The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

pdf_20220904_100544_0000

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by saymai0x0, 2022-09-03 23:05:44

QR

pdf_20220904_100544_0000

Tsunami

Tsunami

Scan me

Tsunami

NEWS

TSUNAMI CAUSE OF TSUNAMI

EFFECTS: สาเหตุของสึนามิ

ด้านสิ่งแวดล้อม คลื่นสึนามิจากแผ่นดินไหว
เป็นผลมาจากการเกิดแผ่นดินไหวในระดับที่รุนแรง คือ ตั้งแต่ ๘.๐
1. ทำให้แผ่นเปลือกโลกขยับ ค่าพิกัด ขึ้นไปตามมาตราริกเตอร์โดยมีจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่ใต้พื้น
ทางภูมิศาสตร์คลาดเคลื่อนไป ท้องมหาสมุทรหรือที่บริเวณใกล้ชายฝั่งทะเลในทางธรณีวิทยาเรา
2. ส่งผลให้สภาพพื้นที่ชายฝั่งทะเล ทราบแล้วว่าเปลือกโลกประกอบขึ้นด้วยแผ่นเปลือกโลก(tectonic
เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว plates) หลายๆ แผ่นเชื่อมต่อกัน เมื่อใดที่แผ่นเปลือกโลก
3. ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศน์ เช่น เคลื่อนที่เข้าหากันหรือแยกออกจากกันจะก่อให้เกิดแผ่นดินไหวขึ้น
สัตว์น้ำบางประเภทเปลี่ยนที่อยู่อาศัย หรือ
เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ ปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ
1.การเกิดแผ่นดินถล่ม (landslides) ขนาดใหญ่ใกล้ชายฝั่งทะเล
ด้านสังคม 2.การปะทุอย่างรุนแรงของภูเขาไฟใต้ทะเลหรือบนเกาะในทะเล
3.การพุ่งชนของอุกกาบาตลงบนพื้นน้ำในมหาสมุทร
1. สูญเสียทั้งชีวิต และทรัพย์สิน เช่น บ้าน
เรือนเสียหาย ระบบสาธารณูปโภคถูกทำลาย

2. กระทบต่อการประกอบอาชีพของประชาชน
เช่น การทำประมง การค้าขายบริเวณชายหาด
ธุรกิจที่พักริมทะเล
3. ส่งผลกระทบต่อธุรกิจการท่องเที่ยว ทำให้
นักท่องเที่ยวลดลง

บริเวณแหล่งเกิดสึนามิ

TSUNAMI SOURCE AREA?

ส่วนใหญ่สึนามิเกิดบริเวณเดียวกับย่านที่เกิดแผ่นดินไหวในทะเลหรือชายฝั่ง โดย 80 % ของ สึนามิที่เกิดทั้งหมดมักอยู่ในบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก
- เมื่อประมาณ 1,600 ปีก่อนคริสต์ศักราช เกิดภูเขาไฟระเบิดที่เกาะอีเจียน เมืองทีรา ประเทศกรีซ ทำให้เกิดสึนามิในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
สันนิษฐานว่ามีคลื่นสึนามิที่กระทบชายฝั่งของอิสราเอลสูงประมาณ 6 เมตร
- พ.ศ. 2298 เกิดแผ่นดินไหวที่เมืองลิสบอน ประเทศโปรตุเกส เป็นผลให้เกิดสึนามิตามแนวชายฝั่งประเทศโปรตุเกส สเปน และโมร็อกโก
- 15 มิถุนายน 2439 เกิดสึนามิที่เมืองเมจิ ซันริจู คลื่นสูง 30 เมตร
- 1 เมษายน 2489 เกิดแผ่นดินไหวที่ชายฝั่งของมลรัฐอาลาสกา ทำให้ประภาคารสกอตซ์เคป บนเกาะยูนิแมก สูง 13.5 เมตร พังทลาย ต่อมาประมาณ
5 ชั่วโมง คลื่นสึนามิแผ่ไปถึงเมืองฮีโล มลรัฐฮาวาย ซึ่งมีลักษณะเป็นอ่าวขนาดใหญ่ และรับคลื่นสึนามิโดยตรง ทำให้มียอดคลื่นสูง 16 เมตร
- 23 พฤษภาคม 2503 เกิดแผ่นดินไหวที่ชายฝั่งประเทศชิลีขนาด 9.5 ริกเตอร์ (แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุดในโลกที่บันทึกได้) ก่อให้เกิดสึนามิทั่ว
ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก คลื่นมีความเร็ว 710 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
- 27 มีนาคม 2507 เกิดสึนามิจากแผ่นดินไหวขนาด 9.2 ริกเตอร์ ในร่องลึกชันอะลูเชียน ใกล้ชายฝั่งมลรัฐอาลาสกา ทำให้บริเวณอ่าววาลดีสมียอดคลื่น
สูง 30 เมตร และที่ชายฝั่งมลรัฐฮาวายมียอดคลื่นสูง 5 เมตร
- 2 กันยายน 2535 เกิดสึนามิที่ประเทศนิการากัว มียอดคลื่นสูง 10 เมตร
- 13 กรกฎาคม 2536 เกิดคลื่นสึนามิเข้าทำลายชายฝั่งเมืองโอะกุชิริ เกาะฮอกไกโด ประเทศญี่ปุ่น
- 17 กรกฎาคม 2541 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.1 ริกเตอร์ ใกล้ชายฝั่งด้านตะวันออกของเมืองซาวน์ดาวน์ เกาะปาปัวนิวกีนี ส่งผลให้มีดินถล่มใต้ทะเล
และสึนามิตามมาเป็นชุดขนาดใหญ่อย่างน้อย 3 ชุด

สำหรับสึนามิที่เคยเกิดในย่านมหาสมุทรอินเดียพอที่จะรวบรวมได้ดังนี้
- เมื่อ 326 ปีก่อนคริสต์ศักราช เกิดแผ่นดินไหวใกล้สามเหลี่ยมปากแม่น้ำสินธุ ประเทศอินเดีย ส่งผลให้เกิดสึนามิ
- พ.ศ. 2067 เกิดสึนามิใกล้เมืองดาพอล รัฐมหาราชต์ ประเทศอินเดีย
- พ.ศ. 2305 เกิดแผ่นดินไหวที่ชายฝั่งอารากัน สหภาพพม่า ส่งผลให้เกิดสึนามิ ทำความเสียหายกับบริเวณชายฝั่งทะเลในอ่าวเบงกอล
- พ.ศ. 2340 เกิดแผ่นดินไหวในทะเลทางทิศตะวันตกของตอนกลางเกาะสุมาตรา ด้วยขนาด 8.4 ริกเตอร์ ทำให้เกิดสึนามิ เข้าชายฝั่งเมืองปาดัง ประเทศ
อินโดนีเซีย
- พ.ศ. 2376 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.7 ริกเตอร์ นอกชายฝั่งตะวันตกด้านทิศใต้ของเกาะสุมาตรา ประเทศอินโดนีเซีย ส่งผลให้เกิดคลื่นขนาดใหญ่
- พ.ศ. 2386 มีคลื่นขนาดใหญ่เคลื่อนตัวเข้าสู่หมู่เกาะ Nias
- พ.ศ. 2424 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.9 ริกเตอร์ ที่หมู่เกาะอันดามัน ส่งผลให้เกิดสึนามิมีคลื่นสูง 1 เมตร เข้ากระแทกชายฝั่งด้านตะวันออกของคาบสมุทรอินเดีย
- 27 สิงหาคม 2426 เวลาเช้าตรูภูเขาไฟกรากะตัว ในประเทศอินโดนีเซียเกิดระเบิดต่อเนื่องกัน 3 ครั้ง เป็นผลให้ปากปล่องภูเขาไฟทะลายลงทะเลส่งผลให้เกิด
สึนามิทั่วมหาสมุทรอินเดีย ที่เกาะชวา และเกาะสุมาตรามีความสูงของคลื่นสึนามิ 15 - 42 เมตร
- 26 มิถุนายน 2484 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.7 ริกเตอร์ ที่ระหว่างหมู่เกาะนิโคบาร์-อันดามัน แรงสั่นสะเทือนรับรู้ได้ถึงแนวชายฝั่งของประเทศอินเดีย และศรี
ลังกา ทำให้เกิดสึนามิตามมา มีการบันทึกว่ามีความสูงของคลื่น 1 เมตร
- 27 พฤศจิกายน 2488 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.9 ริกเตอร์ มีศูนย์กลางบริเวณชายฝั่งทะเลเมืองมิกราน ทางทิศใต้ประมาณ 100 กิโลเมตร ของเมืองหลวง
ประเทศปากีสถาน เป็นผลให้เกิดสึนามิทำความเสียหายให้แก่ชายฝั่งทะเลด้านทิศตะวันตกของประเทศอินเดีย

26 DEC 2004|Thailand

สึนามิถล่มไทย

SEVERE IMPACT
TSUNAMI:

เหตุการณ์สึนามิถล่มไทย 6 จังหวัดภาตใต้ NEWS CONTENT
จังหวัดภูเก็ต จังหวัดพังงา จังหวัดระนอง
จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง และจังหวัดสตูล 26 ธันวาคม 2547 วันนี้เมื่อ 16 ปีที่แล้ว ประเทศไทยต้องพบความ
ทำให้มีผู้เสียชีวิตประมาณ 5,400 คน สูญเสียรุนแรงจากคลื่นยักษ์หายนะที่เรียกว่า ‘สึนามิ’
บาดเจ็บกว่า 8,000 คน และสูญหายอีก
จำนวนมาก เริ่มต้นเมื่อเวลา 07.58 น. (ตามเวลาประเทศไทย) เกิดแผ่นดินไหว
อย่างรุนแรง ศูนย์กลางอยู่บริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะสุมาตรา
นอกจากนี้ยังสูญเสีย คุณพุ่ม เจนเซ่น ประเทศอินโดนีเซียห่างจากจังหวัดภูเก็ต ประมาณ 580 กิโลเมตร ที่
พระโอรสในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตน์ราช ละติจูด 3.4 องศาเหนือ ลองจิจูด 95.7 องศาตะวันออก ขนาดความ
กัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี ขณะที่คุณพุ่ม รุนแรง 8.9 ริกเตอร์ ส่งผลกระทบเกือบทุกจังหวัดในภาคใต้ รวมถึง
เล่นเจ็ตสกีอยู่ชายหาดโรงแรมมันดะเลย์ อาคารสูงหลายแห่งในกรุงเทพมหานคร
รีสอร์ต บ้านเขาหลัก อำเภอตะกั่วป่า จังหวัด
พังงา สิริอายุ 21 ปี แผ่นดินไหวที่มีจุดศูนย์กลางบริเวณเกาะสุมาตรา ที่เกิดขึ้นใต้น้ำ ก่อให้
เกิดคลื่นน้ำขนาดใหญ่ ที่เรียกว่า ‘สึนามิ’ (TSUNAMI) ส่งผลกระทบ
ต่อสถานที่ท่องเที่ยวบริเวณชายฝั่ งทะเลอันดามันของประเทศไทย อาทิ
หาดป่าตอง หาดกมลา หาดกะรน รวมถึงหาดในยาง ซึ่งเป็นที่ตั้งของ
สนามบินนานาชาติภูเก็ต รวมถึงประเทศอินโดนีเซีย อินเดีย ศรีลังกา
มาเลเซีย อย่างรุนแรง

11 Mar 2011|Japan

สึนามิในญี่ปุ่น

HIGLIGHT EARTHQUAKE AND
TSUNAMI IN JAPAN
แผ่นดินไหวดังกล่าวเกิดขึ้นเป็นเวลาอย่างน้อย 6
นาที นครใหญ่ที่ใกล้จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหวที่สุด ย้อนกลับไปวันที่ 11 มีนาคม ปี 2011 เกิด
คือ เซ็นได บนเกาะฮอนชู ซึ่งเป็นเกาะหลักของ เหตุการณ์แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ในญี่ปุ่นวัดแรงสั่น
ญี่ปุ่น อยู่ห่างจากศูนย์กลางแผ่นดินไหว 130 สะเทือนได้ขนาด 9.0 ตามมาตราริกเตอร์ โดยมี
กิโลเมตร ส่วนกรุงโตเกียวอยู่ห่างจากศูนย์กลาง ศูนย์กลางแผ่นดินไหวอยู่นอกชายฝั่ งตะวันออก
แผ่นดินไหว 373 กิโลเมตร และมีรายงานแผ่นดิน เฉียงเหนือ (โทโฮกุ) ของคาบสมุทรโอชิกะ ลึกลง
ไหวตามอีกหลายร้อยครั้ง ในครั้งแรกสำนักงาน ไปใต้พื้นดิน 32 กิโลเมตร นับได้ว่าเป็นเหตุการณ์
สำรวจธรณีวิทยาแห่งสหรัฐอเมริกา (USGS) แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ญี่ปุ่น
รายงานความรุนแรงของแผ่นดินไหวอยู่ที่ 7.9 ตาม และเป็นเหตุการณ์แผ่นดินไหวรุนแรงเป็นอันดับ4
มาตราริกเตอร์ แต่ปรับเพิ่มเป็น 8.8 และ 8.9 ของโลก เท่าที่มีการบันทึกไว้ตั้งแต่ปี 1900
อย่างรวดเร็ว และปรับเพิ่มอีกครั้งเป็น 9.0 ตาม
มาตราริกเตอร์

ภายหลังจากแผ่นดินไหวใหญ่ ทำให้เกิดคลื่นยักษ์สึ
นามิที่สร้างความเสียหายตามชายฝั่ งมหาสมุทร
แปซิฟิกของหมู่เกาะตอนเหนือของญี่ปุ่น ส่งผลให้มี
ผู้เสียชีวิตหลายพันคน หลายเมืองถูกทำลายราบ
และมีการออกคำเตือน รวมถึงคำสั่งอพยพในหลาย
ประเทศที่ติดมหาสมุทรแปซิฟิก

นอกจากนี้ เหตุการณ์แผ่นดินไหวยังทำให้โรงไฟฟ้า
นิวเคลียร์ฟูกุชิมะ 1 และ 2 ถูกคลื่นสึนามิซัดทำลาย
ระบบกำเนิดไฟฟ้าดีเซลสำรอง จึงเกิดปัญหาในการ
ลดความร้อน และทำให้เกิดระเบิด 2 ครั้ง ที่โรง
ไฟฟ้าฟุกุชิมะ 1 ส่งผลให้กัมมันตภาพรังสีในบริเวณ
รอบข้างมีระดับสูงขึ้น และทำให้ประชาชนกว่า 2
แสนคนในบริเวณใกล้เคียงต้องอพยพหนี

มาตรการป้องกันภัย
จากคลื่นสึนามิ

1.เมื่อรู้สึกว่ามีการสั่นไหวเกิดขึ้น ขณะที่อยู่ในทะเลหรือบริเวณชายฝั่ง ให้ 11.ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ประชาชนในเรื่องการ
รีบออกจากบริเวณชายฝั่ง ไปยังบริเวณที่สูงหรือที่ดอนทันที โดยไม่ต้องรอ ป้องกันและบรรเทาภัยจากคลื่นสึนามิและแผ่นดินไหว
ประกาศจากทางการ เนื่องจากคลื่นสึนามิเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง 12.วางแผนล่วงหน้าหากเกิดสถานะการณ์ขึ้นจริง ใน
เรื่องการประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกำหนด
2. เมื่อได้รับฟังประกาศจากทางการเกี่ยวกับการเกิดแผ่นดินไหวบริเวณทะเล ขั้นตอนในด้านการช่วยเหลือบรรเทาภัย ด้านสาธารณะ
อันดามัน ให้เตรียมรับสถานะการณ์ที่อาจจะเกิดคลื่นสึนามิตามมาได้โดย สุข การรื้อถอนและฟื้นฟูสิ่งก่อสร้าง เป็นต้น
ด่วน 13.อย่าลงไปในชายหาดเพื่อดูคลื่นสึนามิ เพราะเมื่อ
เห็นคลื่นแล้วก็ใกล้เกินกว่าจะหลบหนีได้ทัน
3.สังเกตปรากฏการณ์ของชายฝั่งหากทะเลมีการลดระดับของน้ำลงมาก หลัง 14.คลื่นสึนามิในบริเวณหนึ่ง อาจมีขนาดเล็ก แต่อีก
การเกิดแผ่นดินไหว ให้สันนิษฐานว่าอาจเกิดคลื่นสึนามิตามมาได้ ให้ บริเวณหนึ่งอาจมีขนาดใหญ่ ดังนั้นเมื่อได้ยินข่าวการ
อพยพคนในครอบครัว สัตว์เลี้ยงให้อยู่ห่างจากฝั่งมาก ๆ และอยู่ในที่ดอน เกิดคลื่นสึนามิขนาดเล็กในสถานที่หนึ่ง จงอย่าประมาท
หรือที่น้ำท่วมไม่ถึง ให้เตรียมพร้อมรับสถานะการณ์

4.ถ้าอยู่ในเรือซึ่งจอดอยู่ในท่าเรือหรืออ่าว ให้รีบนำเรือออกไปกลางทะเล ผู้จัดทำ
เมื่อทราบว่าจะเกิดคลื่น สึนามิพัดเข้าหา เพราะคลื่นสึนามิที่อยู่ไกลชายฝั่ง
มาก ๆ จะมีขนาดเล็ก 1. นาย กิตติ มณฑาสุวรรณ ม.5/4เลขที่6
2.นางสาว พัชรณัฏฐ์ ปภาชยาธนันต์ ม.5/4เลขที่14
5. คลื่นสึนามิอาจเกิดขึ้นได้หลายระลอกจากการเกิดแผ่นดินไหวครั้งเดียว 3.นางสาว มนัสนันท์ สุขประกอบ ม.5/4เลขที่15
เนื่องจากมีการแกว่งไปมาของน้ำทะเล ดังนั้นควรรอซักระยะเวลาหนึ่งจึง 4.นางสาว วริศรา จงจามรีสีทอง ม.5/4เลขที่17
สามารถลงไปชายหาดได้ 5.นางสาว จิรญาดา มานะภักดี ม.5/4เลขที่35
6.นางสาว มนัสนันท์ สิโนทก ม.5/4เลขที่37
6. ติดตามการเสนอข่าวของทางราชการอย่างใกล้ชิดและต่อเนื่อง 7.นางสาว มานิตา เจริญชัย ม.5/4เลขที่38
7.หากที่พักอาศัยอยู่ใกล้ชายหาด ควรจัดทำเขื่อน กำแพง ปลูกต้นไม้ วางวัสดุ

ลดแรงปะทะของน้ำทะเล และก่อสร้างที่พักอาศัยให้มั่นคงแข็งแรงใน
บริเวณย่านที่มีความเสี่ยงภัยในเรื่องคลื่นสึนามิ
8. หลีกเลี่ยงการก่อสร้างใกล้ชายฝั่งในย่านที่มีความเสี่ยงภัยสูง
9.วางแผนในการฝึกซ้อมรับภัยจากคลื่นสึนามิ เช่นกำหนดสถานที่ในการ
อพยพ แหล่งสะสมน้ำสะอาด เป็นต้น
10.จัดวางผังเมืองให้เหมาะสม บริเวณแหล่งที่อาศัยควรมีระยะห่างจากชายฝั่ง


Click to View FlipBook Version