก็ไมไ่ ดย้ ากอย่างทค่ี ิดอีกทง้ั ยงั สามารถนำไปประกอบอาชพี อิสระไดอ้ ีกด้วย สำหรับผู้ทกี่ ำลงั มอง

หาลู่ทาง ประกอบอาชพี อสิ ระ ทีส่ ามารถทำอยู่บ้านได้ และมเี วลาดแู ลบ้าน ดูแลครอบครัว การทำพรมเชด็ เท้าขาย

นบั วา่ เป็นอีกอาชีพหนง่ึ ท่ีนา่ สนใจ ลงทนุ น้อยทำง่าย สร้างรายได้เป๋นกอบเปน็ กำอกี ดว้ ย

เศษผ้า ทน่ี ำมาเปน็ เศษผา้ ท่ไี ม่ใชแ้ ลว้ จากโรงงานมาประดิษฐเ์ พื่อประหยดั คา่ ใชจ้ ่ายในการซอื้ ผา้

ลดขยะมลู ฝอย และนำมาทำเปน็ พรมเชด็ เทา้ ลวดลายต่างๆไดแ้ บบสวยงาม

กรรไกร (องั กฤษ: scissors) เป็นเคร่ืองมอื ทใี่ ช้สำหรับตัดวสั ดุบาง ๆ โดยใชแ้ รงกดเล็กน้อย โดยใชต้ ดั วัสดุ
เช่น กระดาษ กระดาษแข็งแผน่ โลหะบาง พลาสติกบาง อาหารบางอยา่ ง ผ้า เชือก และสายไฟ เป็นตน้ นอกจากนี้
ยังใช้เพือ่ ตดั ผมก็ได้ ส่วนกรรไกรขนาดใหญอ่ าจใชต้ ดั ใบไมแ้ ละกิ่งไม้ ซงึ่ มคี วามแขง็ แรงเป็นพิเศษกรรไกรนนั้ ตา่ ง
จากมีด เพราะมใี บมดี 2 อัน ประกบกันโดยมจี ุดหมุนร่วมกนั กรรไกรส่วนใหญ่จะไม่มีความคมมากนกั แต่อาศัย
แรงฉกี ระหว่างใบมดี สองด้าน กรรไกรของเด็กนัน้ จะมีความคมน้อยมาก และมกั มีพลาสตกิ หุ้มเอาไวใ้ น
ภาษาไทย เรียก “กรรไกร”, “กรรไตร” หรือ “ตะไกร” ส่วนในภาษาอังกฤษ โดยทวั่ ไปเรียกวา่ “scissors”แตใ่ น
อตุ สาหกรรม เรยี กกรรไกรท่ีมคี วามยาวมากกว่า 15 เซนติเมรตวา่ “shears”แตท่ ีน่ ยิ มเรยี กในประเทศไทย
คือ กรรไกร ในทางกลศาสตร์ ถือว่ากรรไกรเปน็ คานคชู่ ั้น 1 (First-Class Lever) ซึ่งมหี มุดกลางทำหนา้ ทีเ่ ปน็ จุด
หมุน ส่วนการตดั วัสดหุ นาหรือแขง็ นน้ั จะให้วสั ดุอยูใ่ กลจ้ ุดหมุน เพ่อื เพ่ิมแรงกดให้มากที่สุด ตัวอยา่ งเช่นหากแรงท่ี
ใช้ (นน่ั คือ มอื ) ห่างจากจุดหมนุ เป็นสองเท่าของตำแหน่งที่ตัด

ตวั ก่ี(เครอื่ งทอผ้า) ก่ี หรอื หกู เปน็ เครือ่ งมือสำหรบั ทอผา้ มีหลายขนาดและชนดิ แตม่ ีหลกั การพ้ืนฐาน
อย่างเดียวกนั คือ การขดั ประสานระหวา่ งด้ายเส้นพงุ่ และด้ายเส้นยืนจนแนน่ เป็นเนือ้ ผ้า คลา้ ยกับการจักสาน แต่
มีความละเอยี ดสงู กว่า เนอื่ งจากเส้นดา้ ยมีขนาดทเ่ี ล็ก และละเอียดกว่า เดิมนน้ั ก่ีทอผ้าเป็นอุปกรณท์ ต่ี ้องใช้
แรงงานแต่หลังจากการปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรมไดเ้ กิดเครอื่ งจกั ร สำหรับทอผ้า ซ่งึ ไมไ่ ดอ้ กี วา่ "ก่ี" แต่ก็อนุโลมเรียกชอื่ น้ี

4

ไดด้ ้วยมีคณุ ลักษณะพืน้ ฐานอยา่ งเดยี วกัน กม่ี ีด้วยกนั หลายชนิด แต่ละชนิดมีวิธีการทอท่แี ตกตา่ งกนั และให้ลาย
ผ้าทแ่ี ตกต่างกันด้วย

ด้าย เส้นยืน หรือ ดา้ ยยืน (ในการทอผ้า) หมายถึง เส้นดา้ ยชุดหนง่ึ ทเ่ี รียงอยใู่ นแนวขวาง โดยจะมเี ส้นพุง่
คอยขัดสลบั ใหก้ ลายเป็นผนื ผ้า ในการทอผา้ ชา่ งทอจะตอ้ งเตรยี มเสน้ ดา้ ยยนื เอาไวก้ อ่ นเสมอ โดยอาจมีความยาว
หลายสิบเมตร การเตรยี มด้ายยนื เป็นเรอ่ื งท่ียุ่งยาก และใช้เวลามากด้ายเส้นยนื มีความสำคัญในการทอผา้ ไม่น้อย
ไปกว่าด้ายเส้นพุ่ง เม่อื เตรยี มแล้ว จะไม่สามารถเปลย่ี นเส้นดา้ ยยืน จนกวา่ จะทอไปตลอดปืน เสน้ ยนื โดยท่ัวไปจะมี
ขนาดเลก็ กวา่ เสน้ พงุ่ มกั จะใชด้ ้ายทม่ี ีคณุ ภาพสูง มคี วามทนทาน และเรยี บ ไม่ขรุขระการทอผา้ โดยทัว่ ไปจะใช้เส้น
ยืนสีเดียว หากเสน้ ยนื สเี ขม้ กจ็ ะทำให้เนอื้ ผ้ามีสเี ขม้ หากเสน้ ยนื มสี ีอ่อน ก็จะทำให้ผ้ามสี อี อ่ น แต่การทอผ้าบาง
ชนิด เชน่ ผ้าขาวมา้ หรือ ผ้าอันปรมเสน้ ยนื จะมหี ลายสี ตามความตอ้ งการของช่างทอ กรณีที่ทอผา้ มุก ช่างทอ
จะตอ้ งเตรยี มเสน้ ยืนสองชุด ชุดหนงึ่ เป็นเสน้ ยืนปกติ หรอื เสน้ ยืนหลัก อกี ชุดหน่ึงเป็นเส้นยืนพิเศษ (มีจำนวนนอ้ ย
กว่าเสน้ ยนื หลัก) ยกลอยเหนอื เส้นยนื หลกั เพอ่ื สร้างลวดลายเสริมให้กบั ผนื ผา้ ในแนวตงั้

ผ้า (เศษผา้ ) ผา้ คือ ส่ิงทีไ่ ด้จากการนำวสั ดุธรรมชาติหรอื วสั ดุท่ีสังเคราะห์ขึน้ มาสานหรือทอจนเปน็ เนอื้
เดยี วกนั เช่น ฝ้าย ใยไหม ไนลอน เปน็ ต้น ประโยชนข์ องผ้าคอื การนำมาตัดเยบ็ เปน็ เคร่อื งนุง่ หม่ เครอ่ื งใช้ประเภท
ผ้าตา่ งๆ และในดา้ นอื่นๆ เชน่ การตกแตง่ สถานท่ี เปน็ ตน้ วสั ดทุ ี่หลักใชใ้ นการผลติ ผ้า ได้แก่ วัสดจุ ากสัตว์ วสั ดุ
จากพชื แร่ธรรมชาติ และจากการสงั เคราะห์เคมี
ผ้าฝ้าย (cotton)

เศษผ้า ผา้ ชนิดต่าง ๆ ท่ีเหลือใช้จากการใชง้ านแลว้ มีหลายสี หลายขนาด หรืออาจจะถกู ตัดออกเปน็ ชนิ้
เลก็ ชน้ิ น้อย

วสั ดุท่ใี ชใ้ นการผลติ ผา้
• สตั ว์ วสั ดุทไ่ี ด้จากจะนำมาจากผม ขน ผวิ หนัง และเส้นใย (ดักแด้) ที่ได้จากสัตว์ เช่น ขนแกะ ขนแพะ
เป็นตน้ ตัวอย่างของผลิตภัณฑ์ทีไ่ ด้ คือ เสื้อขนแกะ และผ้าไหม
• พืช วัสดุท่ไี ดจ้ ะนำมาจากเสน้ ใยของพชื เช่น ใยสัปปะรด ใยฝ้าย เปน็ ตน้ ตัวอย่างของผลติ ภัณฑ์ทีไ่ ด้ คอื
เสื้อใยสัปปะรด เสือ้ ที่ทำจากฝา้ ยสำหรบั เดก็ ออ่ น
• แรธ่ รรมชาติ วัสดทุ ีไ่ ด้จะนำมาจากเสน้ ใยของแรธ่ รรมชาติ เช่น ใยหนิ และใยบะซอลต์ ตัวอยา่ งของ
ผลติ ภัณฑท์ ่ไี ดค้ อื ผา้ คลมุ ด้านลา่ งของประตูท่มี คี วามทนทานมากๆ (นิยมในต่างประเทศ) สำหรับปอ้ งกนั
รอยขดี ข่วนจากสัตว์โดยเฉพาะ เชน่ สุนัข แมว เป็นต้น
• สงั เคราะห์เคมี วสั ดทุ ไ่ี ดม้ าจากการสงั เคราะห์ข้นึ ดว้ ยกระบวนการทางเคมี เชน่ ไนลอน เส้นใยทนไฟ
เป็นตน้ ตัวอยา่ งของผลติ ภณั ฑ์ทไ่ี ด้คอื ถงุ น่องของผหู้ ญิง เสอ้ื คลุมทีต่ ิดไฟยากสำหรับนกั ดบั เพลิง
นอกจากนยี้ ังมผี ลติ ภัณฑ์เก่ียวกับผ้าทางการแพทย์อีกด้วย เช่น ชดุ สำหรบั แพทย์ในหอ้ งผา่ ตัดทมี่ ีการ
เคลอื บสารพเิ ศษสำหรับฆา่ เชื้อโรคเป็นต้น

5

ชนดิ ของผ้า
1. ผา้ TK หรือทเี่ รยี กทั่วไปวา่ ผา้ ใยสงั เคราะห์(Polyester)

เปน็ ผา้ ทีม่ ีสว่ นผสมหลกั เป็นผ้าใยสังเคราะหป์ ระเภท Polyester ซ่งึ คือเส้นใยสังเคราะหช์ นดิ หน่ึง
ท่มี นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ เกิดจากสารประกอบโพลีเมอร์ โดยมีลกั ษณะและคุณสมบัติ ดังต่อไปน้ี

ข้อดี : 1. เปน็ ผ้าที่สามารถคนื รูปง่ายไมว่ า่ จะแห้งหรือเปียก ดูแลรกั ษาง่าย อยู่ทรง
ไมค่ ่อยหดและยว้ ย

2. สีคอ่ นขา้ งสด และซีดยาก
3. สำหรับผ้า Polyester บางประเภท สามารถนำมาเพิม่ คุณสมบตั ิต่างๆ ได้ เชน่ คณุ สมบตั
ในการซบั เหง่อื หรอื คณุ สมบัติที่ทำให้สวมใส่สบาย
4. โดยท่ัวไปราคาเสอ้ื ที่ทำจากผ้า TK จะมรี าคาถูกเม่ือเปรียบเทยี บกับผ้าชนดิ อน่ื ๆ
2. ผา้ TC
เปน็ ผา้ ทมี่ ีสว่ นผสมของ Cotton มาช่วยเพิม่ ความนุ่มให้กับ Polyester ในสดั สว่ นการผสม
ท่ี Polyester 65% กบั Cotton 35% ซ่ึงมีลักษณะและคุณสมบตั ิ ดังตอ่ ไปน้ี
ลกั ษณะเนื้อผ้า : มีความน่มุ กวา่ ผ้า TK เนื่องจากประกอบด้วยส่วนผสมของผ้า Cotton ซึ่งถือเปน็
เสน้ ใยธรรมชาติจากฝ้าย ช่วยเพ่มิ ความนุ่มให้แกเ่ นอ้ื ผา้
ข้อดี : ระบายความรอ้ นไดร้ ะดบั หนึ่ง สวมใสสบายและการดดู ซับเหง่อื ดพี อใช้ เมื่อเทยี บกบั ผา้ TK
ขอ้ เสยี : ผา้ อาจมีความยว้ ยบ้างเม่อื ผา่ นการซกั หลายๆครงั้
3. ผ้า CVC
เป็นผ้าทม่ี ีสว่ นผสมของ Cotton80% และ Polyester20% ซง่ึ เปน็ สัดสว่ นท่ที ำให้ได้คณุ สมบตั ิผา้
ทีด่ ีข้ึนเน่อื งจากเปน็ การนำเสน้ ใยธรรมชาต(ิ Cotton) มาผสมผสานกบั เสน้ ใยสงั เคราะห์(Polyester) โดย
ลกั ษณะผา้ และคณุ สมบัติผ้า มีดังน้ี
ลักษณะผ้า : เนือ้ ผ้าแน่น และนุ่ม เนื้อผ้ามีความละเอยี ด ใส่สบาย
ขอ้ ดี : เปน็ เนือ้ ผา้ ทีม่ ีความยืดหย่นุ สงู ระบายอากาศได้สงู ดูดซบั เหงื่อไดด้ ี
ข้อเสีย :ราคาค่อนข้างสูง เม่ือเทยี บกับผ้า TK และ TC

6

4. ผ้า Cotton 100%
เปน็ ผา้ ท่เี กิดจากเส้นใยฝ้าย(เปน็ เสน้ ใยธรรมชาติ 100%) นำมาปนั่ ใหเ้ ป็นเสน้ ด้าย แลว้ นำมาทอ

เป็นผนื ผ้า ซึง่ คุณภาพของผา้ จะแตกต่างกันออกไป ท้ังนี้ ข้ึนอยู่กับหลายปัจจัย เชน่ การเรยี งตวั กันของ
เสน้ ดา้ ย ความหนาของเส้นด้าย และอาจเป็นท่ีความบริสทุ ธ์ิของเส้นด้าย เปน็ ต้น โดยท่ถี า้ จะแบ่งคุณภาพ
ของผ้า Cotton ตามท้องตลาดท่ัวไป สามารถแบ่งได้ดงั นี้
1.การแบง่ ตามชนดิ ของเบอรเ์ สน้ ด้าย สามารถจำแนกได้ 3 เบอร์ ดังนี้

1.1 Cotton 100% ที่ใช้เส้นดา้ ย No.20 ถอื เป็นเสน้ ดา้ ยทมี่ ขี นาดใหญก่ ว่าเส้นด้าย
เบอร์ 32 ลกั ษณะเน้ือผ้าจึงมคี วามหนาและแข็งกวา่ ผ้าCotton 100% เบอร์32

1.2 Cotton 100% ทใ่ี ชเ้ ส้นดา้ ย No.32 มีลกั ษณะนมุ่ และใสส่ บายกว่า เบอร์ 20 จึงนิยมใช้ทำ
เปน็ เสื้อยืดมากกวา่ แต่ทัง้ น้ี กข็ ึ้นอย่กู ับความชอบของแตล่ ะคน

1.3 Cotton 100% ทใี่ ชเ้ ส้นด้าย No.40 ซ่งึ ถือเป็นเสน้ ดา้ ยท่ีมีขนาดเล็กมาก ส่วนใหญจ่ งึ ตอ้ งสงั่
ทอพิเศษ เพราะตอ้ งอาศัยการผลิตจากเครือ่ งจักรและเป็นการผลิตทย่ี ่งุ ยากและสลับซบั ซอ้ น ทำให้มีต้นทุน
การผลิตที่สงู ดงั นั้น หากเรานำมาผลิตเส้อื ยดื กจ็ ะทำใหม้ ีต้นทนุ ที่สงู ตาม จงึ ยังไมเ่ ป็นทพ่ี บเหน็ ในทอ้ งตลาด
เท่าท่ีควร
2.การแบง่ ตามกระบวนการผลิตเสน้ ดา้ ย

เปน็ การแบ่งตามคณุ ภาพของการเรยี งตวั ของเส้นดา้ ย ท่วี ัดจากสม่ำเสมอ ความหนาแนน่ และ
ความสะอาดของเสน้ ใย เพือ่ ไดเ้ สน้ ดา้ ยท่ีมคี ณุ สมบตั ทิ ี่ดเี มอ่ื นำไปทอเป็นผนื โดยการแบง่ คุณภาพดังกล่าวน้ี
เราจะเริ่มกนั ต้งั แต่ กระบวนการผลิต / พันธขุ์ องฝา้ ยที่ลอื กใช้ / การคัดแยกคุณภาพหลังเกบ็ เกยี่ ว สง่ ผลให้
ไดเ้ กรดผ้าฝา้ ย 3 เกรด ดังน้ี

2.1 Cotton OE เปน็ ผ้าท่ไี มไ่ ดผ้ า่ นกระบวนการคัดคุณภาพของเส้นใยฝา้ ย ทำใหผ้ ้าชนิดนม้ี คี วาม
ทนทานคอ่ นข้างต่ำ ขาดงา่ ย

2.2 Cotton Semi เปน็ ผา้ ทไี่ ด้จากการผ่านกระบวนการคัดคุณภาพของเส้นใยฝ้าย โดยวธิ ีการสาง
เส้นใยฝ้ายโดยใช้เคร่ืองจักร ทำให้ได้เสน้ ด้ายใยสั้นทม่ี ีขนาดเบอร์20-32 ซง่ึ ทำให้ผ้ามคี วามนุ่มขึ้นกวา่ OE

2.3 Cotton Comb เป็นการคัดคณุ ภาพของเสน้ ใยโดยวธิ ีการหวเี สน้ ใยด้วยเคร่ืองจักร ซ่ึงถอื เป็น
กระบวนการท่ีมคี วามละเอียดและซบั ซ้อนกวา่ แบบสาง ส่งผลใหไ้ ดเ้ ส้นด้วยทมี่ ีขนาดเล็ก (คือเบอร์32ข้ึน
ไป) อกี ทงั้ กระบวนการดงั กลา่ งยังสามารถขจดั สิง่ สกปรกออกจากเสน้ ใยไดม้ าก จึงได้เสน้ ดา้ ยทมี่ ีเส้นใยยาว
กว่า เมื่อนำมาทอผ้าเป็นผนื จงึ ได้ผ้าทม่ี เี นอื้ นมุ่ เหนียว และทนทานขาดยากกวา่ กว่า OE และ Semi

7

4. ผ้า Endurance
เป็นผ้าที่มีสว่ นผสมของ Polyester100% แต่ไดม้ ีการนำนวตั กรรมนาโนเทคโนโลยีมาช่วยเพ่มิ

คุณสมบัติพเิ ศษบางประการให้กับเนอ้ื ผ้า เพ่ือเพม่ิ ประโยชนแ์ กผ่ ู้ใช้ โดยคณุ สมบตั ิพเิ ศษดังกลา่ วทำให้
ผา้ Enduranceเปน็ ผา้ ทม่ี ีการระบายอากาศได้ดี เนื้อผ้าไม่ตดิ ตัว ไมเ่ หนยี วเหนอะหนะเวลาสวมใส่ ดูแล
งา่ ย อีกทงั้ ยังมีคณุ สมบตั ิพเิ ศษในการตอ่ ตา้ นแบคทเี รีย ทำใหไ้ มเ่ กดิ กล่ินเหม็นอบั แม้วา่ เหง่ืออกมาก
5. ผ้า Dry-Tech

เป็นผ้าท่ีใช้เทคโนโลยแี บบทอสองช้นั เพื่อเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการใชง้ าน ทำให้ตวั ผ้ามคี ุณสมบัติ
สามารถดูดซบั เหงอ่ื ได้ดมี ากขน้ึ โดยตัวผ้าจะดดู ซับเหงื่อจากร่างกายและสง่ ผ่านไปยงั ผิวดา้ นนอก ช่วยให้ผา้
ระบายอากาศได้ดี

2.2 เว็บไซต์ (Website)
เว็บไซต์ หน้าเวบ็ เพจหลายหนา้ ซึ่งเชื่อมโยงกนั ผ่านทางไฮเปอรล์ งิ ก์ สว่ นใหญจ่ ดั ทำขน้ึ เพอ่ื นำเสนอ

ขอ้ มลู ผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไวใ้ นเวลิ ดไ์ วดเ์ วบ็ หน้าแรกของเว็บไซต์ทเ่ี กบ็ ไวท้ ่ชี อ่ื หลักจะ
เรยี กวา่ โฮมเพจเวบ็ ไซต์โดยท่วั ไปจะใหบ้ รกิ ารตอ่ ผ้ใู ช้ฟรี แต่ในขณะเดียวกนั บางเวบ็ ไซต์จำเปน็ ต้องมีการ
สมัครสมาชิกและเสยี ค่าบริการเพ่อื ท่จี ะดขู อ้ มูล ในเว็บไซต์นนั้ ซง่ึ ได้แกข่ อ้ มูลทางวิชาการ ข้อมูลตลาด
หลักทรัพย์ หรอื ข้อมูลส่ือตา่ งๆ ผู้ทำเวบ็ ไซตม์ ีหลากหลายระดับ ตัง้ แต่สร้างเว็บไซตส์ ่วนตวั จนถงึ ระดับ
เวบ็ ไซตส์ ำหรบั ธุรกจิ หรือองค์กรต่างๆ การเรยี กดูเว็บไซตโ์ ดยท่ัวไปนยิ มเรียกดูผา่ นซอฟตแ์ วรใ์ นลักษณะ
ของ เวบ็ เบราว์เซอร์

8

บทท่ี 3
วิธีการประเมนิ โครงการ

โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน กจิ กรรมอาชีพระยะสน้ั หลักสูตรการทำพรมเช็ดเท้า ใหก้ ับกลุ่มเป้าหมาย
ประชาชนในเขตตำบลบ้านใหม่ เพ่ือให้ประชาชนท่เี ข้ารว่ มโครงการได้รับการฝึกอาชีพสามารถนำความรมู้ า
ประกอบอาชพี เพอื่ เสริมสรา้ งรายไดใ้ หก้ ับครอบครวั ประชาชนที่เขา้ ร่วมโครงการจำนวน 8 คน
เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของชุมชนโดยยดึ ชุมชนเป็นฐานและบูรณาการกจิ กรรมให้สอดคล้องกบั วถิ ขี อง
ประชาชน ให้ฝึกทักษะสามารถนำไปส่กู ารปฏบิ ัติจรงิ และสามารถประยกุ ต์ใช้ในการดำเนินชีวิตและพร้อมทีจ่ ะ
นำไปประกอบอาชพี เพอ่ื สรา้ งรายไดอ้ ย่างย่งั ยนื

ไดน้ ำวงจรคณุ ภาพของเดมงิ่ PDCA มาใชใ้ นการดำเนนิ การ 4 ขัน้ ตอน ดังน้ี
1. ขัน้ ตอนการร่วมกนั วางแผน (Plan)
2. ขั้นตอนการร่วมมือกนั ปฏิบตั ิ (Do)
3. ขน้ั ตอนการรว่ มกนั ประเมิน (Check)
4. ขนั้ ตอนการร่วมปรบั ปรงุ (Act)

1. ขนั้ ตอนการรว่ มกนั วางแผน (Plan)
ขั้นตอนน้ีเป็นการวางแผนการดำเนนิ การโดยมขี ัน้ ตอน ดงั น้ี
1.1 ประชมุ ปรึกษาร่วมกันวางแผนกันระหว่างครู กศน.ตำบลและประชาชนตำบลบา้ นใหม่ ที่ได้

รับผดิ ชอบโครงการ แล้วขยายผลส่คู ณะครู กศน.ตำบลบ้านใหม่
1.2 จัดทำโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรมอาชีพระยะส้ัน หลักสูตรการทำพรมเช็ดเท้า

เสนอผู้บริหารเพือ่ พจิ ารณาเหน็ ชอบ
1.3 แตง่ ต้งั ผู้รับผดิ ชอบเก่ียวกับการจัดกิจกรรมแต่ละงานแต่ละกิจกรรมตามความเหมาะสม
1.4 สร้างความเขา้ ใจกับประชาชนเพ่อื กำหนดแนวทางมนการดำเนนิ การ
1.5 ตดิ ต่อประสานงานเตรยี มความพร้อม ท้งั ดา้ นสถานท่ี วทิ ยากร
1.6 กำหนดระยะเวลาในการดำเนินการและวธิ ปี ระเมนิ ผล

2. ข้ันตอนการร่วมกนั ประเมนิ (Do)
การปฏบิ ัติงานตามแผนงานท่ีวางไวโ้ ดยมขี น้ั ตอนในการดำเนินงาน ดงั น้ี
2.1 บนั ทกึ เสนอผูบ้ รหิ ารเพอ่ื ขออนุญาตดำเนนิ การ
2.2 ดำเนินการตามโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน กิจกรรมอาชีพระยะส้ัน หลกั สูตรการทำพรม

เชด็ เทา้ โดยมีกลุม่ เป้าหมายเป็นประชาชนตำบลบ้านใหม่ จำนวน 8 คน โดยมีกิจกรรมดำเนนิ การดงั นี้

9

2.2.1 สำรวจความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย
2.2.2 เตรยี มวิทยากรผสู้ อนท่มี ีความร้คู วามสามารถและส่ือการเรียนการสอน
2.2.3 ดำเนินโครงการ ให้กับกลุ่มเป้าหมาย
2.2.4 นเิ ทศการเรยี นการสอน/ประเมินโครงการ
2.2.5 สรุป/รายงานผล
3. ข้ันตอนการรว่ มประเมนิ (Check)
3.1 ดำเนินการประเมินผลการจัดกิจกรรมตามโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชุมชน กจิ กรรมอาชีพระยะสัน้
หลักสูตรการทำพรมเช็ดเทา้ โดยใช้แบบบนั ทกึ กจิ กรรม และแบบสอบถามความคดิ เหน็
3.2 ขอ้ มลู ทเ่ี ป็นมาตราสว่ นประมาณคา่ (Rating Scale) ใช้วิธีแจกแจงความถ่ี หาค่าเฉลยี่ (x̅)
สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) ทั้งในรายข้อและภาพรวมเทยี บกบั เกณฑ์ ดังน้ี

4.51 - 5.00 หมายถึง มคี วามเหมาะสม/การปฏิบัติอยใู่ นระดับมากทสี่ ุด
3.51 - 4.50 หมายถงึ มคี วามเหมาะสม/การปฏบิ ัตอิ ย่ใู นระดบั มาก
2.51 - 3.50 หมายถึง มีความเหมาะสม/การปฏบิ ัติอยใู่ นระดบั ปานกลาง
1.51 - 2.50 หมายถึง มคี วามเหมาะสม/การปฏบิ ัตอิ ยู่ในระดับน้อย
1.00 - 1.50 หมายถงึ มคี วามเหมาะสม/การปฏบิ ัตอิ ยใู่ นระดบั มากท่สี ุด
3.3 ข้อมลู ทีเ่ ป็นความคิดเหน็ ขอ้ เสนอแนะจากแบบบันทกึ กจิ กรรม ใชว้ ธิ วี ิเคราะห์เน้อื เรือ่ ง
3.4 สถติ ิทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มลู
(1) ค่าเฉล่ีย ( ̅)
(2) สว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.)
3.5 รายงานผลการดำเนินงาน

4. ข้ันตอนการรว่ มปรบั ปรงุ (Act)
เม่อื สรุปผลการดำเนินงานโครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน กิจกรรมอาชพี ระยะส้ัน หลกั สตู รการทำ

พรมเช็ดเท้า และข้อเสนอแนะกลุ่มงานผูร้ ับผิดชอบจึงได้นำสารสนเทศมาปรับปรงุ พฒั นาการงานใหม้ ี
ประสทิ ธภิ าพมากยิง่ ขึ้น

10

บทท่ี 4
ผลการประเมินโครงการ

ผลการวิเคราะหข์ ้อมูลโครงการศูนยฝ์ ึกอาชีพชุมชน กิจกรรมอาชพี ระยะสั้น หลักสตู รการ
ทำพรมเชด็ เทา้ ระหวา่ งวันท่ี 17 – 21 กมุ ภาพันธ์ 2563 ณ ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ที่ 12 บ้านมะขามเฒา่
พฒั นา ตำบลบา้ นใหม่ อำเภอเมอื งนครราชสีมา จงั หวัดนครราชสีมา มผี ู้เรยี นเข้าร่วมโครงการจำนวน 8 คน
สรุปได้ดังนี้ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู จากแบบประเมิน ไดผ้ ลการประเมิน ดังนื้
1. ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูลเบอ้ื งต้นของผู้ตอบแบบสอบถาม

ประเภทของขอ้ มลู จำนวน รอ้ ยละ

1. เพศ 100.0
-
- หญิง 8 100

- ชาย - -

รวม 8 25
75
2. อายุ 100

- ตำ่ กวา่ 15 ปี - 50
12.5
- 15 – 39 ปี - 37.5

- 40 – 59 ปี 2 -
100
- 60 ปีขึ้นไป 6

รวม 8

3. ระดับการศกึ ษา

- ประถมศึกษา 4

- มัธยมศึกษาตอนต้น 1

- มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 3

- ปรญิ ญาตรี -

รวม 8

ตารางที่ 1 ขอ้ มลู เบือ้ งตน้ ของผตู้ อบแบบสอบถาม

11

จากตารางท่ี 1 พบวา่ ผ้เู รยี นทเ่ี ข้าร่วมโครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน กิจกรรมอาชพี ระยะสนั้
หลักสูตรการทำพรมเช็ดเท้า มีสัดสว่ นประชาชนที่เขา้ ร่วมโครงการเปน็ เพศหญิง คดิ เป็นร้อยละ 100

โดยส่วนใหญ่มีอายรุ ะหว่าง 40 – 59 ปี คดิ เป็นร้อยละ 25.0 และอายุต่ำกว่า 15 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 12.5
ส่วนใหญ่มกี ารศึกษาอยูใ่ นระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย คิดเปน็ รอ้ ยละ 75.0 รองลงมาคอื ประถมศึกษา
คิดเป็นร้อยละ 25.00

2. ผลการวเิ คราะห์ความพึงพอใจผ้เู ขา้ ร่วมโครงการ

ด้านหลกั สูตร ระดบั ความพงึ พอใจ
̅ S.D. การแปลผล

1. กจิ กรรมทจ่ี ัดสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ของหลกั สูตร 4.55 .38 มากทส่ี ุด

2. เนอ้ื หาของหลกั สูตรตรงกับความต้องการของผู้เขา้ รับการอบรม 4.87 .52 มากทีส่ ดุ

3. การจดั กิจกรรมส่งเสรมิ ใหผ้ ูเ้ ขา้ รับการอบรมสามารถคิดเปน็ 4.95 .46 มากที่สดุ

ทำเปน็ แก้ปัญหาได้

4. ผูเ้ ข้ารับการอบรมมีสว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็ 4.68 .45 มากท่สี ุด

ต่อการจดั ทำหลกั สตู ร

รวม 4.76 .29 มากท่สี ดุ

ตารางที่ 2 ผเู้ รียนที่เข้าร่วมกจิ กรรมมีความพงึ พอใจดา้ นการจดั กิจกรรม

จากตารางท่ี 2 พบว่า ผ้เู รยี นที่เข้ารว่ มโครงการ มีความพงึ พอใจในดา้ นหลกั สูตรโดยภาพรวมอยูใ่ น
ระดบั มากทส่ี ุด ( ̅= 4.76, S.D. = .29) เม่อื พิจารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ ความพึงพอใจมากท่ีสุดอยู่ในระดับมาก
ท่ีสดุ คือ การจัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ ให้ผูเ้ ข้ารบั การอบรมสามารถคิดเป็น ทำเปน็ แกป้ ญั หาได้ ( ̅= 4.95, S.D. = .46)
รองลงมาคอื เนื้อหาของหลักสูตรตรงกบั ความตอ้ งการของผเู้ ขา้ รับการอบรม ( ̅= 4.87, S.D. = .52) ผู้เข้ารบั
การอบรมมสี ่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นตอ่ การจัดทำหลกั สูตร ( ̅= 4.68, S.D. = .45) และกิจกรรมที่จดั
สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงคข์ องหลักสูตร ( ̅= 4.55, S.D. = .38)

12

ดา้ นการจดั กระบวนการ ระดบั ความพงึ พอใจ
̅ S.D. การแปลผล

1. สถานที่จดั กิจกรรมเหมาะสม 4.70 .47 มากทีส่ ดุ

2. สอ่ื วัสดุอปุ กรณ์การเรยี นรมู้ เี พียงพอกบั ความต้องการ 4.80 .49 มากทส่ี ุด

3. การใช้แหลง่ เรยี นรู้/ภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ประกอบกิจกรรม 4.60 .41 มากทส่ี ุด

การเรียนรู้

รวม 4.70 .22 มากทส่ี ดุ

ตารางที่ 3 ผเู้ รยี นทเ่ี ข้ารว่ มกิจกรรมมีความพึงพอใจดา้ นการจดั กระบวนการ

จากตารางท่ี 3 พบว่า ผเู้ รียนทเี่ ข้าร่วมโครงการ มคี วามพึงพอใจดา้ นการจัดกระบวนการโดยภาพรวม
อยู่ในระดบั มากที่สุด ( ̅= 4.70, S.D. = .22) เม่ือพิจารณาเปน็ รายข้อพบว่า ความพึงพอใจมากทส่ี ุดอยใู่ นระดับ
ดมี ากทสี่ ุดทุกข้อ คือ สือ่ วสั ดุอุปกรณ์การเรยี นรูม้ เี พยี งพอกบั ความต้องการ ̅= 4.80, S.D. = .49) รองลงมาคอื
สถานท่จี ัดกจิ กรรมเหมาะสม ( ̅= 4.70, S.D. = .47) และการใช้แหล่งเรยี นร/ู้ ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ ประกอบ
กจิ กรรมการเรยี นรู้ ( ̅= 4.60, S.D. = .41)

ด้านวิทยากร ระดบั ความพึงพอใจ
̅ S.D. การแปลผล

1. วทิ ยากรมีความรคู้ วามสามารถในการจดั กิจกรรม 4.80 .41 มากที่สุด

2. วทิ ยากรมีเทคนิค วธิ กี ารในการจดั กระบวนการเรียนรู้ 4.70 .49 มากที่สุด

3. วิทยากรมีการใช้ส่อื ท่ีสอดคลอ้ งและเหมาะสมกับ 4.70 .47 มากทสี่ ดุ

กิจกรรม

4. บคุ ลิกภาพของวิทยากร 4.80 .41 มากที่สดุ

รวม 4.73 .27 มากที่สุด

ตารางที่ 4 ผู้เรยี นท่ีเข้ารว่ มกิจกรรมมคี วามพงึ พอใจดา้ นวิทยากร

จากตารางที่ 4 พบวา่ ผูเ้ รียนที่เข้าร่วมท่ีเข้ารว่ มโครงการ มีความพงึ พอใจด้านวิทยากร โดยภาพรวม

อยู่ในระดับมากทสี่ ุด ( ̅= 4.73, S.D. = .27) เมื่อพิจารณาเปน็ รายขอ้ พบวา่ ความพงึ พอใจอยู่ในระดับมาก

ท่ีสุดทุกหวั ข้อ คือ วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในการจดั กิจกรรม ( ̅= 4.80, S.D. = .41) บุคลิกภาพของ

วิทยากร ( ̅= 4.80, S.D. = .41) วทิ ยากรมีเทคนคิ วธิ กี ารในการจดั กระบวนการเรยี นรู้ ( ̅= 4.70, S.D. = .49)

และวทิ ยากรมีการใช้สือ่ ที่สอดคล้องและเหมาะสมกับกจิ กรรม ( ̅= 4.70, S.D. = .47)

13

ดา้ นคุณภาพผรู้ บั บรกิ าร ระดบั ความพึงพอใจ
̅ S.D. การแปลผล

1. ทา่ นเข้าใจเน้ือหาการอบรมในคร้งั น้ี 4.85 .36 มากทส่ี ุด

2. ทา่ นสามารถนำความรไู้ ปใช้ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเอง 4.55 .51 มากที่สดุ

3. ทา่ นสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดแกเ่ พ่ือนรว่ มงาน 4.75 .44 มากท่ีสดุ

4. ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั จากการเขา้ ร่วมกิจกรรมตามหลักสตู ร 4.80 .41 มากทสี่ ุด

รวม 4.74 .21 มากทีส่ ุด

ตารางที่ 5 ผู้เรยี นท่ีเข้ารว่ มกิจกรรมมคี วามพึงพอใจด้านคุณภาพผูร้ บั บริการ

จากตารางที่ 5 พบว่า ผเู้ รยี นที่เข้าร่วมทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการ มีความพึงพอใจด้านคณุ ภาพของผู้รบั บริการ

โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มากที่สดุ ( ̅= 4.74, S.D. = .21) เมื่อพจิ ารณาเป็นรายขอ้ พบวา่ ความพงึ พอใจมาก

ทส่ี ดุ อยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ ทกุ หัวข้อ คือ ท่านเขา้ ใจเนือ้ หาการอบรมในครัง้ น้ี ( ̅= 4.85, S.D. = .36) ประโยชน์ท่ี

ได้รับจากการเขา้ ร่วมกิจกรรมตามหลักสูตร ( ̅= 4.80, S.D. = .41) ท่านสามารถนำความรู้ไปถา่ ยทอดแก่เพ่อื น

ร่วมงาน ( ̅= 4.75, S.D. = .44) และท่านสามารถนำความรูไ้ ปใช้ประโยชนต์ ่อการพัฒนาตนเอง

( ̅= 4.55, S.D. = .44)

ประเภทกิจกรรม ระดับความพงึ พอใจ
X . S.D. การแปลผล

1. ด้านหลกั สูตร 4.73 .26 มากทส่ี ุด

2. ด้านการจดั กระบวนการ 4.70 .22 มากท่สี ดุ

3. ด้านวิทยากร 4.73 .27 มากทีส่ ดุ

4. ดา้ นคุณภาพของผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรม 4.74 .21 มากที่สดุ

รวม 4.73 .06 มากทีส่ ุด

ตารางที่ 6 ผู้เรียนทเ่ี ข้ารว่ มกจิ กรรมมีความพึงพอใจโดยรวมรายด้าน

จากตารางที่ 6 พบวา่ ผเู้ รียนทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ มคี วามพึงพอใจโดยภาพรวมรายดา้ นอย่ใู นระดับ

มากท่ีสุด ( ̅= 4.73, S.D. = .06) เมือ่ พิจารณาเปน็ รายด้านพบวา่ ความพึงพอใจมากท่ีสดุ อยู่ในระดับมากทสี่ ุด

คอื ดา้ นคุณภาพของผ้เู ข้ารว่ มกิจกรรม ( ̅= 4.74, S.D. = .21) รองลงมาคอื ด้านวทิ ยากร ( ̅= 4.73, S.D. =

.27) ดา้ นหลกั สูตร ( ̅= 4.73, S.D. = .26) และด้านการจัดกระบวนการ ( ̅= 4.70, S.D. = .22) ตามลำดับ

14

3. ผลการวเิ คราะห์ขอ้ เสนอแนะเพิ่มเติม จัดลำดบั การเกบ็ รวบรวมข้อมูลตามความถ่ีในการตอบของผ้ตู อบ
แบบสอบถาม

3.1 ขอใหม้ กี ารจัดอบรมลกั ษณะเช่นน้ีอีก
3.2 ขอให้มกี ารจัดโครงการทมี่ ีความหลากหลายทางด้านอาชีพ
3.3 ควรฝกึ ใหป้ ระชาชนโดยเนน้ ผ้สู งู อายุในชมุ ชนมามีสว่ นรว่ มในการจดั กิจกรรมโครงการ
3.4 วิทยากรมคี วามรู้ความเข้าใจอย่ใู นระดบั ดมี าก มีการจัดกระบวนการเรยี นรูไ้ ด้ดี

15

บทท่ี 5
สรุปผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ

สรปุ ผลการดำเนนิ งานและความพึงพอใจของผูเ้ ข้ารว่ มกจิ กรรมโครงการศนู ย์ฝึกอาชีพชุมชน กิจกรรม
อาชพี ระยะสนั้ หลักสูตรการทำพรมเช็ดเท้า ระหว่างวนั ที่ 17 – 21 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 ณ ศาลาเอนกประสงค์
หมทู่ ี่ 12 บ้านมะขามเฒา่ พฒั นา ตำบลบ้านใหม่ อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวดั นครราชสมี า สรุปผลได้ดงั นี้

สรุปผล
ความรคู้ วามเข้าใจของผู้เรียนท่เี ข้ารว่ มกิจกรรมโครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน กจิ กรรมอาชพี ระยะส้นั

หลักสตู รการทำพรมเช็ดเทา้ มีสัดสว่ นประชาชนท่ีเขา้ ร่วมโครงการเปน็ เพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 100
มีอายุระหว่าง 40 – 59 ปี คิดเป็นร้อยละ 25.0 และอายุต่ำกวา่ 15 ปี คิดเปน็ ร้อยละ 12.5 มีการศึกษาอยใู่ น
ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย คิดเป็นรอ้ ยละ 75.0 รองลงมาคือประถมศกึ ษาคดิ เปน็ ร้อยละ 25.00 ถ้าพจิ ารณา
แยกเปน็ ด้านได้ดังนี้

1. ดา้ นหลักสูตรโดยภาพรวมความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากทสี่ ดุ คือ การจัดกิจกรรมส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เขา้ รับ
การอบรมสามารถคิดเป็น ทำเปน็ แก้ปัญหาได้ ( ̅= 4.95, S.D. = .46) รองลงมาคือ เนือ้ หาของหลกั สตู รตรงกับ
ความต้องการของผู้เข้ารับการอบรม ( ̅= 4.87, S.D. = .52) ผู้เขา้ รับการอบรมมสี ว่ นรว่ มในการแสดงความ
คดิ เห็นต่อการจัดทำหลักสตู ร ( ̅= 4.68, S.D. = .45) และกจิ กรรมทจี่ ัดสอดคลอ้ งกับวัตถปุ ระสงคข์ องหลักสตู ร
( ̅= 4.55, S.D. = .38)

2. ดา้ นการจัดกระบวนการโดยภาพรวมอยใู่ นระดับมากท่ีสดุ ( ̅= 4.73, S.D. = .27) เมอ่ื พิจารณา
เป็นรายข้อพบว่า ความพงึ พอใจอยู่ในระดับมากที่สดุ ทุกหัวขอ้ คือ วิทยากรมีความรคู้ วามสามารถในการจัด
กจิ กรรม ( ̅= 4.80, S.D. = .41) บคุ ลกิ ภาพของวิทยากร ( ̅= 4.80, S.D. = .41) วทิ ยากรมเี ทคนิค วิธกี ารใน
การจดั กระบวนการเรยี นรู้ ( ̅= 4.70, S.D. = .49) และวิทยากรมกี ารใช้ส่อื ท่ีสอดคลอ้ งและเหมาะสมกบั
กิจกรรม ( ̅= 4.70, S.D. = .47)

3. ดา้ นวทิ ยากร โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทีส่ ดุ ( ̅= 4.73, S.D. = .27) เมอื่ พจิ ารณาเป็นรายข้อ
พบวา่ ความพึงพอใจอยใู่ นระดับมากที่สุดทกุ หวั ข้อ คือ วิทยากรมีความร้คู วามสามารถในการจัดกิจกรรม
( ̅= 4.80, S.D. = .41) บุคลกิ ภาพของวิทยากร ( ̅= 4.80, S.D. = .41) วิทยากรมีเทคนคิ วธิ กี ารในการจัด
กระบวนการเรียนรู้ ( ̅= 4.70, S.D. = .49) และวิทยากรมีการใชส้ ่อื ที่สอดคล้องและเหมาะสมกบั กิจกรรม
( ̅= 4.70, S.D. = .47)

16

4. ด้านคุณภาพผรู้ บั บริการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( ̅= 4.74, S.D. = .21) เมือ่ พิจารณา
เปน็ รายขอ้ พบวา่ ความพึงพอใจมากท่ีสุดอยูใ่ นระดบั มากท่ีสดุ ทุกหัวข้อ คือ ท่านเข้าใจเนือ้ หาการอบรมในครงั้ น้ี
( ̅= 4.85, S.D. = .36) ประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับจากการเขา้ ร่วมกิจกรรมตามหลักสตู ร ( ̅= 4.80, S.D. = .41)
ทา่ นสามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดแก่เพื่อนรว่ มงาน ( ̅= 4.75, S.D. = .44) และท่านสามารถนำความรไู้ ปใช้
ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาตนเอง ( ̅= 4.55, S.D. = .44)

อภปิ รายผล
ตวั ชี้วดั ผลผลติ
1. ตวั ช้วี ัดเชงิ ปรมิ าณ (Output)
1.1 ร้อยละ 85 ของผู้เขา้ ร่วมโครงการมคี วามรู้ความเข้าใจในและมีทักษะในการทำพรมเชด็ เทา้
1.2 ร้อยละ 10 ของประชาชนสามารถเปน็ ตัวอย่างทีด่ ีได้
2. ตัวชวี้ ดั เชงิ คุณภาพ (Outcome)
ประชาชนทเี่ ขา้ รว่ มโครงการมีความรู้เก่ียวกบั อาชพี การทำขนม และนำความร้ไู ปปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวัน

และเป็นตวั อยา่ งทด่ี ใี นตำบล

ขอ้ เสนอแนะ
ควรนำผลการประเมินโครงการศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน กจิ กรรมอาชพี ระยะสนั้ หลักสูตรการทำพรมเช็ดเท้า

ระหวา่ งวนั ท่ี 17 – 21 กุมภาพันธ์ 2563 ณ ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ท่ี 12 บา้ นมะขามเฒา่ พัฒนา ตำบล
บ้านใหม่ อำเภอเมืองนครราชสีมา จงั หวดั นครราชสีมา ไปปรบั ใช้ในโครงการหรือกจิ กรรมท่ีเก่ยี วขอ้ งต่อไป

17

ภาคผนวก

นางกรแกว้ แบบกลาง ผจู้ ัดทำ ท่ปี รึกษาโครงการ
นางบำเพ็ญ ไทยสะเทือน ผู้เหน็ ชอบโครงการ
นางทศั นา พรหมดี ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเมอื งนครราชสีมา ผูเ้ หน็ ชอบโครงการ
นางสาวเนตรนภา อาจปรุ ครูชำนาญการ กรรมการ
นางสาวภาตยิ า อารี ครูอาสาสมคั รการศึกษานอกโรงเรียน กรรมการ/เลขานุการ
หวั หน้า กศน.ตำบลบา้ นใหม่
ครู กศน.ตำบลบ้านใหม่


Click to View FlipBook Version