The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by NoofaiZz Nuanchanok, 2022-05-26 22:27:54

เล่มศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้

เล่มศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้

การพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศึกษา ระยะที่ 2 การเรยี นรใู้ นสภาพจริง 1
ศึกษาดงู านองคก์ ร หนว่ ยงาน ชุมชน และแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ ทสี่ ถานศกึ ษาต้นแบบกาหนด

รายงานผลการศกึ ษาดูงาน องคก์ ร หน่วยงาน ชมุ ชน และแหล่งเรยี นรู้

แหล่งเรียนร้อู ทุ ยานมังกรสวรรค์ ศาลเจา้ พอ่ หลักเมอื ง พิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธ์มุ ังกร
1. ข้อมลู ทัว่ ไป

อทุ ยานมังกรสวรรค์ ตงั้ อยู่ภายในบรเิ วณศาลเจา้ พอ่ หลกั เมอื งสุพรรณบุรีก่อต้ังข้ึนเพื่อเฉลิมฉลองเนื่อง
ในโอกาสที่ประเทศไทย และสาธารณรัฐประชาชนจีน มีความสัมพันธ์ทางการทูตครบ 20 ปี เม่ือปี พ.ศ. 2539
ขณะท่ี ฯพณฯ บรรหาร ศิลปอาชา ดารงตาแหนง่ นายกรัฐมนตรีคนที่ 21 ของประเทศไทยภายในประกอบด้วย
พพิ ธิ ภัณฑ์ลูกหลานพนั ธุ์มังกร ศาลเจา้ พอ่ หลกั เมอื ง และหมบู่ ้านมังกรสวรรค์

โดยไดเ้ ร่ิมจดั ทาและออกแบบพิพิธภัณฑ์ลูกหลานพันธ์มังกรข้ึน เพื่อนาเสนอเรื่องราวความเป็นมาของ
ชาวจีนในประเทศไทย ตลอดจนประวัตศิ าสตรแ์ ละอารยธรรมจีน ซ่ึงเป็นที่ยอมรับกันว่าเป็นอารยธรรมท่ีเก่าแก่
และสาคัญที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ซึ่งมีอายุยาว นานถึง 5,000 ปี บริเวณศาลเจ้าพ่อหลักเมืองสุพรรณบุรี
ออกแบบเป็นสัญลักษณร์ ปู มังกรสัตวเ์ ทพเจ้าอันศักดิ์สิทธิ์ท่ีรู้จักกันดี ลาตัวมังกรภายนอกออกแบบอย่างถูกต้อง
ตามลกั ษณะความเชื่อ หนา้ ต้องเปน็ อฐู ตาเหมือนกระตา่ ย มองเหน็ ในสงิ่ ทค่ี นทั่วไปมองไม่เห็น มีเขาของกวาง
หูของวัว ตัวของงู เกล็ดของปลา ขาของเสือ อุ้งเท้าของเหย่ียว สีของลาตัวเลียนแบบเครื่องกังไสโบราณ
ภายใต้ตวั มังกรใหญ่ เปน็ ทต่ี ้ังของ "พพิ ธิ ภณั ฑ์ลูกหลานพนั ธม์ุ งั กร"

การพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ต้ังใหด้ ารงตาแหน่ง รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ระยะที่ 2 การเรยี นรู้ในสภาพจรงิ 2
ศึกษาดงู านองคก์ ร หนว่ ยงาน ชุมชน และแหลง่ เรียนรตู้ ่าง ๆ ทสี่ ถานศึกษาตน้ แบบกาหนด

พิพิธภัณฑ์แบ่งออกเป็น 29 ห้อง การจัดแสดงนิทรรศการใช้สื่อจัดแสดงท่ีทันสมัย
เช่น ภาพยนตร์ ระบบโสตทัศนูปกรณ์ที่ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ แสง เสียง หุ่นจาลอง นอกจากน้ียังมีสิ่ง
อานวยความสะดวกตา่ ง ๆ เช่น หอ้ งฉายภาพยนตร์ ห้องรบั ฝากของ ห้องจาหนา่ ยหนงั สอื ของที่ระลึก และห้อง
เครื่องเล่นสาหรับเด็กภายในห้องจัดแสดงเรื่องราวประวัติศาสตร์จีนต้ังแต่สมัยตานานการสร้างโลกยุคแรกเริ่ม
ทางประวัติศาสตร์ ลาดับ ราชวงศ์ต้ังแต่ยุคหวงตี้ เหยียนตี้ ยุคเซ่ียซาง อันถือเป็นยุคปฐมกษัติย์ ราชวงศ์
โจว ราชวงศ์ฉิน ราชวงศฮ์ ั่น ยุคสามก๊ก ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หมิง ถึงราชวงศ์ชิงซ่ึง
เป็นราชวงศ์สุดท้าย สมัยเปล่ียนแปลงการปกครอง และแสดงประวัติความเป็นมาของพี่น้องชาวไทยเชื้อสาย
จนี ในประเทศไทย

การพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหน่ง รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา ระยะที่ 2 การเรียนรใู้ นสภาพจรงิ 3
ศกึ ษาดงู านองค์กร หนว่ ยงาน ชุมชน และแหลง่ เรยี นรตู้ ่าง ๆ ทสี่ ถานศึกษาต้นแบบกาหนด

ศาลเจ้าพ่อหลกั เมือง

เป็นพุทธปฎมิ ากรรมสลักบนแผ่นหินแบบนูนต่า (Relief) ในพุทธศาสนาลัทธิมหายาน ซ่ึงเป็นศาสนา
ที่ชาวจีน ญี่ปุ่น เกาหลี ทิเบต ญวน เขมร นับถือ เป็นศิลปะแบบขอมเป็นรูปพระวิษณุกรรมสวมหมวกแขก
ในศิลปะไพรกเม็ง อายุประมาณ 1300-1400 ปีมาแล้ว มีพระนามว่าพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร หรือ
พระนารายณ์สี่กร มีหน้าที่ช่วยเหลือมนุษย์ และเหล่าสรรพสัตว์ให้พ้นทุกข์ ประสพแต่ความสุขความเจริญ
เช่นเดียวกับพระโพธิสัตว์ เจ้าแม่กวนอิม ตามคาบอกเล่าต่อๆกันมา เม่ือประมาณ 150 ปีมาแล้ว มีผู้พบพระ
โพธิสตั วอ์ วโลกเิ ตศวร จมดนิ อยตู่ รงริมศาลเจา้ พ่อ ชาวบา้ นจงึ ช่วยกันอญั เชญิ ขน้ึ ข้างบน พร้อมกับสร้างศาลใหม่
ให้เป็นท่ีประทับ มีคนจีนช่ือ เฮียกงเป็นผู้ดูแลรักษาเรื่อยมา เม่ือครั้งโบราณมีคากล่าวว่า "ห้ามเจ้าไปเมือง
สุพรรณจะทาให้มีอันเป็นไป" เมื่อ พ.ศ. 2435 สมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ เสด็จตรวจราชการเมือง
สุพรรณ ได้ทรงสักการะเจ้าพ่อหลักเมือง ได้ประทานทรัพย์ส่วนพระองค์สร้างศาลเพ่ิมขึ้น พร้อมวางแผนให้
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จประพาสเมืองสุพรรณ พระพุทธเจ้าหลวงทรงพระดารัสว่า
"เข้าทีดีหนักหนา แต่เขาไม่ให้เจ้าไปเมืองสุพรรณ ว่าถ้าขืนไปจะเป็นบ้าไม่ใช่หรือ" สมเด็จกรมพระยาดารงรา
ชานภุ าพจึงกราบบังคมทูลว่า ข้าพระพุทธเจ้าไปมาแล้วไม่เห็นเป็นอะไร ยังรับราชการมาจนบัดน้ี พระพุทธเจ้า
หลวงทรงตรสั สั้นๆวา่ "ไปซ"ิ จากนน้ั พระองคจ์ ึงเสดจ็ มาเมืองสุพรรณ ในคราวเสด็จประพาสต้นเมื่อ พ.ศ. 2447
และทรงกระทาพลีกรรมเจ้าพ่อหลักเมือง และพระราชทานทรัพย์ส่วนพระองค์ก่อสร้างเข่ือนรอบเนินศาล ทา
ชานไว้สาหรับคนท่ีบูชา สร้างกาแพงแก้ว ต่อตัวศาลเพิ่มเติมออกมา ข้างหน้าเป็นแบบเก๋งจีน โดยท่ัวไป
ศาลหลักเมืองน้ันจะทาด้วยไม้ บนยอดจะเป็นหัวเม็ด แต่หลักเมืองของ สุพรรณนี้พิเศษกว่าหลักเมืองท่ัวไปคือ
จะเปน็ หินและมพี ทุ ธปฎิมากรอยูด่ ว้ ย

การพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาก่อนแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา ระยะที่ 2 การเรยี นรใู้ นสภาพจริง 4
ศึกษาดงู านองค์กร หนว่ ยงาน ชุมชน และแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ ทส่ี ถานศกึ ษาต้นแบบกาหนด

หมู่บา้ นมังกรสวรรค์

จาลองมากจากหมู่บ้านลี่เจียง 1000 ปี สถาปัตยกรรมล่าสุดท่ีทางจังหวัดสุพรรณบุรีสร้างข้ึนมาเพื่อ
จาลองเมืองหมู่บ้านลี่เจียง ประเทศจีน ซึ่งได้รับแต่งต้ังให้เป็นเมืองมรดกโลกท่ีมีความเก่าแก่ถึง 1,000 ปี มา
เท่ียว หมู่บ้านมังกรสวรรค์ก็จะได้บรรยากาศของหมู่บ้านจีนโบราณ ไม่ว่าจะเป็นร้านค้า โรงเต้ียมสไตล์จีน
โบราณ โรงหนัง และสญั ลักษณ์ทีส่ าคญั คอื กงั หันพ่อลูก เปน็ กังหนั ไมโ้ บราณพันปที ีอ่ ยู่ตรงทางเข้า หน้าหมู่บ้าน
นอกจากนี้ยังมีหอชมวิวซึ่งสามารถชมวิวของเมืองสุพรรณได้ในมุมสูงและท่ีหน้าหอชมวิวคือ เสามังกรสว รรค์
ทีม่ าจาก เมอื งเซียะเหมิน หมู่บา้ นมังกรสวรรค์ ไม่เสยี ค่าเขา้ ชม เปดิ บรกิ ารทกุ วัน

แผนที่การเดนิ ทางไปแหล่งเรียนรู้อทุ ยานมงั กรสวรรค์ จงั หวัดสพุ รรณบุรี

การพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งต้ังใหด้ ารงตาแหน่ง รองผ้อู านวยการสถานศกึ ษา ระยะที่ 2 การเรยี นรู้ในสภาพจริง 5
ศึกษาดูงานองคก์ ร หนว่ ยงาน ชมุ ชน และแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ ทสี่ ถานศกึ ษาตน้ แบบกาหนด

2.องค์ความรทู้ ีไ่ ด้รับจากการศกึ ษาดูงาน
1. เป็นสถานที่ความเป็นมาของชาวจีน ในประเทศไทย ตลอดจนประวัติศาสตร์และอารย

ธรรมจนี
2. พิพิธภัณฑ์แบ่งออกเป็น 29 ห้อง การจัดแสดงนิทรรศการใช้สื่อจัดแสดงท่ีทันสมัย เช่น

ภาพยนตร์ ระบบโสตทศั นูปกรณ์ทคี่ วบคุมดว้ ยคอมพิวเตอร์ แสง เสยี ง ห่นุ จาลอง
3. เป็นศิลปะแบบขอมเปน็ รปู พระวิษณุกรรมสวมหมวกแขก ในศิลปะไพรกเม็ง อายุประมาณ

1300-1400 ปีมาแลว้ มีพระนามวา่ พระโพธสิ ตั วอ์ วโลกเิ ตศวร หรือ พระนารายณ์สกี่ ร
4. เป็นสถานท่ีท่รี วบรวมประวัติศาสตร์ชนชาตขิ องชาวจนี
5. เปน็ สถานที่ศักด์สิ ิทธิ์สาหรับชาวสพุ รรณบุรีและนกั ทอ่ งเทีย่ วทมี่ ายงั เมืองสุพรรณบรุ ีแห่งน้ี

จึงเป็นแหลง่ หลอมรวมจติ ใจใหเ้ ขา้ มากราบไหว/้ สกั การบชู า
6. ได้เรียนรู้ประวัติศาสตรแ์ ละอารยธรรมจนี ซึ่งเป็นทีย่ อมรบั กนั ว่าเปน็ อารยธรรมทเ่ี กา่ แก่

และสาคัญทส่ี ุดแห่งหน่ึงของโลก ซึ่งมีอายยุ าว นานถงึ 5,000 ปี
7. ได้เรียนรู้เรื่องราวประวัติศาสตร์จีนตั้งแต่สมัยตานานการสร้างโลกยุคแรกเริ่มทาง

ประวัติศาสตร์ ลาดับราชวงศต์ ัง้ แตย่ ุคหวงตี้ เหยยี นต้ี ยุคเซย่ี ซาง อันถือเป็นยุคปฐมกษัติย์ ราชวงศ์โจว ราชวงศ์
ฉิน ราชวงศ์ฮ่ัน ยุค 3ก๊ก ราชวงศ์สุย ราชวงศ์ถัง ราชวงศ์ซ่ง ราชวงศ์หมิง ถึงราชวงศ์ชิงซ่ึงเป็นราชวงศ์สุดท้าย
สมัยเปลย่ี นแปลงการปกครอง และแสดงประวตั ิความเปน็ มาของพน่ี ้องชาวไทยเชื้อสายจนี ในประเทศไทย

8. ไดเ้ รยี นรทู้ ่มี าของศาลหลักเมอื งสุพรรณบุรที ่ีมีศลิ ปะเป็นแบบขอม
9. ได้เรียนรู้หมู่บ้านลี่เจียง ประเทศจีน บ้านจีนโบราณ ซ่ึงเป็นหมู่บ้านจาลอง ทาให้เห็น
บรรยากาศของชาวจีนโบราณ

3. การนาองค์ความรู้ไปประยุกต์ใช้
ตนเอง
นาองค์ความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ให้ผู้อ่ืนได้รับทราบเก่ียวกับประวัติความเป็นมา และความสาคัญของ

อุทยานมังกรสวรรค์ และศาลหลักเมืองจังหวัดสุพรรณบุรี แนะนา ชักชวนให้มาท่องเที่ยวยังสถานที่สาคัญ
ตา่ งๆ

สถานศกึ ษา
1. จดั ทาหลกั สตู รสถานศึกษาทเ่ี น้นสรา้ งจติ สานกึ รกั บ้านเกิดให้แก่นักเรยี น
2. จดั โครงการ/กิจกรรมทัศนศกึ ษาแหลง่ เรยี นรอู้ ุทยานมงั กรสวรรค์ ศาลเจ้าพอ่ หลักเมอื ง พพิ ิธภัณฑ์
ลูกหลานพนั ธมุ์ งั กรหรือแหลง่ เรยี นรู้อื่น ๆ ที่สาคญั ในจังหวดั สพุ รรณบรุ ี เพ่ือปลูกจิตสานึกรักและหวงแหน
แผน่ ดนิ เกิดให้กบั นกั เรยี น
3. นาหลักการการบรหิ ารจดั การองค์กรในสว่ นของการรกั ษาสภาพพื้นทบ่ี ริเวณโดยรอบให้คงสภาพที่
สามารถเหน็ ร่องลอยทางประวัติศาสตร์และการถา่ ยทอดผ่านการเล่าเรือ่ งราวและการจาลองเหตุการณใ์ นอดีต
และนิทรรศการ มาประยกุ ต์ใชใ้ นการจดั ทาแหล่งรู้ในสถานศกึ ษาและชมุ ชน

การพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแต่งตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ รองผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา ระยะท่ี 2 การเรยี นรู้ในสภาพจรงิ 6
ศกึ ษาดูงานองคก์ ร หนว่ ยงาน ชุมชน และแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ ทส่ี ถานศึกษาต้นแบบกาหนด

4. นาหลักการฝึกฝนมัคคุเทศก์ นอ้ ย นักเรียน มาประยุกตใ์ ช้ในการถา่ ยทอดแหล่งเรยี นรู้และปลกู ฝัง
การรกั ษ์ในท้องถนิ่ ของตน

5. ส่งเสริมให้เกดิ จติ สานกึ ในการรว่ มกนั อนุรักษ์ภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ และการระดมสรรพกาลังในการเพื่อ
แวดงออกใหเ้ ห็นถงึ คุณค่าของภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ และประวัตศิ าสตร์ของชาติ

6. ปลกู ฝงั ให้นักเรยี นได้เรียนรเู้ กยี่ วกับสถานที่สาคัญในท้องถิ่นของตนเอง/มีความรกั และศรทั ธาใน
สถานที่สาคัญๆ ของบ้านเกดิ เมืองนอนของตนเอง

7. จดั ทาเป็นหลักสตู รทอ้ งถิน่ เพื่อเป็นการอนรุ ักษ์ความเป็นอัตลักษณข์ องจังหวดั สพุ รรณบรุ ี

4. ข้อเสนอแนะเพ่มิ เติม
อยากให้มีการโปรโมทสถานท่ีอยเู่ ปน็ ประจา เพอื่ ดึงดดู นกั ท่องเทีย่ วให้มาเข้าชมสถานท่ี

การพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาก่อนแตง่ ตั้งใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ระยะที่ 2 การเรียนรูใ้ นสภาพจรงิ 7
ศกึ ษาดูงานองค์กร หนว่ ยงาน ชมุ ชน และแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ ทสี่ ถานศกึ ษาต้นแบบกาหนด

ศนู ย์เรยี นรู้ วถิ ีชวี ติ และจิตวิญญาณชาวนาไทย (นาเฮียใช้)

1. ข้อมูลทัว่ ไป

ณ สถานที่นี้ นอกจากรูปแบบท่ีแสดงถึงความเป็นบ้านเรือนไทยท่ีงดงามแล้ว ท่ีนี้ยังเป็นที่ที่รวบรวม
เร่ืองราว และองค์ความรู้ในวิถีของเกษตรกรท่ีทรงคุณค่า เพียงก้าวแรกที่ได้เห็น ทาให้หวนคิดถึงภาพอดีต
ภาพวิถีแห่งท้องทุ่ง ยุ้งฉาง ไอ้ทุยควายไทย และเครื่องมือในการดารงชีวิติของผู้คนในถิ่นนี้ แค่อยากจะบอกว่า
ถ้ามาสุพรรณ อย่าพลาดเขา้ มาแวะเย่ยี มชมสถานทีท่ ีเ่ ป็น จิตวญิ ญาณ ของชาวนาไทยแหง่ น้ี

จุดเร่ิมต้นและท่ีมาก่อนจะเป็นศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและจิตวิญญาณชาวนาไทย จากจีน
แผน่ ดินใหญ่ บดิ าและมารดาของ คณุ พิชัย เจรญิ ธรรมรกั ษา (เฮยี ใช้ ) หนีความแห้งแล้งเข้ามาตั้งรกรากที่ตาบล
สวนแตง และย้ายมาอยู่ท่ีอู่ยาในเวลาต่อมา มารดาประกอบอาชีพหาบของแลกข้าวเปลือก ขายข้าวแกง
รา้ นกาแฟ และร้านขายของชา ตามลาดับ เมื่อเฮียใช้เติบโตข้ึน ได้เข้ามาช่วยครอบครัวในการรับซ้ือข้าวเปลือก
ในปี พ.ศ. 2540 ครอบครัวไดต้ ัดสินใจเปลย่ี นอาชีพ จากรบั ซอ้ื ข้าวเปลือกมาเปน็ การรวบรวมเมล็ดพันธุ์ข้าวเพ่ือ
การค้าโดยมลี ูก ๆ คอยช่วยดูแล ภายใตเ้ ครอ่ื งหมายการคา้ "เฮยี ใช้เมลด็ พันธ์ขุ า้ ว"

การพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ระยะที่ 2 การเรยี นรู้ในสภาพจริง 8
ศกึ ษาดูงานองค์กร หน่วยงาน ชมุ ชน และแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ ทส่ี ถานศกึ ษาต้นแบบกาหนด

ผกู้ ่อตั้งศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและจิตวิญาณชาวนาไทย นายนิทัศน์ เจริญธรรมรักษา บุตรชาย ของเฮีย
ใช้ หลงั จากจบมัธยมศกึ ษาตอนปลายได้ออกมาช่วยบิดาประกอบอาชีพรับซ้ือข้าวเปลือกในปี พ.ศ.2534 ต่อมา
ได้ค้นพบว่าตัวเองไม่เหมาะสมกับอาชีพนี้จึงได้ตัดสินใจเปลี่ยนอาชีพ จากซื้อข้าวเปลือกมาเป็นการผลิตเมล็ด
พันธ์ุข้าว ในปี พ.ศ. 2540 โดยเริ่มทาจากจุดเล็ก ๆ เรียนรู้ลองผิดลองถูกค้นหาเกษตรกรที่มีความขยันซ่ือสัตย์
พัฒนาระบบเมล็ดพันธ์ุข้าวเพื่อท่ีจะนามาซึ่งเมล็ดพันธุ์ข้าวที่มีความบริสุทธ์ิสูง ได้มีความคิดริเริ่มก่อตั้งศูนย์
เรียนรู้วิถีชีวิตและจิตวิญญาณชาวนาไทยข้ึน เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลสาหรับผู้ที่มีความสนใจศึกษาหาความรู้เร่ือง
ขา้ ว และวิถีชีวติ ชาวนาไทยในอดตี เพ่ือเป็นการตอบแทนชาวนาผูม้ พี ระคณุ และแผน่ ดนิ เกดิ
สถานท่นี า่ สนใจภายในศนู ยเ์ รยี นรู้วิถีชิวติ และจิตวิญาณชาวนาไทย

เรือนศูนย์รวมดวงใจไทยทั้งชาติ เรือนแห่งคุณค่าจากความต้ังใจในการแสดงความจงรักภักดีต่อพ่อ
หลวงของแผ่นดิน เรอื นหลังนี้ไดส้ รา้ งสรรค์รูปแบบทม่ี ีความโดดเด่นงดงามเป็นพิเศษ ภายในมีการจัดแสดงพระ
บรมรูปพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวครงั้ เสดจ็ ขน้ึ ครองสิริราชสมบัติ พระบรมฉายาลักษณ์ในพระราชกรณียกิจ
ต่าง ๆ จัดแสดงพระบรมรูป และพระบรมสาทิสลักษณ์ราชวงศ์จักรี ต้ังแต่รัชกาลท่ี 1 ถึงรัชกาลท่ี 9 และ
นอกจากน้ัน ยังมีรูปบุคคลสาคัญๆที่มีส่วนเก่ียวข้องต่อการพัฒนาวงการข้าวไทย การสร้างศูนย์การเรียนรู้วิถี
ชีวิตและจิตวิญญาณชาวนาไทย ทั้งข้าราชการและประชาชนซึ่งเป็นบุคคลสาคัญยิ่งเรือนหลังนี้ คือเรือนแห่ง
คุณคา่ ทางจิตใจ

การพฒั นาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ต้งั ใหด้ ารงตาแหน่ง รองผอู้ านวยการสถานศึกษา ระยะที่ 2 การเรยี นร้ใู นสภาพจรงิ 9
ศกึ ษาดูงานองค์กร หน่วยงาน ชมุ ชน และแหลง่ เรยี นรตู้ ่าง ๆ ทส่ี ถานศกึ ษาตน้ แบบกาหนด

แปลงนาสาธิต การสาธิตชนิดพันธ์ุข้าวนาปรังทุกชนิดท่ีนิยมปลูกในปัจจุบัน สาธิตการอนุรักษ์การ
พัฒนาพันธุ์ข้าว เพื่อให้ผู้ท่ีสนใจได้เยี่ยมชม และชาวนาได้มีความรู้ในการเลือกพันธุ์ข้าวได้อย่างเหมาะสม
โดยแปลงนาสาธิตน้ีจะทาการปักดาทุกวันท่ี 1 ของเดือน ด้วยกล้าเพียงต้นเดียว ต่อ 1 กอ เพ่ือให้เห็น
ความสามารถในการแตกกอของตน้ ขา้ ว และใหช้ าวนาไดศ้ กึ ษาในทกุ ระยะการเติบโตของข้าว

เรอื นวถิ ีชวี ติ ชาวนาไทยในอดีต การก่อสร้างเรือนไทยด้วยความประณีตวิจิตรบรรจง การออกแบบท่ี
คงเอกลักษณ์ความเป็นไทย ด้วยรูปทรงประกอบด้วยเรือนไทย 3 หลัง คือ เรือนไทยหลังใหญ่ เรือนลูกซ้าย
เรือนลูกขวา และครัวไฟ อันเป็นสถานที่ประกอบอาหารในอดีต เรือนวิถีชีวิตชาวนาไทยในอดีต เป็นเรือนไทย
ยกพ้ืนสูง ใต้ถุนเป็นสถานท่ีจัดแสดงอุปกรณ์เครื่องใช้ในอดีต เช่น อุปกรณ์หีบอ้อย ซึ่งรวบรวมไว้หลายแบบ
แสดงถงึ ภูมปิ ัญญาไทยในการออกแบบ

การพฒั นาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาก่อนแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผอู้ านวยการสถานศกึ ษา ระยะที่ 2 การเรียนรใู้ นสภาพจริง 10
ศึกษาดงู านองคก์ ร หน่วยงาน ชมุ ชน และแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ ทส่ี ถานศึกษาตน้ แบบกาหนด

เรือนพระแม่โพสพ องค์พระแม่โพสพทามาจากไม้สักผ่านฝีมือการแกะสลักอย่างประณีตงดงาม เป็น
องค์พระแม่โพสพประคองรวงข้าวอันเป็นการส่ือความหมายถึงการทะนุถนอมประดุจ แม่ประคองลูกอย่าง
อบอนุ่ ภายในเรือนยังมีรูปหล่อพระแม่โพสพในยุคต่าง ๆ ตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น พระแม่โพสพ ที่หล่อ
ในปี 2500 โดยไดจ้ ัดพิธพี ุทธาภิเษกท่ีทอ้ งสนามหลวง โดยเรียกองค์พระแม่โพสพในยุคน้ีว่า “รุ่น 25 ศตวรรษ”
จัดแสดงพระแม่โพสพและพิธีกรรมต่าง ๆ คร้ังในอดีตในช่วงการทานา เพ่ือให้ชาวนาและ คนรุ่นหลังเข้าใจใน
วฒั นธรรมทไี่ ด้สบื ตอ่ กันมา และอนุรักษม์ ิใหส้ ญู หา

การพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ระยะท่ี 2 การเรียนรใู้ นสภาพจริง 11
ศกึ ษาดูงานองค์กร หนว่ ยงาน ชุมชน และแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ ทส่ี ถานศึกษาต้นแบบกาหนด

ยุ้งเก็บข้าว ท่ีจาลองแบบจากอดีตอย่างครบถ้วน นอกจากนี้ ได้มีการจัดแสดงอุปกรณ์เครื่องใช้ต่าง ๆ
เช่น เคร่ืองมือในการทานา เครื่องมือในการดักจับปลา และเครื่องมือ ในการทางานไม้ รวมท้ังคอกควายซ่ึงถือ
ได้ว่าเปน็ สว่ นสาคัญอีก สว่ นหนง่ึ ของวิถีชวี ติ ชาวนาไทยแตด่ ง้ั เดมิ

เรือนหนังสือพระราชกรณียกิจและเรือนหนังสือข้าว ก่อสร้างเป็นเรือนไทยทรงป้ันหยา จาลอง
รูปแบบให้เหมือนโรงเรียนในสมัยอดีต ภายในเรือนเก็บรวบรวมหนังสือพระราชกรณียกิจตั้งแต่อดีตจนถึง
ปัจจุบัน ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หนังสือข้าว และองค์ความรู้ต่าง ๆ ท่ีสามารถค้นคว้าได้จากแหล่ง
เรยี นรูแ้ หง่ น้ี

หอเตือนภัยชาวนา ก่อสร้างเป็นหอคอยสูง 3 ชั้น ความสูง 14.5 เมตร ก่อสร้างด้วยไม้เน้ือแข็ง
ออกแบบด้วยความประณีตเป็นเอกลักษณ์ มีความมั่นคงแข็งแรง สามารถรับน้าหนักผู้เข้าชมจานวนมากได้
อยา่ งปลอดภยั และยงั เปน็ จดุ ชมทศั นยี ภาพท่ีสวยงามจุดหน่ึง ผู้เข้าชม สามารถมองทัศนียภาพรอบ ๆ ได้อย่าง
งดงาม

การพัฒนาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาก่อนแตง่ ตง้ั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา ระยะท่ี 2 การเรียนรู้ในสภาพจรงิ 12
ศกึ ษาดงู านองคก์ ร หนว่ ยงาน ชมุ ชน และแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ ทสี่ ถานศึกษาต้นแบบกาหนด

ร้านโชห่วย หรือร้านขายของในอดีต เป็นการจาลองรูปแบบของร้านค้าในอดีตซึ่งได้เก็บรวบรวม
ส่วนประกอบต่างๆของร้านค้าในอดีต ไม่ว่าจะเป็นชั้นวางสินค้า โต๊ะและ เก้าอี้ รวมท้ังสินค้าท่ีเคยจาหน่าย ใน
คร้งั อดตี ซง่ึ ใช้ในชวี ติ ประจาวัน เชน่ ลอตเตอร่ีเกา่ สมัยกอ่ นมีรา้ นอาหาร ในบรรยากาศการตกแต่งที่กลมกลนื

ศูนย์จาหน่ายอาหารและของฝาก นอกจากจะเดินทางมาท่องเท่ียวเชิงศึกษาเรื่องข้าว และวิถีชีวิต
ชาวนาไทยในอดีตแล้ว ยังสามารถเลือกซ้ือของฝากติดไม้ติดมือ กลับบ้านกันได้อีกด้วย โดยสินค้าหลักเป็นข้าว
เพ่ือสุขภาพหลายชนิดพันธุ์ ที่เป็นที่นิยมของแต่ละภูมิภาค เช่น ข้าวหอมมะลิ ข้าวไรซ์เบอรี่ ข้าวทับทิมชุมแพ
ข้าวเหลืองอ่อน ข้าวเหนียวลืมผัว และข้าวนาปรังที่มีลักษณะอ่อนนุ่ม ในรูปแบบของข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ
และขา้ วขาว บรรจอุ ยใู่ นแพ็คสูญญากาศเพอ่ื สะดวกในการเก็บรักษาได้นานโดยไม่เสื่อมสภาพ นอกจากนั้นยังมี
ผักตา่ ง ๆ ที่ปลกู ในโรงเรือนปลอดสารเคมี เสอ้ื ทรี่ ะลกึ ของศนู ยเ์ รยี นร้ฯู

การพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งตง้ั ใหด้ ารงตาแหน่ง รองผูอ้ านวยการสถานศกึ ษา ระยะที่ 2 การเรียนร้ใู นสภาพจริง 13
ศึกษาดงู านองค์กร หน่วยงาน ชุมชน และแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ ทสี่ ถานศกึ ษาต้นแบบกาหนด

แผนทกี่ ารเดินทางไปแหล่งเรยี นรู้ศนู ย์เรยี นรู้ วถิ ีชวี ติ และจิตวญิ ญาณชาวนาไทย (นาเฮยี ใช้)

\

2. องคค์ วามรู้ท่ไี ด้รบั จากการศึกษาดงู าน
1. เป็นสถานทแี่ สดงถึงความเป็นบ้านเรือนไทยที่งดงาม เป็นที่ที่รวบรวมเร่ืองราวและองค์ความรู้ในวิถี

ของเกษตรกรท่ีทรงคุณค่า ให้หวนคิดถึงภาพอดีต ภาพวิถีแห่งท้องทุ่ง ยุ้งฉาง ไอ้ทุยควายไทย และเคร่ืองมือใน
การดารงชีวติ ขิ องผู้คนในถ่ินนี้

2. มจี ดุ เร่ิมต้นจากบิดาและมารดาของ คุณพิชัย เจริญธรรมรักษา (เฮียใช้ ) ที่หนีความแห้งแล้งเข้ามา
ต้ังรกรากที่ตาบลสวนแตง และย้ายมาอยู่ที่อู่ยาในเวลาต่อมา มารดาประกอบอาชีพหาบของแลกข้าวเปลือก
ขายข้าวแกง ร้านกาแฟ และร้านขายของชา ตามลาดับ เม่ือเฮียใช้เติบโตข้ึน ได้เข้ามาช่วยครอบครัวในการรับ
ซ้ือข้าวเปลือก ในปี พ.ศ. 2540 ครอบครัวได้ตัดสินใจเปล่ียนอาชีพ จากรับซ้ือข้าวเปลือกมาเป็นการรวบรวม
เมลด็ พันธ์ขุ า้ วเพอ่ื การค้าโดยมลี ูก ๆ คอยช่วยดแู ล ภายใต้เครอื่ งหมายการค้า "เฮยี ใช้เมลด็ พันธข์ุ ้าว"

3. นายนิทัศน์ เจริญธรรมรักษา บุตรชายของเฮียใช้ เป็นผู้ก่อต้ังศูนย์เรียนรู้วิถีชีวิตและจิตวิญญาณ
ชาวนาไทย

การพฒั นาข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษากอ่ นแต่งต้งั ใหด้ ารงตาแหนง่ รองผู้อานวยการสถานศึกษา ระยะท่ี 2 การเรียนรใู้ นสภาพจริง 14
ศึกษาดงู านองคก์ ร หน่วยงาน ชมุ ชน และแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ ทสี่ ถานศกึ ษาตน้ แบบกาหนด

4. เปน็ การบรหิ ารจัดการ/จัดสรรพน้ื ทใ่ี หเ้ กิดประโยชน์ต่อสว่ นรวม และเปน็ การอนุรักษ์อาชีพของการ
ทาอาชพี เกษตร

5. ความตัง้ ใจในการแสดงความจงรักภักดีตอ่ พ่อหลวงของแผน่ ดิน โดยการการก่อต้ังเรือนไทย
6. การสาธิตชนิดพันธุ์ข้าวนาปรังทุกชนิดท่ีนิยมปลูกในปัจจุบัน สาธิตการอนุรักษ์การพัฒนาพันธ์ุข้าว
เพอื่ ให้ผ้ทู ีส่ นใจได้เยยี่ มชม และชาวนาไดม้ คี วามรใู้ นการเลือกพนั ธุข์ ้าวได้อยา่ งเหมาะสม
7. ได้เรียนรู้เรือนวิถีชีวิตชาวนาไทยในอดีต การก่อสร้างเรือนไทยด้วยความประณีตวิจิตรบรรจง
การออกแบบท่คี งเอกลักษณ์ความเป็นไทยด้วยรูปทรงประกอบด้วยเรือนไทย 3 หลัง
8. ไดเ้ รียนรคู้ วามสาคัญของพระแมโ่ พสพ
9. ได้เรียนรู้ยุ้งเก็บข้าว ที่จาลองแบบจากอดีตอย่างครบถ้วน อุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆ เช่น เคร่ืองมือใน
การทานา เครื่องมือในการดักจับปลา และเครื่องมือ ในการทางานไม้ รวมท้ังคอกควายซ่ึงถือได้ว่าเป็นส่วน
สาคญั อกี สว่ นหนงึ่ ของวถิ ชี วี ติ ชาวนาไทยแต่ด้งั เดมิ
10. ไดเ้ รียนรูแ้ หลง่ คน้ คว้าทเ่ี กี่ยวกบั ข้าว คอื เรือนหนงั สือพระราชกรณียกจิ และเรอื นหนงั สือข้าว
11. ได้เรยี นรู้หอเตือนภยั ชาวนาและรา้ นโชหว่ ย หรอื รา้ นขายของในอดีต

3. การนาองคค์ วามรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้
ตนเอง
1. นาหลกั การบริหารจัดการพ้ืนที่ใชส้ อยในเน้อื ท่ที ่ีจากดั มาปรับใช้ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ

ตามบริบทและความเหมาะสมของตนเอง
2. นาฐานการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ มาประยุกตใ์ ช้กับสภาพและบรบิ ทของตนเอง
3. จดั ฐานกิจกรรมการเรยี นรู้ตามรปู แบบความรู้ทไ่ี ด้รบั มา และพัฒนาใหเ้ ปน็ องค์ความรูส้ ู่การนา

ปฏิบตั ิจรงิ ได้
สถานศึกษา
1. นาหลักการและองค์ความรู้ที่ได้ไปใช้จัดทาหลักสูตรสถานศึกษา จัดทารายวิชาเพ่ิมเติมเศรษฐกิจ

พอเพียงให้แกน่ ักเรียนไดเ้ รียนรู้ และนาไปเผยแพรใ่ ห้กับผอู้ ่นื ได้
2. จดั ทาโครงการ/กิจกรรมเศรษฐกิจพอเพียง โดยนาแนวทางของศูนย์เรียนรู้ วิถีชีวิตและจิตวิญญาณ

ชาวนาไทย (นาเฮียใช้) ไปปรับประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของสถานศึกษาและสภาพแวดล้อม เช่น จัด
ฐานการเรียนร้ขู องแต่ละระดับชัน้ แลว้ จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ซง่ึ กนั และกัน

3. เชิญวิทยากรท้องถ่ินหรือปราชญ์ชาวบ้านในชุมชนในถ่ายทอดมวลประสบการณ์ให้แก่ครู บุคลากร
ทางการศึกษาและนักเรยี น

4. นาหลกั การบรหิ ารจัดการองคก์ รทมี่ กี ารจัดหาวสั ดุ อปุ กรณ์ และครุภณั ฑ์ตา่ งๆ เพื่อ
อานวยความสะดวกในการปฏิบตั งิ าน จนทาใหก้ ารดาเนนิ งานประสบความสาเร็จ

5. นาหลักการบรหิ ารจัดการพ้ืนทใ่ี ชส้ อยในเน้ือทท่ี จ่ี ากดั มาปรบั ใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์สงู สุด
ตามบรบิ ทและความเหมาะสม

การพัฒนาข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษากอ่ นแต่งตงั้ ใหด้ ารงตาแหน่ง รองผู้อานวยการสถานศึกษา ระยะที่ 2 การเรยี นรูใ้ นสภาพจริง 15
ศึกษาดงู านองค์กร หนว่ ยงาน ชุมชน และแหลง่ เรียนรตู้ ่าง ๆ ทส่ี ถานศกึ ษาตน้ แบบกาหนด

6. นาฐานการเรียนรู้ต่างๆ มาประยุกต์ใช้ กับสภาพและบริบทเพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้าน
เศรษฐกจิ พอเพียง ของผเู้ รยี น และชุมชน

7. นาหลกั การสรา้ งประโยชนใ์ หก้ ับสงั คม มาประยุกต์ใช้ ในการสร้างงาน สร้างอาชีพ และ
สร้างรายไดแ้ ก่นักเรยี นและชมุ ชน

8. นากจิ กรรมปรบั ปรุงบารุงดนิ จัดพนื้ ท่ใี นฟารม์ ฯ เพื่อเปน็ จุดสาธติ และส่งเสรมิ การ
ปรบั ปรุงบารงุ ดินโดยใช้สารอินทรียท์ ดแทนการใช้สารเคมี

9. จัดทาฐานการเรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการส่งเสริมให้มีผลิตผลทาง
การเกษตรท่ีใช้น้าหมักชีวภาพ (จุลินทรีย์หน่อกล้วย ฮอร์โมนไข่ ฮอร์โมนนมสด จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง และ
จุลนิ ทรยี ์จาวปลวก) และสารป้องกันและขบั ไล่แมลง ทดแทนการใชส้ ารเคมีและยาฆ่าแมลง

10. นาหลักการบริหารจดั การเนือ้ ทม่ี าใช้กับบริบทของตนเองอย่างเหมาะสม และเกิดประโยชนส์ งู สุด
ท้งั ต่อตนเองและผู้อื่น

4. ข้อเสนอแนะเพ่มิ เตมิ
อยากให้สถานที่น้ีคงอยู่คู่ชาวสุพรรณบุรีต่อไปให้ยาวนาน เพ่ือสืบสานความเป็นเมืองเกษตร ต่อลม

หายใจแหง่ อ่ขู า้ วอู่นา้ ให้คงอย่คู ่ลู ูกคู่หลานตอ่ ไป


Click to View FlipBook Version