The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุป โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Suphakarn Kopolrat, 2023-08-29 05:25:21

สรุป โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2566

สรุป โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2566

รายงานสรุปผลกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร ส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดนครพนม โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา วันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม


บันทึกข้อความ ส่วนราชการ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร ที่ ศธ 0210.3510/ วันที่ 18 สิงหาคม 2566 เรื่อง สรุปผลการด าเนินงานการจัดกิจกรรมโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา เรียน ผู้อ านวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร ด้วย ข้าพเจ้า นายสุภกาญจน์โกพลรัตน์ต าแหน่ง ครูกศน.ต าบลนาขาม อ าเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม ได้รับมอบหมาย ให้รายงานขอส่งสรุปผลการด าเนินงานการจัดกิจกรรม ครง การจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ประจ าปีงบประมาณ 2566 ด าเนินการในวันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ สกร.อ าเภอเรณูนคร นั้น บัดนี้การด าเนินงานการจัดกิจกรรมได้เสร็จสิ้นแล้ว จึงขอส่งสรุปผลการจัดกิจกรรมดังกล่าว ความละเอียดตามเอกสารที่แนบมาพร้อมนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ลงชื่อ.......................................................... (นายสุภกาญจน์ โกพลรัตน์) ครูกศน.ต าบล ลงชื่อ...................................................... (นายสงกรานต์ เวฬุวนารักษ์) ต าแหน่ง ครู ลงชื่อ......................................................... (นางอักษร ค าถา) ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเรณูนคร ปฏิบัติหน้าที่ ผู้อ านวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร


ค าน า รายงานผลการด าเนินงานกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2566 ฉบับนี้เป็นการรวบรวมผลการด าเนินงานตามแผนปฏิบัติการ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ อ าเภอเรณูนคร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 คณะผู้จัดท าขอสรุปผลการด าเนินงานเพื่อเป็นข้อมูลให้กับ ส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้จังหวัดนครพนม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการวางแผนพัฒนาการด าเนินงาน ต่อไป ขอขอบคุณผู้บริหาร บุคลากร วิทยากร ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ตลอดจนผู้เข้าร่วมอบรมได้ตอบ แบบสอบถามทุกท่านที่ให้การสนับสนุนการด าเนินกิจกรรมให้ส าเร็จ ลุล่วงไปด้วยดี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารรายงานผลการด าเนินงานโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษาฉบับนี้ จะสามารถเป็นข้อมูลในการ พัฒนาคุณภาพการศึกษาของส านักงาน สกร. จังหวัดนครพนม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้อย่างเต็มรูปแบบ ต่อไป สกร.อ าเภอเรณูนคร


สารบัญ หน้า บทสรุปส าหรับผู้บริหาร 1-2 บทที่ 1 บทน า 3-4 ความเป็นมาและความส าคัญ วัตถุประสงค์ เครื่องมือที่ใช้ในการด าเนินงาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี ระเบียบ ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องหรือแนวคิดที่ใช้ในการด าเนินงาน 5-18 แนวคิดเกี่ยวกับการรายงานโครงการ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับการยกระดับคุณภาพการศึกษา บทที่ 3 วิธีการด าเนินงาน 19-20 ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan) ขั้นตอนการร่วมกันปฏิบัติ ( Do) ขั้นตอนการ่วมกันประเมิน ( Check ) ขั้นตอนการร่วมปรับปรุง ( Act) บทที่ 4 ผลการด าเนินการและวิเคราะห์ข้อมูล 21-22 ผลการจัดกิจกรรมตามโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 23-24 วัตถุประสงค์ เปูาหมาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล สรุปผลการด าเนินการ ปัญหา/ข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม 26 ภาคผนวก 27


1 บทสรุปส าหรับผู้บริหาร โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา เรื่อง จิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร ได้จัดกิจกรรมพัฒนาพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา เรื่อง จิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้าง ความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่ใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบ การศึกษาชั้นพื้นฐานกิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน เงิน อุดหนุนทั่วไป ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพเรียน งบด าเนินงาน วัตถุประสงค์ 1. เพื่อปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์และสถาบันส าคัญของชาติ 2. เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้มีจิตอาสาในการพัฒนาชุมชน เกิดความสามัคคี 3. เพื่อพัฒนา สกร.อ าเภอ กศน.ต าบลและชุมชนให้สะอาด สวยงาม น่าอยู่อาศัย และเป็น แหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมในชุมชน ผลการด าเนินงาน ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร ได้จัดกิจกรรมพัฒนาพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา เรื่อง จิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2566 กลุ่มเปูาหมายนักศึกษา กศน.อ าเภอเรณูนคร จ านวน 200 คน จัดกิจกรรมในวันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ สกร.อ าเภอเรณูนคร ผู้เข้าร่วมการอบรมจ านวนทั้งสิ้น 200 คน เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักเพื่อปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์และสถาบันส าคัญของชาติ ให้ นักศึกษาเป็นผู้มีจิตอาสาในการพัฒนาชุมชน เกิดความสามัคคี และพัฒนา สกร.อ าเภอ กศน.ต าบล และ ชุมชนให้สะอาด สวยงาม และน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิประจ าวันได้อย่างมี ความสุข ด้านผู้รับบริการ โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา เรื่อง จิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา กลุ่มเปูาหมาย นักศึกษา กศน.อ าเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม จ านวนทั้งสิ้นจ านวน 200 คน ความพีงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม จากผู้เข้าอบรมทั้งสิ้นจ านวน 200 คน มีผู้ส่งแบบประเมิน จ านวน 200 คน คิดเป็นร้อยละ 100 โดยภาพรวมผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก-มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 95 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจสูงสุดในเรื่อง การน าความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน คิดเป็นร้อยละ 100 รองลงมาความเตรียมความพร้อม และความประทับใจในการจัดกิจกรรม ความรู้ที่ได้ จากกิจกรรม และต้องการให้จัดกิจกรรมเช่นนี้อีก คิดเป็นร้อยละ 95 ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจน้อย ที่สุดในเรื่อง การมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม และระยะเวลาในการจัดกิจกรรม คิดเป็นร้อยละ 85


2 ปัญหา / อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ 1. อยากให้มีจัดอบรมให้ความรู้ ปีละ 1 ครั้ง 2. อยากให้จัดอบรมในพื้นที่ต าบลทุกต าบลในเขตอ าเภอเรณูนคร กล่าวโดยสรุป ผลการด าเนินงานโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา เรื่องจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2566 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักเพื่อปกปูองและเชิดชู สถาบันพระมหากษัตริย์และสถาบันส าคัญของชาติ ให้นักศึกษาเป็นผู้มีจิตอาสาในการพัฒนาชุมชน เกิดความสามัคคี และพัฒนา สกร.อ าเภอ กศน.ต าบล และชุมชนให้สะอาด สวยงาม และน าความรู้ และประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิประจ าวันได้อย่างมีความสุข


3 บทที่ 1 บทน า 1. ความเป็นมาและความส าคัญ ส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร. ในฐานะเป็นหน่วยงานที่ท าหน้าที่จัดการศึกษาตลอด ชีวิตการศึกษาเพื่อการพัฒนาตนเอง และการศึกษาเพื่อคุณวุฒิดามระดับ ให้กับนักศึกษาและ ประชาชนทั่วไปเข้าถึงการศึกษาทุกรูปแบบเพื่อลดความเหลื่อมล้ าทางด้านการศึกษา ในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 นโยบายและจุดเนัน ส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้ ข้อ 2.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อ เสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรม สร้างวินัยสาธารณะ อุดมการณ์ความดมั่นในสถาบันหลักของชาติ การเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ของชาติแริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองและมีศีลธรรมที่เข้มแข็ง รวมถึงการมีจิต อาสา โดยผ่านกิที่เป็นการเพิ่มทักษะที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิต เช่น ทักษะความคิดสร้างสรรค์ การคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจการสื่อสารระหว่างบุคคลการเตรียมพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมกับ วัยของผู้เรียน ควบเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น กอรปกับสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นเสาหลัก ให้กับซาติบ้านเมืองมาตั้งแต่สมัยโบราณ จวบจนรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดี ตรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระมหากษัตริย์ จึงเป็นสัญลักษณ์ของการด ารงอยู่ของชาติไทย มายาวนานกว่า 700 ปี และเป็นสถาบันทางสังคมที่ เข้มแข็งยืนยง ท้าให้ประเทศไทยสามารถรักษาความเป็นไท ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ตราบจน ปัจจุบัน ธ ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวไทย และด ารงอยู่ภายใต้ทศพิธราชธรรม ทรงเป็นผู้น าการ พัฒนาประเทศในทุกด้าน อันได้แก่ การปกครองประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง ของประเทศ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงน้อมน้าพระราชด าริของในหลวง รัชกาลที่ 9 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง มาเผยแพรให้ประชาชนได้เรียนรู้และน้าไปปรับใช้ ท้าให้ประเทศไทยเป็น ประเทศที่พัฒนาไปสู่ความ "มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน" จนก่อให้เกิดเป็นพลังที่ส าคัญยิ่งในการผลักดันให้ ประเทศไทยยืนหยัดอยู่ในสังคมแห่งอารยประเทศได้อย่างสง่างาม ประชาชนสามารถน าความรู้ที่ได้ ไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ตลอดจนใช้ชีวิตอยู่บนพื้นฐานของความเป็นไทยและพอเพียง มีความ รักความศรัทธาในสถาบันพระมหากษัตริย์ มีจิตใจที่ตั้งมั่นอยู่ในการช่วยเหลือผู้อื่น เป็นที่พึ่งของสังคม ส่งผลให้ประเทศชาติเกิดสันติสุขอย่างแท้จริง ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร จึงได้จัดท า โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น 2. วัตถุประสงค์ 2.1เพื่อปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์และสถาบันส าคัญของชาติ 2.2เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้มีจิตอาสาในการพัฒนาชุมชน เกิดความสามัคคี 2.3เพื่อพัฒนา สกร.อ าเภอ กศน.ต าบลและชุมชนให้สะอาด สวยงาม และน าอยู่อาศัย และ แหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมในชุมชนผลการด าเนินงาน 3. เป้าหมายของโครงการ เชิงปริมาณ - นักศึกษา กศน.อ าเภอเรณูนคร จ านวน 200 คน เชิงคุณภาพ - กลุ่มเปูาหมายมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักในอันตรายที่จะเกิดขึ้นในชีวิตประจ าวัน


4 รู้วิธีปูองกัน และสามารถแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากภัยอันตรายในชีวิตและทรัพย์สินได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมสามารถน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิประจ าวันได้อย่างมี ความสุข 4. การติดตามและประเมินผล 4.1 แบบสังเกตการมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรม 4.2 แบบประเมินความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรม 4.3 แบบติดตามการน าความรู้ไปใช้ 5. ผลที่คาดว่าจะได้รับ - กลุ่มเปูาหมายมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักในอันตรายที่จะเกิดขึ้นในชีวิตประจ าวัน รู้วิธีปูองกัน และสามารถแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากภัยอันตรายในชีวิตและทรัพย์สินได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสมสามารถน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิประจ าวันได้อย่างมีความสุข เครื่องมือที่ใช้ในการด าเนินงาน 1. ประชุมวางแผนการด าเนินงานเพื่อก าหนดกิจกรรม เปูาหมาย และการด าเนินโคร 2. ประสานงานขอความร่วมมือกับผู้ที่เกี่ยวข้องและหน่วยงานที่จะเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ 3. จัดเตรียมสถานที่เพื่อด าเนินโครงการ 6. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การติดตามและประเมินผลโครงการ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในครั้งนี้ 1. การสังเกต 2. แบบทดสอบก่อนร่วมโครงการ / หลังร่วมโครงการ 3. แบบสอบถาม 7. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - กลุ่มเปูาหมายมีความรู้ความเข้าใจ และตระหนักเพื่อปกปูองและเชิดชูสถาบัพระมหา กษัตริย์และสถาบันส าคัญของชาติให้นักศึกษาเป็นผู้มีจิตอาสาในการพัฒนาชุมชน เกิดความสามัคคีและ พัฒนา สกร.อ าเภอ กศน.ต าบล และชุมชนให้สะอาด สวยงาม และน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมา ประยุกต์ใช้ในชีวิประจ าวันได้อย่างมีความสุข


5 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี ระเบียบ ข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องหรือแนวคิดที่ใช้ในการด าเนินงาน หลักและแนวคิดเกี่ยวกับการรายงานโครงการ 1. ความหมายของการประเมินโครงการ สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ (2524, หน้า 1) ได้ให้ความหมายของการประเมินโครงการไว้ว่า เป็นกระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลสารสนเทศส าหรับการตัดสินคุณค่าของโครงการ ผลผลิต กระบวนการ จุดมุ่งหมายของโครงการ หรือทางเลือกต่าง ๆ เพื่อน าไปปฏิบัติให้บรรลุจุดมุ่งหมาย จุดเน้นของการประเมินคือ การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้ข้อสนเทศ เพื่อตัดสินคุณค่าของสิ่งหนึ่งสิ่งใดโดยเฉพาะ ไพศาล หวังพานิช (2533, หน้า 25 – 26) ได้ให้ความหมาของการประเมินโครงการไว้ ว่าการประเมินโครงการเป็นกระบวนการก าหนดคุณค่าของโครงการนั้นว่าดีมีประสิทธิภาพและได้ผล เพียงใด สุวิมล ติรกานันท์ (2543, หน้า 2) กล่าวว่า การประเมินโครงการเป็นกระบวนการที่ เกิดขึ้นในทุกขั้นตอนของกระบวนการด าเนินงานเพื่อให้ได้สารสนเทศที่สามารถใช้ในการพิจารณาการ ด าเนินการ ซึ่งจะท าให้การด าเนินการเป็นไปได้อย่างทันท่วงที ในทางตรงกันข้ามผลการประเมินจะไม่ เกิดเท่าที่ควร หากผลนั้นไม่สามารถใช้ในเวลาที่เหมาะสม จากความหมายข้างต้นสรุปได้ว่า ความหมายการประเมินโครงการสรุปได้ว่า เป็น กระบวนการด าเนินงานที่ให้ได้มาซึ่งข้อมูล สารสนเทศส าหรับการตัดสินคุณภาพ คุณค่าของโครงการว่า มีระดับคุณภาพ และคุณค่าอย่างไร น าไปใช้พัฒนาสืบเนื่องต่อไปได้อย่างไร 2. ความมุ่งหมายของการประเมินโครงการ หลักการด าเนินงานใด ๆ จะต้องมีการติดตามผลงานหรือประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายไป ด าเนินการ การติดตามผลงานเป็นการประเมินวิธีหนึ่ง เพื่อตรวจสอบว่างานใดด าเนินต่อไปอย่างไรเป็น การปูองกันไม่ให้งานแต่ละช่วงแต่ละตอน ด าเนินการผิดจุดประสงค์และเปูาหมายเพื่อเป็นการเพิ่ม ประสิทธิภาพในการท างาน และท าให้การด าเนินงานนั้นมีโอกาสประสบความส าเร็จตามจุดประสงค์และ เปูาหมายที่ก าหนดไว้มากยิ่งขึ้น บทบาทหน้าที่ของการศึกษาในปัจจุบันโดยเฉพาะโรงเรียนที่มีขอบข่าย ขยายกว้างและซับซ้อนมากขึ้น เพราะความเติบโตและเจริญงอกงามของสังคม ความต้องการของสังคม เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพของสังคม ซึ่งปัจจุบันโรงเรียนไม่ได้มีหน้าที่สอนเพียงอย่างเดียวแต่ต้อง เกี่ยวข้องประสานงานกับชุมชน สังคมและครอบครัวของนักเรียน โรงเรียนจ าเป็นต้องบริหารงานให้ ด าเนินไปตามนโยบายของการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียน ต้องด าเนินตามแผนโครงการที่ก าหนด จากนโยบายสูงสุด ดังนั้นจึงต้องมีการติดตามและประเมินโครงการ เพื่อให้งานด าเนินไปตาม วัตถุประสงค์จึงท าให้การประเมินโครงการมีความมุ่งหมายและความส าคัญตามความคิดเห็นของ นักวิชาการในหลายแง่มุม ดังต่อไปนี้ ประชุม รอดประเสริฐ (2539, หน้า 74 – 75) ได้กล่าวถึงความหมายการประเมิน โครงการของ มิตเชล (Mizel) และการประเมินโครงการที่มีความหมายเฉพาะของ คนอกซ์ (Knox) ว่า การประเมินโครงการมีความมุ่งหมาย 3 ประการ 1.เพื่อแสดงผลการพิจารณาถึงคุณค่าของโครงการ 2.เพื่อช่วยให้ผู้ที่ตัดสินใจมีการตัดสินใจที่ถูกต้อง 3.เพื่อการบริการข้อมูลแก่ฝุายการเมือง เพื่อใช้ในการก าหนดนโยบาย


6 การประเมินโครงการ ความมุ่งหมายเฉพาะดังต่อไปนี้ 1. เพื่อแสดงถึงเหตุผลที่ชัดเจนของโครงการอันเป็นพื้นฐานที่ส าคัญของการตัดสินใจว่า ลักษณะใดของโครงการมีความส าคัญมากที่สุดซึ่งจะต้องท าการประเมินเพื่อหาประสิทธิภาพและข้อมูล ชนิดใดจะต้องเก็บรวบรวมเพื่อการวิเคราะห์ 2. เพื่อรวบรวมหลักฐานความเป็นจริง และข้อมูลที่จ าเป็น เพื่อน าไปสู่การพิจาร ประสิทธิผลของโครงการ 3. เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลและข้อเท็จจริงต่าง ๆ เพื่อการน าไปสู่การสรุปผลของโครงการ 4. การตัดสินใจว่าข้อมูลหรือข้อเท็จจริงใดสามารถน าไปใช้ได้ สรุปได้ว่าการประเมินโครงการ มีความมุ่งหมายเพื่อแสดงผลการพิจารณาถึงคุณค่าของ โครงการ เพื่อน าข้อมูลไปวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของโครงการ เพื่อช่วยให้ผู้มีอ านาจสามารถน าไป ตัดสินใจและน าไปใช้ได้ โดยค านึงถึงความส าคัญของโครงการว่ามีความเหมาะสมเพียงใด บรรลุตาม วัตถุประสงค์หรือไม่ เพราะผลการประเมินจะเป็นตัวกระตุ้นให้การด าเนินงานมีข้อบกพร่องน้อยลง ขณะเดียวกันก็เป็นการเพิ่มประสิทธิภาพให้มากขึ้นในการด าเนินงานแต่ละโครงการ 3. ประโยชน์ของการประเมินโครงการ จากความมุ่งหมายและความส าคัญดังกล่าวแล้ว พอสรุปได้ว่าการประเมินโครงการมี ประโยชน์ดังต่อไปนี้ 1. การประเมินโครงการช่วยให้ก าหนดวัตถุประสงค์และมาตรฐานของการด าเนินงานมี ความชัดเจน ดังกล่าวคือ ก่อนที่จะน าโครงการไปใช้ย่อมจะได้รบการตรวจสอบอย่างละเอียดจาก ผู้บริหารและผู้ประเมิน ส่วนใดที่ไม่ชัดเจน เช่น วัตถุประสงค์หรือมาตรฐานการด าเนินงาน หากขาด ความแน่นอนที่แจ่มชัดจะต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขให้มีความถูกต้องชัดเจนเสียก่อน 2. ประโยชน์เต็มที่ ทั้งนี้เพราะการประเมินโครงการจะต้องวิเคราะห์ทุกส่วนของโครงการ ข้อมูลใดหรือปัจจัยใดที่เป็นปัญหา จะได้รับการปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานหรือใช้ในการ ปฏิบัติงานอย่างเหมาะสมกับคุณค่า ทรัพยากรทุกชนิดจะได้รับการจัดสรรให้อยู่ในจ านวนหรือปริมาณ ที่เหมาะสมเพียงพอแก่การด าเนินงาน ทรัพยากรที่ไม่จ าเป็นหรือมีมากเกินไป จะได้รับการตัดทอน และทรัพยากรใดที่ขาดจะได้รับการจัดสรรเพิ่มเติม 3. การประเมินโครงการช่วยให้แผนงานบรรลุวัตถุประสงค์ เพราะโครงการเป็นส่วนหนึ่ง ของแผน ดังนี้เมื่อโครงการได้รับการตรวจสอบวิเคราะห์ปรับปรุงแก้ไขเพื่อให้ด าเนินไปด้วยดี 4. การประเมินโครงการมีส่วนช่วยให้การแก้ปัญหาอันเกิดจากผลกระทบ (impact) ของ โครงการ และท าให้โครงการมีข้อที่ท าให้ความเสียหายลดน้อยลง 5. การประเมินโครงการมีส่วนช่วยอย่างส าคัญในการควบคุมคุณภาพของงาน เพราะการ ประเมินโครงการมีการตรวจสอบ และควบคุมชนิดหนึ่ง 6. การประเมินโครงการมีช่วยในการสร้างขวัญและก าลังใจให้ผู้ปฏิบัติงานตามโครงการ เพราะการประเมินโครงการไม่ใช่เป็นการควบคุมบังคับบัญชาหรือสั่งการ แต่เป็นการศึกษาวิเคราะห์เพื่อ ปรับปรุงแก้ไขและเสนอแนะวิธีการใหม่ ๆ เพื่อใช้ในการปฏิบัติโครงการย่อมจะน ามาซึ่งผลงานที่ดีเป็นที่ ยอมรับของผู้เกี่ยวข้องทั้งปวง 7. ผลของการประเมินโครงการอาจเป็นข้อมูลอย่างส าคัญในการวางแผนหรือก าหนด นโยบายของผู้บริหารและฝุายการเมือง 8. การประเมินโครงการช่วยในการตัดสินใจในการบริหารโครงการ กล่าวคือ การประเมิน โครงการจะช่วยให้ผู้บริหารได้ทราบถึงอุปสรรคและปัญหา ข้อดี ข้อเสีย ความเป็นไปได้และแนวทางใน


7 การปรับปรุงแก้ไขในการด าเนินการโครงการ โดยข้อมูลดังกล่าวแล้วจะช่วยให้ผู้บริหารตัดสินใจว่าจะ ด าเนินโครงการนั้นต่อไป หรือยุติโครงการนั้น การยกระดับคุณภาพการศึกษา รัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการได้น้อมน าศาสตร์พระราชาเป็นแนวทางการจัดการศึกษา ของชาติตามกระแสพระราชด ารัส พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์มหาภูมิพลอดุลยเดช “ให้ครูรักเด็ก และเน้นคุณค่า ของความสามัคคี และยกระดับคุณภาพการศึกษาที่ดีขึ้น” โดยกระทรวงศึกษาธิการ ได้ ก าหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นเป็นนโยบายส าคัญ 11 ประการ ซึ่งส านักงานส่งเสริมการศึกษานอก ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้น านโยบายสู่การปฏิบัติ เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น ได้ น านโยบายสู่การปฏิบัติ โดยก าหนดวิสัยทัศน์สร้างโอกาสทางการศึกษา พัฒนาคุณภาพ สู่สากล ซึ่งเน้น ผู้เรียนให้มีทักษะในศตวรรษที่ 21 เพื่อก้าวสู่การจัดการศึกษาและประเทศไทย 4.0 การยกระดับคุณภาพการศึกษาเป็นสิ่งที่บุคลากรทุกคนในสถานศึกษาต้องช่วยกัน เพื่อให้ สถานศึกษาที่ตนเองท างานได้มาตรฐาน และเป็นที่ยอมรับของชุมชนและสังคม โดยเฉพาะผู้สอนควรมี การศึกษาหาความรู้อย่างต่อเนื่องเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนของ ตนเองให้มีความทันสมัยและมี ประสิทธิภาพ การศึกษาเป็นกลไกหลักในการพัฒนา ส่งเสริม ปลูกฝังแนวความคิดและความรู้ให้กับ เยาวชนพลเมืองโดยรวมที่เป็นตัวแปรหลักของความสามารถในการแข่งขันระยะยาว ซึ่งการออกแบบ การศึกษาจึงเป็นข้อต่อส าคัญของการพัฒนาในทุกด้าน อันเป็นเปูาหมายในการสร้างความมั่นคงและขีด ความสามารถ การพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์ การสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม การปรับสมดุลพัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อการสร้างสังคมแห่งคุณธรรมและสังคมแห่งการเรียนรู้ การสร้างนวัตกรรมและการน าเทคโนโลยีมาใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันเป็น วิสัยทัศน์เชิงนโยบายของการพัฒนาที่เป็นภารกิจส าคัญในการจัดระบบทิศทางการพัฒนาการจัด การศึกษา 4.0 ที่ตอบโจทย์ความเป็นพลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 และเป็นกลไกน าไปสู่การพัฒนาความ เข้มแข็ง การพัฒนาประเทศสู่ประเทศไทยยุค 4.0 อย่าง “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” นั้น ประเทศไทย จ าเป็นต้องมี “กรอบเปูาหมาย” การจัดการศึกษาที่ชัดเจนในการรับมือกับพลวัตศตวรรษที่ 21 (the 21st century dynamics) ที่เต็มไปด้วยความเปลี่ยนแปลงในภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์โลก ตามกรอบยุทธศาสตร์พัฒนาประเทศไทย 4.0 อย่าง“มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” นั้นก็คือ กลยุทธ์การบริหาร จัดการศึกษาสู่เปูาหมายอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นสิ่งส าคัญที่สามารถมองเห็นกระบวนการการ ปฏิบัติงานทั้งหมด ส่งเสริมการปฏิบัติงานเป็นทีม เนื่องจากสามารถสื่อสารกระบวนการปฏิบัติงานทุก ขั้นตอนกับทีมงานได้กระจ่างชัด ซึ่งท าให้สามารถอธิบายหรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ ให้มี มุมมองที่กว้างขึ้น และท าให้ มองเห็นสิ่งที่เกิดขึ้น อันเป็นผลดีทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ท าให้การ ท างานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพจากการก าหนดทิศทางและกระบวนการผลักดันให้ทุกองค์ประกอบ ของระบบสามารถขับเคลื่อนได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยการพัฒนาการบริหารจัดการศึกษา 4.0 ภายใต้ พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืนของการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐานไทย เพื่อสามารถจัดการศึกษาให้มีความสมบูรณ์พร้อม มีความชัดเจนในการบริหาร จัดการศึกษาที่ความเชื่อมโยง และการบูรณาการการท างานที่สอดคล้องกัน สามารถใช้เป็นรากฐาน ส าคัญของการจัดการศึกษา ในด้านสภาพการณ์การเปลี่ยนแปลงของพลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 ที่มี นัยส าคัญต่อการจัดการศึกษา 4.0 และก าหนดภาพรวมของเปูาประสงค์หลัก ด้านกระบวนการบริหาร จัดการศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน


8 อย่างยั่งยืน ด้านปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การ เป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืน และด้านแนวทางการบริหารจัดการศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืน ต่อการขับ เคลื่อนที่สามารถผลักดันแนวทางไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมของการศึกษาขั้นพื้นฐานไทย สภาพการณ์การเปลี่ยนแปลงของพลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 ที่มีนัยส าคัญต่อการจัด การศึกษา 4.0 ของเป้าประสงค์หลักการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานไทย สภาพการณ์การเปลี่ยนแปลงของพลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 ที่มีนัยส าคัญต่อการจัดการศึกษา 4.0 ของเปูาประสงค์การศึกษาขั้นพื้นฐานไทย ประกอบด้วย ปรัชญาพื้นฐานที่เป็นรากฐานของระบบ การศึกษาในพลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 เปูาประสงค์ของการจัดการศึกษาที่พึงประสงค์ ความท้าทายการ จัดการศึกษาที่มีนัยส าคัญในการบรรลุเปูาประสงค์หลัก 1. ปรัชญาพื้นฐานที่เป็นรากฐานของระบบการศึกษาในพลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 ปรัชญา พื้นฐานที่เป็นรากฐานของระบบการศึกษาในพลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 จะต้องเปลี่ยนไปจากเดิม ดังนี้ • การปรับเปลี่ยนอัตลักษณ์ (Identity modification) จากเดิมแต่ละคนมีสถานะเป็นแค่เพียง พลเมืองไทยสู่ความเป็นคนไทยที่เป็นส่วนหนึ่งของพลเมืองโลกซึ่งจะต้องมีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงในพลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 และประชาคมโลก รวมถึง เครือข่ายของประชาคมโลก ตลอดจน การปลุกจิตส านึกที่เหมาะสมและดีงามเท่าทันการณ์เปลี่ยนแปลงของพลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 • การปรับเปลี่ยนจุดเน้น (Reorientation modification) จากการเน้นการสร้างคนเพื่อปูอนการ เติบโตทางเศรษฐกิจเพื่อตอบโจทย์สังคมอุตสาหกรรมเพียงอย่างเดียวไปสู่การเน้นการสร้างการเติบโตเพื่อ รองรับการสร้างและปลดปล่อยศักยภาพของบุคลากรและผู้คนในสังคม เพื่อตอบโจทย์สังคมองค์ความรู้ ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 อย่างยั่งยืน • การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Paradigm-shift modification) จากความพยายามเอาชนะ ธรรมชาติมาเป็นการอยู่รวมกับธรรมชาติ และสร้างเครือข่ายพัฒนาการจัดการศึกษาภายใต้พลวัตแห่ง ศตวรรษที่ 21 อย่างยั่งยืน • การปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม จากการเป็นสังคมที่คนมุ่งมั่นแข็งขันและฟาดฟันต้องเอาชนะผู้อื่นมา เป็นการท างานร่วมกับคนอื่นของลักษณะทีมในลักษณะเกื้อกูลแบ่งปัน (Collaborative-culture) คนเก่ง ช่วยเหลือคนที่ด้อยกว่าเรียกหาสิ่งที่ดีที่สุดส าหรับตนเองและส่วนรวมไปพร้อมๆ กันผู้คนมีความเมตตา ด าเนินชีวิตในความเป็นมิตรไมตรีจิตต่อกันและกัน • การขับเคลื่อนการศึกษาไปสู่ความเป็นผู้น าทางการศึกษาในระดับภูมิภาค จากการค านึงถึง ประเด็นด้านสังคม วัฒนธรรม และมาตรฐานการศึกษา อาศัยการก าหนดเปูาหมาย วัตถุประสงค์และการ ด าเนินงานในอนาคตอย่างชัดเจนและสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลง ที่เกิดขึ้นรอบด้าน เป็นไปอย่างมี เอกภาพและมุ่งสู่เปูาหมายเดียวกัน ผู้เกี่ยวข้องทุกระดับมี ส่วนร่วมในการริเริ่มสร้างสรรค์และพัฒนาให้มี ความก้าวหน้าด้วยการด าเนินงานอย่างมีประสิทธิผล และเสาะหาเทคนิควิธีในการเปลี่ยนแปลงปัญหาให้ เป็นโอกาสเพื่อให้การด าเนินงานบรรลุผลสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ 2. เปูาประสงค์ของการจัดการศึกษาในพลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 ที่พึงประสงค์ เปูาประสงค์ ของการจัดการศึกษาในพลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 ที่พึงประสงค์ คือ การศึกษาช่วยบ่มเพาะเยาวชนและ คนไทยทุกคนเป็นผู้ที่มีศักยภาพ และกล่อมเกลาให้เป็นคนที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสุข น าไปสู่ ระดับการพัฒนาการศึกษาอย่างสมดุลและยั่งยืน พร้อมกับเป็นสังคมที่อยู่ดีมีสุข ที่เป็นเปูาหมาย ปลายทางของการจัดการศึกษา 4.0 คือ ผลลัพธ์ อันประกอบด้วย การเข้าถึง (Access) ความเท่าเทียม (Equity) คุณภาพ (Quality) ประสิทธิภาพ (Efficiency) และตอบโจทย์บริบทที่เปลี่ยนแปลงภายใต้ พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21


9 3. ความท้าทายการจัดการศึกษาที่มีนัยส าคัญในการบรรลุเปูาประสงค์หลักภายใต้พลวัตแห่ง ศตวรรษที่ 21 ความท้าทายการจัดการศึกษาที่มีนัยส าคัญ ในการบรรลุเปูาประสงค์หลัก ภายใต้พลวัต แห่งศตวรรษที่ 21 ทั้งในด้านคุณภาพการศึกษา การเข้าถึงและเท่าเทียม ประสิทธิภาพ และปรับตัวเข้า กับกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคใหม่ของความเป็นพลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 ทั้งนี้ ต้องเปลี่ยนผ่าน เข้าสู่กระแสใหม่ของการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้ซึ่งต้องให้ ความส าคัญกับการพัฒนาทุนมนุษย์ การใช้และต่อยอดองค์ความรู้ การให้ความส าคัญกับการวิจัยและ พัฒนา การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ดังนั้นจึงจ าเป็นต้องมีการวางแผนการพัฒนา ก าลังคนที่เหมาะสม และจัดการศึกษาให้สอดรับกับกระแสการเปลี่ยนแปลง 3.1 ระดับมหาภาคด้านการวางแผนก าลังคน • การยกระดับการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ จากการวางแผนก าลังคน ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตและสร้างเสริมพัฒนาทุนมนุษย์อย่างเป็นองค์รวม เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ เป็นผู้ที่มีสมรรถนะสูง ขณะเดียวกันก็เป็นการพัฒนาอย่างสมดุล • การสร้างสังคมแห่งปัญญา (Wisdom-based society และสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ (Learning supportive environment) จากการเปลี่ยนแปลงด้วยกระบวนทัศน์ใหม่ (Paradigm- shift) ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ขับเคลื่อนให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 3.2 ระดับปัจเจกเป็นคุณลักษณะผู้เรียน • การสร้างมนุษย์ที่สมบูรณ์ การมีจิตที่พร้อมและแข็งแกร่งในสมรรถนะหลักสอดรับ ศักยภาพการเรียนรู้ตามความถนัดและสนใจ โดยอาศัยการศึกษาเป็นเครื่องช่วยบ่มเพาะให้เป็นบุคคลที่มี ศักยภาพ กล่อมเกลาให้เป็นบุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรม มีความสุขและพัฒนาอย่างสมดุลและยั่งยืน ทั้งความรู้ ความสามารถ ทักษะแห่งอนาคต ทักษะทางสังคม และทักษะชีวิต มิใช่การมุ่งเน้น เพียง ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการหรือการสอบเพื่อคะแนนอย่างเดียว กระบวนการบริหารจัดการศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การเป็นประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืนของการศึกษาขั้นพื้นฐานไทย กระบวนการบริหารจัดการศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การเป็นประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืนของ การศึกษาขั้นพื้นฐานไทย เพื่อให้การบริหารจัดศึกษาไปสู่ ความส าเร็จตามเปูาหมาย คือ ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง การมีส่วนร่วม การมุ่งผลสัมฤทธิ์ การจัดการ องค์กร ประสิทธิผลระบบบริหารจัดการ คุณภาพ 1. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการส าคัญของการน าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู่ การปฏิบัติการบริหารจัดการศึกษาให้เกิดความยั่งยืน ประกอบด้วย (1) การเน้นหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข ด าเนินตามหลักทางสายกลาง ใช้เป็นแนวปฏิบัติในการจัด การศึกษา (2) การน าหลักวิชาการ ที่มีองค์ความรู้ควบคู่การมีธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน รู้รัก สามัคคี เอื้อเฟื่อเผื่อแผ่ และความเกื้อกูล (3) การพึ่งพาตนเองและรองรับการเปลี่ยนแปลง ของบุคลากรในการ ด าเนินชีวิตและปฏิบัติ หน้าที่ ด้วยความอดทน ความเพียร ปัญญา (4) การมีจิตใจเข้มแข็ง พัฒนาความคิด จิตใจในการด ารงชีพ และปฏิบัติงานให้เกิด ความก้าวหน้า (5) การมีเปูาประสงค์เดียวกันในการตัดสินใจ มีความเด็ดเดี่ยวในการตัดสินใจ และมีอิสระใน การตัดสินใจ


10 (6) การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องในการสร้างสมดุลของการปฏิบัติงานตามหน้าที่ความ รับผิดชอบ (7) การปฏิบัติงานที่เน้นการมีส่วนร่วมของกลุ่มที่ร่วมกันวางแผนการด าเนินการอย่างเป็นขั้นเป็น ต้น (8) การด าเนินการตามศักยภาพของแต่ละกลุ่ม ด าเนินการอย่างเป็นล าดับขั้นตอนเท่าทันการ เปลี่ยนแปลง (9) การวางแผนรอบคอบ หลักคิด หลักปฏิบัติในวิถีชีวิตและวิถีการท างาน ตามหลักแห่งทางสาย กลางอยู่บนความ ไม่ประมาท บ่งบอกถึงการพึ่งพาตนเอง สามารถอุ้มชูตนเองได้ (10) การพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เข้มแข็ง อาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ ความระมัดระวัง มาใช้ในการวางแผนและการด าเนินการทุกขั้นตอน มีวัฒนธรรมสมดุล 2. การมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมเป็นการสร้างความเข้มแข็ง ในการบริหารจัดการศึกษา ประกอบด้วย (1) การร่วมคิด การร่วมตัดสินใจ การร่วมปฏิบัติ การร่วมก ากับติดตามและประเมินผล และ ร่วมรับผิดชอบ สร้างเครือข่ายบูรณาการความร่วมมือ ที่มีความเกื้อกูล ความเอื้ออาทร ช่วยเหลือซึ่งกัน และกัน (2) การให้บุคลากรได้ร่วมกันเพื่อจัดการงานให้บรรลุเปูาหมายที่ต้องการร่วมกันอย่างมี ประสิทธิภาพ และบริหารจัดการที่มีความเชื่อมโยงอย่างใกล้ชิดกับการตัดสินใจอย่างมีคุณค่าและชอบ ธรรมอย่างแท้จริง (3) การมุ่งเน้น ที่สามารถกระท าได้ในการร่วมตัดสินใจและวางแผนการพัฒนา ร่วมก าหนด นโยบายที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ (4) ความรับผิดชอบที่รู้สึกผูกพันในการท างาน ความเชื่อถือไว้วางใจกัน ความร่วมมือร่วมใจ การร่วมรับประโยชน์ร่วมกัน และการสร้างความเชื่อมั่น (5) การแสวงหาความร่วมมือและสนับสนุนให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาอย่างหลากหลาย (6) การก าหนดแผนนโยบายและยุทธศาสตร์ที่เกิดจากการประสานงานในภาคีเครือข่าย การ จัดการความรู้ และสร้างความรู้ ความเข้าใจ และเจตคติที่ถูกต้องเพื่อน าไปสู่การมีส่วนร่วมแบบเต็มที่ สมบูรณ์ 3. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์เป็นวิธีการและเทคนิคเพื่อช่วยให้เกิด ประสิทธิภาพและประสิทธิผล หรือเรียกว่าการบริหารโดยวัตถุประสงค์ การบริหารผลการปฏิบัติงาน กรอบวิธีการท างานอย่างเป็นเหตุเป็นผล ประกอบด้วย (1) การสร้างกระบวนการและวิธีการบริหารจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นผลการปฏิบัติงานเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์และเปูาหมาย อาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกส่วนฝุายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดการ ด าเนินงานและปฏิบัติการ มีความรับผิดชอบและยกระดับผลการปฏิบัติงาน (2) การอ านวยความสะดวกและการตอบสนองต่อความต้องการของสถานศึกษา เพื่อให้เกิด ประโยชน์และเกิดผลสัมฤทธิ์ต่อการจัดการศึกษาสู่ผู้เรียน และใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ให้เกิดประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่าสูงสุด (3) การพัฒนาระบบการบริหารจัดการทั้งการปรับเปลี่ยนกระบวนการและวิธีการท างาน การ ปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการ การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ วัฒนธรรม และค่านิยม (4) การเสริมสร้างให้สอดคล้องกับการศึกษาของการเปิดให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการ ประเมินผลการด าเนินงานยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา


11 (5) การก าหนดตัวชี้วัดผลการด าเนินงานที่ชัดเจนในการวัดความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน เพื่อให้การท างานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีแผนกลยุทธ์ของหน่วยงาน มาก าหนดปัจจัยหลัก แห่งความส าเร็จและตัวชี้วัดผลการด าเนินงานหลัก ที่เหมาะสมกับสภาพจริงเชิงพื้นที่ (6) การมองไปในอนาคตของการริเริ่มสร้างสรรค์ เพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการ และ สร้างเครือข่าย ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่สามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง 4. การจัดการองค์กร การจัดการองค์กร ของการบริหารจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบ ทั้งด้าน นโยบาย การด าเนินการและปฏิบัติการอย่างมีเปูาหมาย ประกอบด้วย (1) การใช้แผนเชิงรุกและเชิงนโยบายเป็นยุทธศาสตร์และแผนแม่บท (2) การสั่งงานตามล าดับขั้น โดยมีการมอบหมายอ านาจหน้าที่ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติ เพื่อให้ งานนั้นมีประสิทธิภาพ (3) การติดต่อสื่อสารในกระบวนการทางการบริหารที่เกี่ยวข้องกับการส่งสาร และความเข้าใจ จากบุคคลและหน่วยงานที่สัมพันธ์กัน (4) การสร้างเอกภาพในการบังคับบัญชาในการก าหนดขอบเขตของการบริหารจัดการใน สถานศึกษา (5) การจัดแบ่งหน่วยงานภายในโดยอาศัยหลักการก าหนดอ านาจหน้าที่ การแบ่งงานกันท าตาม ความช านาญเพาะอย่าง (6) การท างานเป็นทีมและสร้างขวัญก าลังใจแก่บุคลากรเพื่อให้ปฏิบัติงานมีประสิทธิผล (7) การจัดองค์กรเพื่อการบริหารงานที่ต่อเนื่องอย่างเป็นพลวัตและมีดุลยภาพที่สะท้อนถึง ประสิทธิภาพ (8) การอ านวยความสะดวกในเรื่องต่างๆ และจัดให้มีเครื่องมือและการติดต่อสื่อสารที่เป็นระบบ อย่างชัดเจน (9) การก าหนดเปูาหมายองค์กรในการสร้างกลยุทธ์เพื่อเป็นแนวทางในการด าเนินไปสู่เปูาหมาย และการกระจายจากกลยุทธ์สู่แผนปฏิบัติการ (10) การสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะแห่งตน 5. ประสิทธิผลระบบบริหารจัดการคุณภาพ ประสิทธิผลของระบบการบริหารจัดการคุณภาพการ จัดการศึกษาที่ช่วยสร้างประสิทธิภาพและศักยภาพ ประกอบด้วย (1) ผลผลิตการจัดการศึกษาบรรลุเปูาหมายที่ส าคัญ มีมาตรฐานความเป็นเลิศ ที่สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์และการใช้ทรัพยากรที่คุ้มค่า (2) รูปแบบการท างานที่เป็นเลิศ เน้นการพัฒนาคน การมีส่วนร่วมและพัฒนานวัตกรรมใหม่ (3) การสร้างประสิทธิผลในกระบวนการท างาน ที่มีตัวชี้วัดสามารถแสดงวิธีการที่องค์กรก าหนด กิจกรรมหลักและกิจกรรมสนับสนุนเพื่อปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (4) การน าองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์ ของการขับเคลื่อนให้ประสบความส าเร็จในการก าหนดทิศทาง ค่านิยมที่มีความชัดเจนและเป็นรูปธรรม (5) การจัดการโดยใช้ข้อมูลจริง การวัดและการวิเคราะห์ผลการด าเนินการที่มาจากความจ าเป็น และกลยุทธ์หลักของสถานศึกษา (6) การมีมุมมองเชิงระบบในการจัดการองค์กรและกระบวนการ ที่เป็นผลผลิตของการด าเนินงาน (7) การก าหนดแนวทางที่เป็นผลให้การจัดการศึกษาบรรลุเปูาหมายที่ส าคัญ สอดคล้องกับสภาพ จริง (8) การสังเคราะห์ที่มองภาพรวมของสถานศึกษา มุ่งเน้นวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์เชิงกล ยุทธ์และแผนปฏิบัติการให้มีความสอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน


12 (9) การก าหนดแนวทางการสื่อสาร การปฏิบัติงาน การตรวจสอบ นโยบายกลยุทธ์ รวมถึง ทรัพยากร และปัจจัยที่เป็นผลลัพธ์ (10) ผลที่เกิดเป็นรูปธรรม เพื่อการพัฒนาทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การเป็น ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืนของการศึกษาขั้นพื้นฐานไทย ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การเป็น ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืนของการศึกษาขั้นพื้นฐานไทย ประกอบด้วย ด้าน ความเป็นผู้น า ด้านการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ ด้านผู้บริหารและบุคลากรครู ด้านหลักสูตรและการ จัดการเรียนรู้ ด้านสภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ คือ 1. ความเป็นผู้น า ความเป็นผู้น าที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่ง ศตวรรษที่ 21 สู่การเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย (1) การก าหนดค่านิยมที่คาดหวังที่มุ่งด าเนินการให้บรรลุผลส าเร็จ และการสร้างภาพ ความส าเร็จในอนาคต (2) การเป็นผู้น าที่มีคุณค่าต่อการจัดการศึกษาและกลุ่มโรงเรียนที่มีส่วนได้ส่วนเสีย เป็น ประโยชน์สูงสุด (3) การมีกระบวนทัศน์และการขับเคลื่อนให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรู้ (4) การเพิ่มประสิทธิภาพให้กับสถานศึกษาและทีมงานจากการน ากระบวนการคิดไปใช้เพื่อให้ เกิดเปูาหมายร่วมกัน (5) การสร้างสมรรถนะ และกระบวนการคิดบนพื้นฐานกลยุทธ์การก าหนดทิศทางการ ด าเนินงานยกระดับคุณภาพการศึกษาทุกมิติ (6) การยกระดับการศึกษาพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพสอดคล้องกับทักษะศตวรรษที่ 21 (7) การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต สร้างเสริมการพัฒนาทุนมนุษย์อย่างคลอบคลุม (8) การพัฒนาให้บุคลากรที่อยู่ใต้บังคับบัญชามีความสามารถและ สมรรถนะ ที่ค านึงถึงความ ต้องการของเขตพื้นที่และโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง (9) การสร้างสังคมแห่งภูมิปัญญา สังคมแห่งการเรียนรู้และสังคมฐานความรู้ ผ่านนวัตกรรม เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ (10) การมีวิสัยทัศน์/ พันธกิจ/วิธีการ/แนวทาง และวัฒนธรรมการเรียนรู้ ที่เป็นเลิศในการ ปฏิบัติงานและพัฒนาอย่างเป็นระบบ ตามบทบาทผู้น าที่ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงภายใต้พลวัตแห่ง ศตวรรษที่ 21 2. การบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ การบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ที่ส่งผลต่อการบริหารจัด การศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่าง ยั่งยืน ประกอบด้วย (1) การส่งเสริมการเรียนรู้ ที่ครอบคลุมความสนใจ ความสามารถและความแตกต่างอย่างเป็น ระบบและชัดเจน (2) การบริหารจัดการศึกษาวางแผนระบบการบริหารจัดการที่ตอบโจทย์การเปลี่ยนแปลงแห่ง ศตวรรษที่ 21 (3) การด าเนินการการก ากับ ติดตาม ประเมินผลที่ยึดสภาพจริงและอย่างต่อเนื่อง (4) การบริหารจัดการที่มีวิสัยทัศน์เชื่อมต่อกับโลกการท างาน อาศัยการมีส่วนร่วมในการ พัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา


13 (5) การบริหารจัดการความรู้ในการยกระดับคุณภาพการศึกษา และทักษะที่จ าเป็นต่อการด ารง อยู่ในสังคมที่มีความเป็นโลกาภิวัฒน์ (6) การบริหารจัดการเชิงพื้นที่ และจัดกระบวนการเรียนรู้ตามสภาพจริง ให้มีคุณภาพ มาตรฐานรอบด้าน (7) การบริหารจัดการที่เปิดกว้างต่อพลวัตความเปลี่ยนแปลงจากปัจจัยภายในและภายนอก อย่างเป็นระบบ (8) การบริหารจัดการและพัฒนา เน้นผลการปฏิบัติงานโดยส่วนรวมมากกว่าการเน้นไปที่ ผลงานของแต่ละคน (9) การสร้างระบบการด าเนินงานในการปฏิบัติการอย่างมีเปูาหมายที่ยึดพื้นที่เป็นศูนย์การ พัฒนา (10) การปรับเปลี่ยนวิธีพัฒนาในรูปแบบบูรณาการ สามารถเกื้อกูลให้ขับเคลื่อนไปในทิศทาง เชิงบวกและมีคุณภาพ 3. ผู้บริหารและบุคลากรครู ผู้บริหารและบุคลากรครูที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย (1) การพัฒนาทั้งด้านสมรรถนะ ความรู้ และทักษะการใช้เทคโนโลยีอย่างบูรณาการที่ เชื่อมโยงการศึกษาและการท างาน (2) การส่งเสริมพัฒนานวัตกรรม การบริหารและการจัดการเรียนรู้ ที่สามารถประยุกต์ใช้ได้ เหมาะสมกับศักยภาพและความพร้อม (3) การจัดการศึกษาที่สามารถปรับเปลี่ยนกระบวนการเรียนรู้ให้มีความเชื่อมโยงกับชีวิตจริง ของผู้เรียน (4) การพัฒนาผู้เรียนอย่างสมดุล แทนการให้ความส าคัญในด้านวิชาการเพียงอย่างเดียว จัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษให้บรรลุศักยภาพตนเอง (5) การสร้างพลเมืองที่มีคุณภาพ มีความสมบูรณ์ในทุกมิติ (6) การสร้างระบบการศึกษาที่สามารถเอื้อให้เกิดการเรียนรู้แบบรู้จริง (7) การส่งเสริมพื้นฐานส าคัญในการสร้างความรู้และปลูกฝังกระบวนการคิด (Cognitive skills)อย่างเป็นระบบและสมดุล (8) การส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถค้นพบศักยภาพของตนเองและใช้ศักยภาพอย่างเต็มที่ (9) การให้ความส าคัญกับผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ของการด าเนินการให้เกิดผลในทางปฏิบัติ อย่างแท้จริง (10) การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ที่ยึดหลักการดูแลแบบครบวงจร ส่งเสริมแรงจูงใจ ให้ ความส าคัญกับความเป็นปัจเจกบุคคลของผู้เรียนแต่ละคน 4. หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ หลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อการบริหารจัด การศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่าง ยั่งยืน ประกอบด้วย (1) หลักสูตรที่มีการก าหนดตัวชี้วัดและการประเมินผลสอดรับกับเปูาประสงค์ เน้นการจัดการ เรียนรู้ที่สนองต่อสังคมและชุมชน


14 (2) หลักสูตรที่เน้นความสามารถเฉพาะ เน้นทักษะการคิดวิเคราะห์ และการสร้างสื่อ นวัตกรรม เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ (3) การให้ความส าคัญกับทักษะการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม ทักษะชีวิต ทักษะทางด้าน นวัตกรรม ความคิดริเริ่ม ความรับผิดชอบ (4) การจัดการเรียนรู้ที่น าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดการศึกษาสู่ผู้เรียน อย่างต่อเนื่อง (5) การจัดการเรียนรู้ที่เน้นวิธีการกระบวนการเรียนรู้ การบูรณาการเนื้อหาวิชาต่างๆเข้า ด้วยกัน (6) สร้างความเป็นเลิศทางภาษา คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และทักษะการ อาชีพ ให้เป็นรากฐานการสร้างอนาคต (7) การเพิ่มขีดความสามารถและฝึกฝนทักษะในการเรียนรู้ตามทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของ ผู้เรียน (8) หลักสูตรการเรียนรู้ของการยกระดับทักษะอาชีพ ไปพร้อมๆกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ฐานความรู้ ของทักษะในศตวรรษที่ 21 (9) หลักสูตรที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนในการเลือกสิ่งที่จะเรียนรู้รองรับความถนัด ความสนใจและ แนวทางการเรียนรู้ในแบบเฉพาะตัว (10) การจัดการเรียนรู้ที่มีนวัตกรรมการเรียนรู้ผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทัล สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 5. สภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สภาพแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การเป็นประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืน ประกอบด้วย (1) การสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ระหว่างบุคลากรทางการศึกษาทุกระดับ และบริหาร จัดการเป็นไปตามหลักการมีส่วนร่วม (2) การจัดสภาพแวดล้อมเน้นความเชื่อมโยงแบบเครือข่ายที่ส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (3) การชี้แนะ ปรึกษา และเกื้อหนุนการเรียนรู้กับทุกส่วนและเปิดโอกาสให้สร้างวิธีการ ท างานใหม่ๆ (4) การสร้างสภาพแวดล้อมของการท างานเป็นทีมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสร้าง ประสบการณ์ใหม่ๆ (5) การจัดบริการนวัตกรรมการเรียนรู้ผ่านระบบเทคโนโลยีดิจิทัลสร้างสภาพแวดล้อมในการ ฝึกฝนทักษะ (6) ส่งเสริมนวัตกรรมทางสังคมผ่านการเรียนรู้ถึงแก่นแท้ความรู้ (7) การสร้างให้ผู้เรียนมีความอยากรู้ อยากเห็นท าให้เกิดแรงบันดาลใจเพื่อการเรียนรู้ (8) การสร้างสภาพแวดล้อมในการฝึกฝนทักษะ สมรรถนะและความรู้ (9) การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ ช่วยหล่อหลอมลักษณะจิต ทักษะและคุณลักษณะอัน พึงประสงค์ (10) การสร้างสภาพแวดล้อมในการฝึกฝนทักษะ และส่งเสริมนวัตกรรมทางสังคมผ่านการใช้ ICT


15 แนวทางการบริหารจัดการศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การเป็น ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืนที่สามารถผลักดันไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็น รูปธรรม แนวทางการบริหารจัดการศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การเป็นประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืนต่อการขับเคลื่อนที่สามารถผลักดันไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็น รูปธรรมของการศึกษาขั้นพื้นฐานไทย 1. ด้านการจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคง การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงสู่การเป็นประชาคม สังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืนที่สามารถผลักดันไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ประกอบด้วย • การส่งเสริมให้สถานศึกษามีการบูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัด กระบวนการเรียนรู้อย่างยั่งยืน • การเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ผ่าน หลักสูตรและกระบวนการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และความเป็นพลเมือง • การสร้างนวัตกรรมการศึกษาที่สร้างเสริมทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้สอดคล้องกับทักษะ แห่งศตวรรษที่ 21 • การสร้างผู้เรียนเพื่อปูอนการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ตอบโจทย์สังคมอุตสาหกรรม ควบคู่กับ การสร้างถ่ายทอดศักยภาพ และประสิทธิภาพที่ตอบโจทย์สังคมแห่งองค์ความรู้ • การพัฒนาการจัดการศึกษาในสถานศึกษา เหมาะสมตามบริบทพื้นที่ • การส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณธรรมและ จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ • การสร้างเส้นทางในการเรียนรู้ใหม่ภายใต้การเปลี่ยนแปลงและการลื่นไหลของเทคโนโลยี ที่มี ประสิทธิภาพ • การสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพลวัตการเปลี่ยนแปลง สร้างเครือข่ายในประชาคม การ ปลูกจิตส านึก สามารถตอบสนองสอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 2. ด้านการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การพัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่การเป็นประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืนที่สามารถผลักดันไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ประกอบด้วย • การสร้างระบบการศึกษาที่มีคุณภาพโดยเน้นสร้างเสริมพื้นฐาน ที่เพิ่มการให้ความส าคัญกับ การปลูกฝังกระบวนการคิด และสร้างความเชื่อมโยงการศึกษาและการท างาน • การปรับปรุงหลักสูตรและน าหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติให้เกิดประสิทธิภาพ และจัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับหลักสูตรตามความจ าเป็นและความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น • โครงสร้างของหลักสูตร และการก าหนดวิธีการสอน หรือ การจัดการเรียนรู้ ที่เปลี่ยน แกนกลางของการเรียนการสอนจากเนื้อหาสาระ มาเป็นการให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และมีเปูาหมายใน ลักษณะบูรณาการ คือ เป็นเครื่องมือในการเรียนการสอน และเครื่องมือของครูในการพัฒนารูปแบบการ ถ่ายทอดความรู้ • การสร้างหนทางการศึกษาที่หลากหลาย เปิดโอกาสให้แก่ผู้เรียนในการเลือกสิ่งที่จะเรียน รองรับความถนัด ความสนใจ ในลักษณะแห่งตนของผู้เรียน • การสร้างรูปแบบการจัดการหลักสูตรและการวัดประเมินผลให้สอดคล้องกับเปูาประสงค์และ วัตถุประสงค์การเรียนรู้ของผู้เรียน • การก าหนดตัวชี้วัดของการประเมินผลให้สอดรับกับเปูาประสงค์ระดับประเทศ และเน้นการ ประเมินพัฒนาการเรียนรู้ที่หลากหลาย


16 • การสนับสนุนการผลิต จัดหาและใช้สื่อการเรียนการสอน เทคโนโลยี นวัตกรรม สิ่งอ านวยความ สะดวกที่หลากหลาย • การส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านกิจกรรม การปฏิบัติจริง (Active Learning) เน้นทักษะกระบวนการ ให้เกิดทักษะการคิดวิเคราะห์คิดแก้ปัญหา คิดสร้างสรรค์ ในทุกกลุ่ม สาระการเรียนรู้ ทั้งในและนอกห้องเรียน • การจัดการเรียนการสอน ที่เปิดโอกาสให้ครูเลือกใช้วิธีการที่เหมาะสมกับผู้เรียนในความ รับผิดชอบอย่างอิสระ ที่สามารถเลือกใช้ต าราได้อย่างหลากหลาย • การสนับสนุนและส่งเสริมการเรียนรู้และการเจริญเติบโตที่ดีต่อผู้เรียน ทั้งในแง่ของกาย จิต สังคม ที่มุ่งหวังให้ผู้เรียนมีความยากรู้อยากเห็น • การให้ความส าคัญกับทักษะการปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Socio- emotional competency) ทักษะชีวิต (Life skills) รวมถึง ทักษะด้านนวัตกรรม ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความรับผิดชอบต่อสังคม • การส่งเสริมการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความมั่นใจในทักษะทางภาษาเพื่อการสื่อสาร เช่น ภาษาอังกฤษ และภาษาอาเซียน • การพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลทุกระดับให้มีคุณภาพและมาตรฐานน าไปสู่การ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ • การส่งเสริมการใช้ ICT ให้เป็นกิจกรรมการพัฒนาด้านความรู้ แก่นสาระ และการบริหารจัด การศึกษา การบริหารสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และส่งเสริม นวัตกรรมทางสังคมผ่านการใช้ ICT • การสนับสนุนให้สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ และสื่อการ เรียนรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 3. ด้านการพัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา การพัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากร ทางการศึกษาสู่การเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืนที่สามารถผลักดันไปสู่การ ปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ประกอบด้วย • การสร้างกลไกพัฒนาเพื่อสร้างความสามารถที่ท าให้เกิดผลลัพธ์ที่ดี และการปรับปรุง คุณภาพการศึกษาที่สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้อย่างรอบด้านควบคู่กับการพัฒนาผู้บริหาร ครูและ บุคลากรทางการศึกษาให้มีคุณภาพ มีสมรรถนะแบบมืออาชีพ • การพัฒนาผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้สามารถบริหารและจัดการเรียนรู้อย่าง มีคุณภาพทั้งระบบเชื่อมโยงกับการเลื่อนวิทยฐานะในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น ชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ (PLC) การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการปฏิบัติจริง (Active Learning) • การสร้างระบบการบริหารงานบุคคลให้มีประสิทธิภาพ โดยเชื่อมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการก าหนดแผนอัตราก าลัง การสรรหา การบรรจุแต่งตั้ง การประเมินและการพัฒนา • การสร้างแรงจูงใจให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีขวัญและก าลังใจในการปฏิบัติงาน • การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เป็นปัจจัยที่ช่วยแผ่ขยายการศึกษาเรียนรู้ที่มีคุณภาพแก่ ผู้เรียนและสังคม • การสร้างระบบการจัดการความรู้อาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถช่วยให้การจัดการ เรียนรู้ และการน ามาใช้อย่างบูรณาการ • เร่งปฏิรูประบบการผลิตครู สถาบันที่ผลิตครู ควรผลิตครู ในสาขาที่สถาบันนั้นมีความ เชี่ยวชาญศักยภาพและความพร้อมของสถาบัน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ ทั้งในการบ่มเพาะบุคลากรที่มี


17 คุณภาพ อีกทั้งมีกลุ่มเปูาหมายผู้เรียน ครูที่ชัดเจน เนื่องจากในปัจจุบันแม้ว่าจะมีปริมาณครูที่จบมา จ านวนมาก แต่มีปัญหาเรื่องคุณภาพครู เกิดความขัดแย้งทางอุปทาน กล่าวคือ มีบุคลากรที่ผลิตจ านวน มาก แต่ก็มีความขาดแคลนครู มาตรฐานแตกต่างกันระหว่างสถาบัน โดยเฉพาะประเด็นด้านคุณภาพ จึง จ าเป็นต้องเร่งปฏิรูประบบการผลิตครู • ผสมผสานบูรณาการตั้งแต่ขั้นตอนการผลิตครู เพื่อบ่มเพาะความเป็นครู ทักษะการสอนเพื่อ แก้ปัญหาข้อจ ากัดกระบวนการเรียนการสอนของสถาบันผลิตครู ในปัจจุบันยังค่อนข้างแยกส่วนระหว่าง การสอนทฤษฎี และการปฏิบัติ หรือเป็นการฝึกฝนที่ไม่ลุ่มลึกอีกทั้งไม่มีการสอนการวิเคราะห์หลักสูตร ส่งผลให้ขาดการบ่มเพาะความเป็นครูที่เข้มข้น และบัณฑิตที่จบแล้วเมื่อเข้าเป็นครูประจ าการจึงขาด ทักษะการสอน และขาดทักษะในการคิดวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางที่ได้รับมา และการประยุกต์สอนให้ เข้ากับผู้เรียนและบริบท และวางระบบพัฒนาครูอย่างครบวงจร ปรับอัตราเงินเดือนให้สูงเท่าวิชาชีพ ชั้นสูง ยกระดับมาตรฐาน เส้นทางอาชีพครูมีความก้าวหน้า เพื่อสร้างระบบแรงจูงใจ และสร้างค่านิยม เพื่อดึงดูดให้ผู้ที่มีคะแนนสูงเข้ามาเรียนครู เพื่อสร้างครูรุ่นใหม่ที่มีคุณภาพเป็นเลิศ การคัดเลือกครู เข้มข้น คัดเลือกครูจากนักเรียนที่มีผล คะแนนสูงเป็นอันดับต้นๆ ของประเทศ • เร่งพัฒนาศักยภาพครู มีความจ าเป็นอย่างยิ่ง เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และน าไปสู่การ ปรับปรุงพัฒนาวิธี การสอน และปรับการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้ครูผู้สร้างแรงบันดาลใจ (Inspiring Teachers) ปรับบทบาทครูเป็นผู้อ านวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน โดยจัด กิจกรรมเสริมศักยภาพครูประจ าการ อาทิ การฝึกอบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างครูด้วยวิธีการต่างๆ สร้างเครือข่ายครูประจ าการ พัฒนาระบบครูพี่เลี้ยงที่สนับสนุนเพื่อช่วยแก้ไขปัญหาเรื่องคุณภาพครู ช่วยยกระดับครูประจ าการที่มีข้อจ ากัดในการสอน ท าให้ผู้เรียนขาดความรู้ ความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง 1. ด้านการสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานและลดความ เหลื่อมล้ าทางการศึกษา การสร้างโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพ มีมาตรฐานและลด ความเหลื่อมล้ าทางการศึกษาสู่การเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืนที่สามารถ ผลักดันไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ประกอบด้วย • การส่งเสริมประชากรวัยเรียนทุกคนให้ได้รับโอกาสในการเข้ารับบริการทางการศึกษาอย่าง ทั่วถึง มีคุณภาพและเสมอภาค • การส่งเสริมสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีการศึกษาให้ครอบคลุมและทั่วถึง • การสร้างจิตส านึกรักษ์ สิ่งแวดล้อม มีคุณธรรม จริยธรรม และน้อมน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงสู่การปฏิบัติในการด าเนินชีวิต • การสร้างระบบการดูแลช่วยเหลือ ระบบส่งเสริมความประพฤติ ระบบคุ้มครอง และสร้าง ภูมิคุ้มกันทางสังคมให้กับผู้เรียน • การสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ ที่สามารถน าทางสู่เปูาหมาย และประเมินตนเองได้ • การให้ผู้เรียนได้รับโอกาสเพื่อการร่วมปฏิบัติในเชิงสร้างสรรค์และพัฒนาเพื่อการ สร้าง สภาพแวดล้อมแห่งการเรียนรู้ของตนเอง • การส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถค้นพบศักยภาพตนเองในลักษณะกว้างขวางและเป็น องค์รวม ระบบการเรียนรู้ (Broad-based and holistic learning) 1. ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสู่การเป็น ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน อย่างยั่งยืนที่สามารถผลักดันไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็น รูปธรรม ประกอบด้วย


18 • การส่งเสริมการบริหารจัดการโดยใช้พื้นที่เป็นฐาน (Area-base Management) เพื่อสร้าง ความเข้มแข็งในการยกระดับคุณภาพการศึกษารูปแบบเครือข่าย • การพัฒนาระบบการวางแผน การน าแผนไปสู่การปฏิบัติ การก ากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพื่อการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ ยึดธรรมาภิบาล ระบบงบประมาณและการ สนับสนุนค่าใช้จ่ายเพื่อการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระบบเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการจัดการศึกษา ที่มีมาตรฐาน เชื่อมโยงและเข้าถึงได้ • การสร้างความเข้มแข็งในการยกระดับคุณภาพสถานศึกษาตามบริบทของพื้นที่ และส่งเสริม ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้เข้มแข็ง ส่งเสริม สนับสนุนผู้ปกครอง ชุมชน สังคม ให้มี ความรู้ ความเข้าใจ สร้างความตระหนักในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สร้างการส่วนร่วมจากทุกภาค ส่วนในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ยกย่องเชิดชูเกียรติสถานศึกษา บุคลากรที่มีผลงานเชิงประจักษ์


19 บทที่ 3 วิธีด าเนินงาน รายงานผลการจัดกิจกรรมตามโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ประจ าปีการศึกษา 1/2566 ได้น าวงจรคุณภาพของเดมิ่ง PDCA มาใช้ในการด าเนินการ 4 ขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan) 2. ขั้นตอนการร่วมกันปฏิบัติ ( Do) 3. ขั้นตอนการ่วมกันประเมิน ( Check ) 4. ขั้นตอนการร่วมปรับปรุง ( Act) 1. ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan) ขั้นตอนนี้เป็นการวางแผนการด าเนินการโดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1.1 ประชุมปรึกษาร่วมกัน แล้วขยายผลสู่คณะครูทุกคน 1.2 จัดท าโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา เสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณาเห็นชอบ 1.3 แต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมแต่ละงานแต่กิจกรรมตามความ เหมาะสม 1.4 สร้างความเข้าใจกับกลุ่มเปูาหมายเพื่อก าหนดแนวทางในการด าเนินการ 1.5 ติดต่อประสานงานเตรียมความพร้อม ทั้งด้านสถานที่ 1.6 ก าหนดระยะเวลาในการด าเนินการ และวิธีประเมินผล 2. ขั้นตอนการร่วมกันปฏิบัติ ( Do) การปฏิบัติงานตามแผนงานที่วางไว้โดยมีขั้นตอนในการด าเนินงาน ดังนี้ 2.1 บันทึกเสนอผู้บริหารเพื่อขออนุญาตด าเนินการ 2.2 ด าเนินการตามโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ในระหว่างภาคเรียนที่ 1 ประจ าปี การศึกษา 2566 โดยมีกลุ่มเปูาหมายเป็น นักศึกษาและบุคลากรภายในศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ อ าเภอ เรณูนคร โดยมีกิจกรรมด าเนินการดังนี้ วัน เดือน ปี เวลา กิจกรรม วิทยากรด าเนินงาน 11 ส.ค. 66 08.00-09.00 น. 09.00-09.30 น. 09.30-10.00 น. 10.00-10.13 น. 10.13-11.00 น. 11.00-12.00 น. 12.00-13.00 น. 13.00 – 14.00 น. 14.00 – 14.13 น. 14.13 – 13.30 น. 13.30 – 16.30 น. ลงทะเบียน รายงานตัว เตรียมความพร้อมพิธีเปิด พิธีเปิด กล่าวรายงาน ประธานให้โอวาทและกล่าวเปิดงาน รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องที่ 1 กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องที่ 2 รับประทานอาหารกลางวัน กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องที่ 3 รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องที่ 4 มอบวุฒิบัตร/พิธีปิด - คณะครู สกร.อ าเภอเรณูนคร - คณะครู สกร.อ าเภอเรณูนคร -ตัวแทนคณะครู - ผอ. สกร.อเภอเรณูนคร - วิทยากร - วิทยากร - วิทยากร - วิทยากร - คณะครู สกร.อ าเภอเรณูนคร - ผอ. สกร.อเภอเรณูนคร


20 3. ขั้นตอนการร่วมกันประเมิน ( Check ) 3.1 ด าเนินการประเมินผลการจัดกิจกรรมตามโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา โดยใช้แบบ บันทึกกิจกรรม และแบบสอบถามความคิดเห็น 3.2 ข้อมูลที่เป็นมาตราส่วนประมาณค่า ( Rating Scale ) ใช้วิธีแจกแจงความถี่ หาค่าเฉลี่ย (X) และค่าร้อยละ ทั้งในรายข้อและภาพรวมเทียบกับเกณฑ์ ดังนี้ 4.51-5.00 หมายถึงมีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด 3.51-4.50 หมายถึงมีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับมาก 2.51-3.50 หมายถึงมีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง 1.51-2.50 หมายถึงมีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย 1.00-1.50 หมายถึงมีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยที่สุด 3.3 ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากแบบบันทึกกิจกรรม ใช้วิธี วิเคราะห์เนื้อเรื่อง ( Content Analysis ) 3.4 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ค่าเฉลี่ย (Arithmetic: X ) 2. ค่าร้อยละ 3.5 รายงานผลการด าเนินงานต่อผู้บริหารและบุคลากร ขั้นตอนการร่วมปรับปรุง ( Act) เมื่อคณะกรรมการฝุายประเมินผล สรุปผลการด าเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และ ข้อเสนอแนะกลุ่มงานผู้รับผิดชอบจึงได้น าสารสนเทศที่ได้มาปรับปรุง พัฒนาการงานให้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น


21 บทที่ 4 ผลการด าเนินการและวิเคราะห์ข้อมูล ผลการจัดกิจกรรมตามโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ประจ าปี การศึกษา 2566 สามารถสรุปตามขั้นตอนในการด าเนินงาน ดังนี้ ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan) ขั้นตอนนี้เป็นการวางแผนการด าเนินการโดยมีขั้นตอน พบว่า การประชุม ปรึกษาร่วมกันระหว่างหัวหน้างาน/หัวหน้ากลุ่มงาน แล้วขยายผลสู่คณะครูทุกคนได้รับความ ร่วมมือและสนับสนุนการท าโครงการเป็นอย่างดี และน าเสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณาเห็นชอบ โครงการได้รับการอนุมัติโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ผู้รับผิดชอบโครงการจึงได้ ด าเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมแต่ละงานแต่กิจกรรมตาม ความเหมาะสม แล้วสร้างความเข้าใจกับกลุ่มเปูาหมาย เพื่อก าหนดแนวทางในการด าเนินการ ติดต่อประสานงานเตรียมความพร้อม ทั้งด้านสถานที่ และก าหนดระยะเวลาในการด าเนินการ และวิธีประเมินผล ตามล าดับ ขั้นตอนการร่วมกันปฏิบัติ ( Do) การปฏิบัติงานตามแผนงานที่วางไว้โดยมีขั้นตอนในการด าเนินงาน คือ การบันทึก เสนอผู้บริหารเพื่อขออนุญาตด าเนินการ พบว่า ได้รับการอนุญาตและให้ด าเนินการ และผลการ ด าเนินการตามโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ในระหว่างภาคเรียนที่ 2 ประจ าปีการศึกษา 2565 โดยมีกลุ่มเปูาหมายเป็นประชาชนในพื้นที่อ าเภอเรณูนคร บุคลากรภายในศูนย์การศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอ เรณูนคร ทุกคน พบว่า กิจกรรมโครงการจิต อาสาพัฒนาสถานศึกษา กลุ่มเปูาหมายให้ความร่วมมือในการด าเนินกิจกรรมด้วยดี ผู้เข้าร่วม กิจกรรมให้ความสนใจมากที่สุด ขั้นตอนการ่วมกันประเมิน ( Check ) การประเมินผลการจัดกิจกรรมตามโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา โดยใช้ แบบสอบถามความคิดเห็น วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย(X) และค่าร้อยละจากแบบสอบถาม โดยแปล ความหมายดังต่อไปนี้ 4.51 - 5.00 หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ มากที่สุด 3.51 – 4.50 หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ มาก 2.51 - 3.50 หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ ปานกลาง 1.51 - 2.50 หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ พอใช้ 1.00 - 1.50 หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ ปรับปรุง วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมิน ได้ผลการประเมิน ดังนี้ ข้อที่ รายการ (X) ร้อยละ ระดับความคิดเห็น 1 การเตรียมความพร้อม 4.75 95 มากที่สุด 2 ความเหมาะสมของสถานที่ 4.50 90 มากที่สุด 3 ความเหมาะของระยะเวลา 4.25 95 มากที่สุด 4 ความรู้ที่ได้จากกิจกรรม 4.75 95 มากที่สุด


22 ข้อที่ รายการ (X) ร้อยละ ระดับความคิดเห็น 5 วิยากรมีความรู้เหมาะสมกับเนื้อหา 4.50 90 มากที่สุด 6 การมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม 4.75 85 มากที่สุด 7 การน าความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 5.00 100 มากที่สุด 8 ความประทับใจในการจัดกิจกรรม 4.75 95 มากที่สุด 9 ความสนุกสนานที่ได้จากการจัดกิจกรรม 4.50 90 มากที่สุด 10 ต้องการให้จัดกิจกรรมเช่นนี้อีก 4.75 95 มากที่สุด เฉลี่ย 4.60 92 จากตาราง พบว่า ค่าเฉลี่ยของผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจโดยเรียงล าดับ ความพอใจจากมากที่สุด ไปน้อยที่สุด ดังนี้ ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจมากที่สุดคือ 5.00 รองลงมา 4.75 น้อยที่สุด 4.25 ตามล าดับ ขั้นตอนการร่วมปรับปรุง ( Act) เมื่อคณะกรรมการฝุายประเมินผลแล้วจึงได้จัดท าสรุปผลการด าเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะกลุ่มงานผู้รับผิดชอบและได้น าสารสนเทศที่ได้น าเสนอต่อผู้บริหารและ เผยแพร่ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบและน าผลการด าเนินงานมากปรับปรุงพัฒนาการงานให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น


23 บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ ผลการจัดกิจกรรม ตามโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ได้ผลสรุปดังนี้ 1. วัตถุประสงค์ 2. เปูาหมาย 3. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. สรุปผลการด าเนินการ 6. ข้อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ 1. พื่อปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์และสถาบันส าคัญของชาติ 2. เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้มีจิตอาสาในการพัฒนาชุมชน เกิดความสามัคคี 3. เพื่อพัฒนา สกร.อ าเภอ กศน.ต าบลและชุมชนให้สะอาด สวยงาม และน าอยู่อาศัย แล แหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมในชุมชน เป้าหมายของโครงการ เชิงปริมาณ - นักศึกษา กศน.อ าเภอเรณูนคร จ านวน 200 คน เชิงคุณภาพ - กลุ่มเปูาหมายมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักในอันตรายที่จะเกิดขึ้นในชีวิตประจ าวัน รู้วิธีปูองกัน และสามารถแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากภัยอันตรายในชีวิตและทรัพย์สินได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมสามารถน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิประจ าวันได้อย่างมี ความสุข เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในครั้งนี้ 1. การสังเกต 2. แบบทดสอบก่อนร่วมโครงการ / หลังร่วมโครงการ 3. แบบสอบถาม การเก็บรวบรวมข้อมูล มีขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้ 1. ผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรมแจกแบบสอบถามความคิดเห็นให้กลุ่มเปูาหมาย คณะครู ผู้มีส่วนเกี่ยวของแต่ละกิจกรรมประเมินผลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามโครงการจิตอาสาพัฒนา สถานศึกษา 2. ผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรมประเมินจากแบบบันทึกกิจกรรม 3. ผู้รับผิดชอบแต่ละกิจกรรมรายงานผลการจัดกิจกรรม


24 สรุปผลการด าเนินการ ผลการด าเนินงานโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา เรื่องจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2566 นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักในอันตรายที่จะเกิดขึ้นใน ชีวิตประจ าวัน รู้วิธีปูองกัน และสามารถแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากภัยอันตรายในชีวิตและ ทรัพย์สินได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมสามารถน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิ ประจ าวันได้อย่างมีความสุข ปัญหา / อุปสรรค/ข้อเสนอแนะ 1. อยากให้มีจัดอบรมให้ความรู้ ปีละ 1 ครั้ง 2. อยากให้จัดอบรมในพื้นที่ต าบลทุกต าบลในเขตอ าเภอเรณูนคร


25 ความคิดเห็นของฝ่ายบริหาร ความเห็นผอ. สกร.อ าเภอเรณูนคร .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................... ................... .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ......................................................... (นางอักษร ค าถา) ความเห็นรอง ผอ.ส านักงาน สกร.จังหวัด ............................................................................................................................................................................. . ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................ .............. ................................................................................................................................................................... ........... ลงชื่อ.................................................... (นางสาวจรูญรัตน์ บุตรพรม) ความเห็นผู้อ านวยส านักงาน สกร. จังหวัดนครพนม .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................................................... ..... .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ............................................................... (นายปิยวิทย์ เชิดกลิ่น) ………......../......................../....................


26 บรรณานุกรม สมหวัง พิธิยานุวัฒน์ . (2535). วิธีทางการประเมินทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ไพศาล หวังพานิช. การจัดการผลการศึกษา. กรุงเทพฯ : กรมอาชีวศึกษา, 2523. สุวิมล ติรกานันท์. (2543). การประเมินโครงการ:แนวทางสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามค าแหง. ประชุม รอดประเสริฐ. 2539. นโยบายและการวางแผน: หลักการและทฤษฎี. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : เนติกุลการพิมพ์. พรชัย เจดามาน เผชิญ กิจระการ กลวัชร วังสะอาด และเบญจภัคร จงหมื่นไวย์: การพัฒนาการบริหาร จัดการศึกษา 4.0 ภายใต้พลวัตแห่งศตวรรษที่ 21 สู่การเป็นประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียนอย่างยั่งยืน ของการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานไทย


27 ภาคผนวก


ภาพกิจกรรม โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2566 วันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม


สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ ของนักศึกษาต่อการจัดกิจกรรมตามโครงการ/กิจกรรม โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2566 วันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร ข้อ ข้อความ ร้อยละระดับความคิดเห็น เฉลี่ย 5 4 3 2 1 รายข้อ 1 การเตรียมความพร้อม 145 45 10 0 0 95.00 2 ความเหมาะสมของสถานที่ 166 14 10 0 0 90.00 3 ความเหมาะของระยะเวลา 150 40 0 0 0 95.00 4 ความรู้ที่ได้จากกิจกรรม 151 39 0 0 0 95.00 5 วิยากรมีความรู้เหมาะสมกับเนื้อหา 166 14 0 0 0 90.00 6 การมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม 160 10 0 0 0 85.00 7 การน าความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ าวัน 120 80 0 0 0 100.00 8 ความประทับใจในการจัดกิจกรรม 150 40 0 0 0 95.00 9 ความสนุกสนานที่ได้จากการจัดกิจกรรม 167 13 0 0 0 90.00 10 ต้องการให้จัดกิจกรรมเช่นนี้อีก 150 40 0 0 0 95.00 ค่าเฉลี่ย 4.60 ร้อยละ 92.00 สรุป ผลการประเมินความพึงพอใจของโครงการมีค่าเฉลี่ย 4.60 คิดเป็นร้อยละ 92 อยู่ในระดับคุณภาพ มากที่สุด เกณฑ์การพิจารณาความคิดเห็น 4.51 - 5.00 หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ มากที่สุด 3.51 – 4.50 หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ มาก 2.51 - 3.50 หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ ปานกลาง 1.51 - 2.50 หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ พอใช้ 1.00 - 1.50 หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ ปรับปรุง


ค าสั่งศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร ที่ 38/2566 เรื่อง โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ประจ าปีงบประมาณ 2566 ................................................................................................................. ............................................. เพื่อให้การด าเนินงานโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ประจ าปีงบประมาณ 2566 ด าเนินการในวันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ สกร.อ าเภอเรณูนคร ของศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและมี ประสิทธิภาพ อาศัยอ านาจค าสั่งส านักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ที่ 88/2566 ลงวันที่ 13 มิถุนายน 2566 เรื่องมอบอ านาจให้ผู้อ านวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอ และผู้อ านวยการศูนย์ส่งเสริมการ เรียนรู้อเขต ปฏิบัติราชการแทน จึงแต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงาน ดังนี้ 1. คณะกรรมการอ านวยการ 1.1 นางอักษร ค าถา ผู้อ านวยการ สกร.อ าเภอเรณูนคร ประธานกรรมการ 1.2 นางสาวรัศมี มาแพง ครู คศ.2 กรรมการ 1.3 นายสงกรานต์ เวฬุวนารักษ์ ครูผู้ช่วย กรรมการ 1.4 นางวรารัตน์ บัวชุม ครูอาสาสมัครฯ ต.เรณูใต้/ท่าลาด กรรมการ 1.5 นางธนพร ปราบมีชัย ครูอาสาสมัครฯ ต.นางาม กรรมการ 1.6 นางณัฐชานันท์ พัชรยอดมงคล ครูอาสาสมัครฯ ต.เรณู/ต.หนองย่างชิ้น กรรมการ 1.7 นางณิชกมล โกพลรัตน์ ครูอาสาสมัครฯ ต.โคกหินแฮ่ กรรมการ 1.8 นางสาวนิดหน่อย ศรียะวงษ์ ครูอาสาสมัครฯ ต.โพนทอง/ต.นาขาม กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ อ านวยความสะดวกให้ค าปรึกษาแนะน าตลอดจนแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นในระหว่าง การจัดงานให้ส าเร็จลุล่วงด้วยดี 2. คณะกรรมการฝ่ายจัดเตรียมสถานที่ 2.1 นายสุขทวี เตโช ครู สกร.ต าบลโพนทอง ประธานกรรมการ 2.2 นายแซน บัวบาน ครู สกร.ต าบลนาขาม กรรมการ 2.3 นายสุภกาญจน์ โกพลรัตน์ ครู สกร.ต าบลนาขาม กรรมการ 2.4 นายพนมเทียน ภูมิลา ครู สกร.ต าบลนางาม กรรมการ 2.5 นายกิตติ์ สุดอนันต์ ครู สกร.ต าบลนางาม กรรมการ 2.6 นายพิเศษ ถานัน ครู สกร.ต าบลโคกหินแฮ่ กรรมการ 2.7 นายพงศ์พันธ์ แขวงเมือง ครู สกร.ต าบลหนองย่างชิ้น กรรมการ 2.8 นางผ่องใส ไชยภักดี ครู สกร.ต าบลเรณูใต้ กรรมการ 2.9 นางสาวอุบลวรรณ พระสังคร ครู สกร.ต าบลท่าลาด กรรมการ 2.10 นายสุรชัย มณีรัตน์ ครู สกร.ต าบลท่าลาด กรรมการ 2.11 นางอภิสรา ศรีมุล ครู สกร.ต าบลเรณู กรรมการ 2.12 นายสามารถ บางศิริ ครู สกร.ต าบลหนองย่างชิ้น กรรมการและเลขานุการ


มีหน้าที่ ท าความสะอาดดูแลสถานที่จัดอบรม โต๊ะหมู่บูชา ห้องน้ า จัดเตรียม โต๊ะ เก้าอี้ แสตน ผ้าปูโต๊ะ แจกันดอกไม้ตกแต่ง จัดโต๊ะหมู่บูชา เตรียมไม้ขีดจุด ติดปูายโครงการ ก่อนวันจัดโครงการ และท า ความสะอาด เก็บสถานที่หลังเสร็จสิ้นโครงการฯ 3. คณะกรรมการพิธีกร/พิธีการ 3.1 นายพิเศษ ถานัน ครู สกร.ต าบลโคกหินแฮ่ ประธานกรรมการ 3.2 นายพนมเทียน ภูมิลา ครู สกร.ต าบลนางาม กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ ประชาสัมพันธ์การด าเนินงานให้เป็นไปตามขั้นตอนตามก าหนดการที่ก าหนดไว้ และ ติดตามรายชื่อเพื่อแนะน าแขกผู้มีเกียรติ วิทยากร ที่เข้าร่วมในพิธีเปิด และขั้นตอนการมอบวุฒิบัตร 4. คณะกรรมการฝ่ายเครื่องเสียง บันทึกภาพ และเทคนิค 4.1 นายธีรภัทร ยศสุรีย์ ครู สกร.ต าบลเรณู ประธานกรรมการ 4.2 นายพงษ์พันธ์ แขวงเมือง ครู สกร.ต าบลหนองย่างชิ้น กรรมการ 4.3 นายสุรชัย มณีรัตน์ ครู สกร.ต าบลท่าลาด กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ จัดเตรียมเครื่องเสียง เครื่องฉายโปรเจ็คเตอร์และจอโปรเจ็คเตอร์ ไมโครโฟน เพื่อใช้ใน ระหว่างจัดกิจกรรม และบันทึกภาพเพื่อรายงาน ประชาสัมพันธ์การจัดโครงการฯ เมื่อเสร็จสิ้นโครงการดูแล จัดเก็บเครื่องเสียง เครื่องฉายโปรเจ็คเตอร์และจอโปรเจ็คเตอร์ ไมโครโฟน อุปกรณ์ถ่ายภาพ ให้เรียบร้อย เพื่อใช้งานได้ในครั้งต่อไป 5. คณะกรรมการฝ่ายรับลงทะเบียน 5.1 นางธนพร ปราบมีชัย ครูอาสาสมัครฯ ต.นางาม/ต.ท่าลาด ประธานกรรมการ 5.2 นางณิชกมล โกพลรัตน์ ครูอาสาสมัครฯ ต.โคกหินแฮ่ กรรมการ 5.2 นางวรารัตน์ บัวชุม ครูอาสาสมัครฯ โคกหินแฮ่/ต าบลเรณูใต้ กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ รับลงทะเบียนนักศึกษา ตรวจสอบรายชื่อให้ถูกต้องและมอบให้ฝุายจัดพิมพ์เกียรติบัตร 6. คณะกรรมฝ่ายประชาสัมพันธ์และจัดกิจกรรม - ครู สกร.ประจ าต าบลทุกคน มีหน้าที่ เตรียมและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่ได้รับมอบหมาย โดยให้ ผู้เข้ารับการอบรมได้รับความรู้ ประสบการณ์ โดย ครู สกร.ต าบลทุกคนต้องมีบทบาทในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ 7. คณะกรรมการฝ่ายจัดพิมพ์เกียรติบัตร 7.1 นางสาวนิดหน่อย ศรียะวงษ์ ครูอาสาสมัครฯต.โพนทอง/นาขาม ประธานกรรมการ 7.2 นางสาววรินทร สังข์ลาย ครู ผู้สอนคนพิการ กรรมการ 7.3 นางณิชกมล โกพลรัตน์ ครูอาสาสมัครฯ ต.โคกหินแฮ่ กรรมการและเลขานุการ มีหน้า จัดเตรียมคอมพิวเตอร์ โน๊ตบุ๊ค พิมพ์เกียรติบัตร ผู้เข้าร่วมอบรม วิทยากร ผู้จัดท าโครงการ ให้ทันตามก าหนดเวลา 8. คณะกรรมการฝ่ายอาหาร อาหารว่างและเครื่องดื่ม 8.1 นางสาวนิดหน่อย ศรียะวงษ์ ครูอาสาสมัครฯต.โพนทอง/นาขาม ประธานกรรมการ 8.2 นางวรารัตน์ บัวชุม ครูอาสาสมัครฯ ต.เรณูใต้/ท่าลาด กรรมการ 8.3 นางธนพร ปราบมีชัย ครูอาสาสมัครฯ ต.นางาม กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ จัดเตรียมผ้าปูโต๊ะ แจกันดอกไม้ตกแต่ง กระติกน้ าร้อน อาหาร อาหารว่างและน้ าดื่ม ไว้บริการให้เพียงพอ


9. คณะกรรมการฝ่ายปฏิคม 9.1 นางสาวอุบลวรรณ พระสังคร ครู สกร.ต าบลท่าลาด ประธานกรรมการ 9.2 นางอัญชณา สิงห์คะ บรรณารักษ์ กรรมการ 9.3 นางอภิสรา ศรีมุล ครูสกร.ต าบลเรณู กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ ๑. จัดเตรียมภาชนะ วัสดุ อุปกรณ์ ที่ใส่อาหารว่างและเครื่องดื่ม ส าหรับแขกผู้มีเกียรติ ๒. จัดเตรียม อาหารว่าง และอาหาร ส าหรับวิทยากร ผู้เข้ารับการอบรมและแขกในพิธีเปิด ๓. ต้อนรับแขกผู้มีเกียรติ และอ านวยความสะดวกน าแขกผู้มีเกียรติไปนั่ง ณ จุดที่เตรียมไว้ 10. คณะกรรมการฝ่ายการเงิน/พัสดุ 10.1 นางสาวรัศมี มาแพง ครู คศ.2 ประธานกรรมการ 10.2 นางณัฐชานันท์ พัชรยอดมงคล ครู อาสาสมัครฯ ต.เรณู/ต.หนองย่างชิ้น กรรมการ 10.3 นางวรารัตน์ บัวชุม ครูอาสาสมัครฯ ต.เรณูใต้/ต,ท่าลาด กรรมการ 10.4 นางธนพร ปราบมีชัย ครูอาสาสมัครฯ ต.นางาม กรรมการ 10.5 นางสาวนิดหน่อย ศรียะวงษ์ ครูอาสาสมัครฯ ต.โพนทอง/ต.นาขาม กรรมการและเลขานุการ มีหน้าที่ ๑. จัดหา สมุดบันทึก ปากกา กระดาษพิมพ์ประกาศนียบัตร ๒. จัดเตรียมสั่งท าปูายโครงการ ดอกไม้ตกแต่งสถานที่ ๓. เบิกจ่ายเงินตามโครงการให้ถูกต้องและเป็นไปตามระเบียบของทางราชการ 11. คณะกรรมการนิเทศ ติดตามผล 11.2 นางสาวรัศมี มาแพง ครู คศ.2 กรรมการ 11.3 นายสงกรานต์ เวฬุวนารักษ์ ครูผู้ช่วย กรรมการ 11.4 นางวรารัตน์ บัวชุม ครูอาสาสมัครฯ ต.เรณูใต้/ท่าลาด กรรมการ 11.5 นางธนพร ปราบมีชัย ครูอาสาสมัครฯ ต.นางาม กรรมการ 11.6 นางณัฐชานันท์ พัชรยอดมงคล ครูอาสาสมัครฯ ต.เรณู/ต.หนองย่างชิ้น กรรมการ 11.7 นางณิชกมล โกพลรัตน์ ครูอาสาสมัครฯ ต.โคกหินแฮ่ กรรมการ 11.8 นางสาวนิดหน่อย ศรียะวงษ์ ครูอาสาสมัครฯ ต.โพนทอง/ต.นาขาม กรรมการและ เลขานุการ หน้าที่ นิเทศ/ติดตาม ผลการด าเนินงานโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา และรายงานผลการ นิเทศ/ติดตาม ต่อผู้อ านวยการ สกร.อ าเภอเรณูนคร 12. คณะกรรมการฝ่ายจัดเตรียมเอกสาร 12.1 นางธนพร ปราบมีชัย ครูอาสาสมัครฯ ต.นางาม ประธานกรรมการ 12.2 นางวรารัตน์ บัวชุม ครูอาสาสมัครฯ ต.เรณูใต้ /ต.ท่าลาด กรรมการ 12.3 นางสาวนิดหน่อย ศรียะวงษ์ ครูอาสาสมัครฯ ต.โพนทอง/ต.นาขาม กรรมการและ เลขานุการ


มีหน้าที่ จัดเตรียมค ากล่าวเปิด-ค ากล่าวปิด โครงการฯ และใบลงเวลานักศึกษาเข้าร่วมโครงการ ให้คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ด าเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการจัดโครงการ อบรมและมิให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการ ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 10 สิงหาคม 2566 สั่ง ณ วันที่ 10 สิงหาคม 2566 (นางอักษร ค าถา) ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเรณูนคร ปฏิบัติหน้าที่ ผู้อ านวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร


ที่ ศธ ๐๗๐๔๙.๑๐/158 ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้ อ าเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม 48170 3 สิงหาคม 2566 เรื่อง ขอเชิญเป็นวิทยากร เรียน ผู้อ านวยการ นายธนู แดงวิเศษ (วิทยากร จิตอาสา 904) สิ่งที่ส่งมาด้วย ก าหนดการจัดกิจกรรมฯ จ านวน 1 ฉบับ ด้วย ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร จะจัดโครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2566 ในวันที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 09.00 น. - 16.30 น. ณ ห้องประชุม สกร.อ าเภอเรณูนคร ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร จึงขอเรียนเชิญท่านเป็นวิทยากรให้ความรู้ ในวันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ สกร.อ าเภอเรณูนคร หวังอย ่างยิ ่งว ่าคงได้รับความอนุเคราะห์จากท ่าน เช่นเคย และขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้ จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา ขอแสดงความนับถือ (นางอักษร ค าถา) ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเรณูนคร ปฏิบัติหน้าที่ ผู้อ านวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร งานแผนงาน/โครงการ โทร 042-579-312 โทรสาร 042-579-312


กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ภาคเรียนที่ 1/2566 ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร ................................................ 1. ชื่อโครงการ : โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา 2. ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการด าเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ข้อ 2 การยกระดับคุณภาพการศึกษา 2.3 ส่งเริมการจัดการศึกษา เพื่อเสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม เริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ อุดมการณ์ความยืดมั่นในสถาบันหลักของชาติการเรียนรู้ประวัติศาสตว์ชาติและท้องถิ่น เสริมสร้างวิถี ชีวิตของความเป็นพลเมืองและมีศีลธรรมที่เข้มแข็ง รวมถึงการมีจิตอาสาโดยผ่านกิจกรรมต่างๆ 3. หลักการและเหตุผล ส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร. ในฐานะเป็นหน่วยงานที่ท าหน้าที่จัดการศึกษา ตลอดชีวิตการศึกษาเพื่อการพัฒนาตนเอง และการศึกษาเพื่อคุณวุฒิดามระดับ ให้กับนักศึกษาและ ประชาชนทั่วไปเข้าถึงการศึกษาทุกรูปแบบเพื่อลดความเหลื่อมล้ าทางด้านการศึกษา ในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 นโยบายและจุดเนัน ส านักงานส่งเสริมการเรียนรู้ ข้อ 2.3 ส่งเสริมการจัดการศึกษาเพื่อ เสริมสร้างความมั่นคง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรม สร้างวินัยสาธารณะ อุดมการณ์ความดมั่นในสถาบันหลักของชาติ การเรียนรู้ ประวัติศาสตร์ของชาติแริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองและมีศีลธรรมที่เข้มแข็ง รวมถึงการมีจิต อาสา โดยผ่านกิที่เป็นการเพิ่มทักษะที่จ าเป็นต่อการด ารงชีวิต เช่น ทักษะความคิดสร้างสรรค์ การคิด วิเคราะห์ การตัดสินใจการสื่อสารระหว่างบุคคลการเตรียมพร้อมรับความเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสมกับวัย ของผู้เรียน ควบเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น กอรปกับสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นเสาหลักให้กับ ซาติบ้านเมืองมาตั้งแต่สมัยโบราณ จวบจนรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีตรีสินท รมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระมหากษัตริย์จึงเป็น สัญลักษณ์ของการด ารงอยู่ของชาติไทย มายาวนานกว่า 700 ปี และเป็นสถาบันทางสังคมที่เข้มแข็งยืน ยง ท้าให้ประเทศไทยสามารถรักษาความเป็นไท ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ตราบจนปัจจุบัน ธ ทรง เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวไทย และด ารงอยู่ภายใต้ทศพิธราชธรรม ทรงเป็นผู้น าการพัฒนาประเทศใน ทุกด้าน อันได้แก่ การปกครองประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงน้อมน้าพระราชด าริของในหลวง รัชกาลที่ 9เรื่อง เศรษฐกิจ พอเพียง มาเผยแพรให้ประชาชนได้เรียนรู้และน้าไปปรับใช้ ท้าให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาไปสู่ ความ "มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน" จนก่อให้เกิดเป็นพลังที่ส าคัญยิ่งในการผลักดันให้ประเทศไทยยืนหยัดอยู่ใน สังคมแห่งอารยประเทศได้อย่างสง่างาม ประชาชนสามารถน าความรู้ ที่ได้ไปเป็นแนวทางในการ ปฏิบัติงาน ตลอดจนใช้ชีวิตอยู่บนพื้นฐานของความเป็นไทยและพอเพียง มีความรักความศรัทธาใน สถาบันพระมหากษัตริย์ มีจิตใจที่ตั้งมั่นอยู่ในการช่วยเหลือผู้อื่น เป็นที่พึ่งของสังคม ส่งผลให้ ประเทศชาติเกิดสันติสุขอย่างแท้จริง ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร จึงได้จัดท าโครงการจิต อาสาพัฒนาสถานศึกษา ปีงบประมาณ 2566 ขึ้น


4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์และสถาบันส าคัญของชาติ 4.2 เพื่อให้ผู้เรียนเป็นผู้มีจิตอาสาในการพัฒนาชุมชน เกิดความสามัคคี 4.3 เพื่อพัฒนา สกร.อ าเภอ กศน.ต าบลและชุมชนให้สะอาด สวยงาม น่าอยู่อาศัย และเป็น แหล่งเรียนรู้ที่เหมาะสมในชุมชน 5. เป้าหมายของโครงการ เชิงปริมาณ - นักศึกษา กศน.อ าเภอเรณูนคร จ านวน 200 คน เชิงคุณภาพ - กลุ่มเปูาหมายมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักในอันตรายที่จะเกิดขึ้นใน ชีวิตประจ าวัน รู้วิธีปูองกัน และสามารถแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากภัยอันตรายในชีวิตและทรัพย์สินได้อย่าง ถูกต้องและเหมาะสมสามารถน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิประจ าวันได้ อย่างมีความสุข 6. สถานที่ด าเนินงาน สกร.อ าเภอเรณูนคร อ าเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม 7. วิธีด าเนินการ กิจกรรมหลัก วัตถุประสงค์ เป้าหมาย พื้นที่ด าเนินการ ระยะเวลา งบประมาณ 1.ศึกษา ส ารวจความ ต้องการของ กลุ่มเปูาหมายประชาชน ในพื้นที่อ าเภอเรณูนคร เพื่อเก็บรวมรวมข้อมูล ความต้องการน าไปสู่ กระบวนการจัด กิจกรรม/โครงการ -ครู สกร. ต าบล -ครูอาสาสมัครฯ -ประชาชนที่เข้าร่วม โครงการ กศน.ต าบล 8 ต าบล 7 - 8 สิงหาคม 2566 2.ประชุมชี้แจงท าความ เข้าใจกับกลุ่มเปูาหมาย นักศึกษาที่เข้าร่วม โครงการ เพื่อท าความเข้าใจ ชี้แจงวัตถุประสงค์ใน การจัดกิจกรรม/ โครงการ นักศึกษาที่เข้าร่วม โครงการ กศน.ต าบล 8 ต าบล 10 สิงหาคม 2566 3.การจัดกิจกรรม โครงการจิตอาสาพัฒนา สถานศึกษา 3.1 เพื่อปกปูองและ เชิดชูสถาบัพระมหา กษัตริย์และสถาบัน ส าคัญของชาติ 3.2 เพื่อให้ผู้เรียนเป็น ผู้มีจิตอาสาในการ พัฒนาชุมชน เกิดความ สามัคคี นักศึกษา กศน.อ าเภอ เรณูนคร จ านวน 200 คน สกร. อ าเภอเรณูนคร 11 สิงหาคม 2566 24,000.-


3.3 เพื่อพัฒนา สกร. อ าเภอ กศน.ต าบลและ ชุมชนให้สะอาด สวยงาม น่าอยู่อาศัย และเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ เหมาะสมในชุมชน 4.กิจกรรมการนิเทศ - เพื่อติดตามผลการ ด าเนินโครงการ -พัฒนาคุณภาพการ ด าเนินงานการจัด กิจกรรมตาม โครงการ สกร. อ าเภอเรณูนคร 12 สิงหาคม 2566 5.ประเมินโครงการ - เพื่อประเมิน ผลสัมฤทธิ์ของ โครงการ -มีการน าผลการ ประเมินไปปรับปรุง พัฒนา สกร. อ าเภอเรณูนคร 13 สิงหาคม 2566 6.สรุปผลโครงการ - เพื่อสรุปผลการ ด าเนินโครงการ สรุปผลการ ด าเนินงานไว้เป็น หลักฐานร่องรอยการ จัดกิจกรรม สกร. อ าเภอเรณูนคร 14-15 สิงหาคม 2566 8. ระยะเวลาด าเนินการ วันที่ 11 สิงหาคม 2566 9. ผู้รับผิดชอบโครงการ 9.1 ครู สกร.ต าบล 9.2 ครูอาสาสมัครฯ 9.3 คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา สกร.อ าเภอเรณูนคร 10. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ กิจกรรมหลัก ไตรมาส 1 ( ต.ค.-ธ.ค.65) ไตรมาส 2 ( ส.ค. -มี.ค.66) ไตรมาส 3 ( เม.ย.- มิ.ย.66) ไตรมาส 4 ( ก.ค.-ก.ย.66) โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา 24,000.- 11. งบประมาณ เบิกจ่ายจาก แผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการ สนับสนุนค่ใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาชั้นพื้นฐานกิจกรรมจัด การศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน เงินอุดหนุนทั่วไป ค่ากิจกรรมพัฒนา คุณภาพเรียน รหัสงบประมาณ 20002420016004100111 เป็นเงินจ านวน 24,000.-บาท (- สองหมื่นสี่พันบาทถ้วน-) ตามรายละเอียด ดังนี้


- ค่าอาหาร 1 มื้อ x มื้อละ 70- บาท x จ านวน 200 คน เป็นเงิน 14,000.- บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ x มื้อละ 25.- บาท x จ านวน 200 คน เป็นเงิน 10,000.- บาท รวมค่าใช้จ่ายทั้งสิ้น 24,000.- บาท หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายแต่ละรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้ตามความเหมาะสม 12. ดัชนีชี้วัดผลส าเร็จของโครงการ ตัวชี้วัดผลผลิต 12.1 มีผู้เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100 12.2 ผู้รับบริการ ร้อยละ 92.00 มีความพึงพอใจต่อในการรับบริการ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ - กลุ่มเปูาหมายมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักในอันตรายที่จะเกิดขึ้นในชีวิตประจ าวัน รู้วิธีปูองกัน และสามารถแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากภัยอันตรายในชีวิตและทรัพย์สินได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมสามารถน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิประจ าวันได้อย่างมี ความสุข ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 100.00 มีความพึงพอใจในระดับดีขึ้นไป 13. การติดตามและประเมินผล 13.1 แบบสังเกตการมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรม 13.2 แบบประเมินความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรม 13.3 แบบติดตามการน าความรู้ไปใช้ 14. ผลที่คาดว่าจะได้รับ - กลุ่มเปูาหมายมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักในอันตรายที่จะเกิดขึ้นในชีวิตประจ าวัน รู้วิธีปูองกัน และสามารถแก้ไขปัญหาที่จะเกิดขึ้นจากภัยอันตรายในชีวิตและทรัพย์สินได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมสามารถน าความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในชีวิประจ าวันได้อย่างมี ความสุข (ลงชื่อ)....................................................ผู้เสนอโครงการ (นายสุภกาญจน์ โกพลรัตน์) ต าแหน่ง ครูกศน.ต าบลนาขาม (ลงชื่อ)....................................................ผู้เห็นชอบโครงการ (นายสงกรานต์ เวฬุวนารักษ์) ต าแหน่ง ครู (ลงชื่อ)....................................................ผู้อนุมัติโครงการ (นางอักษร ค าถา) ผู้อ านวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอเรณูนคร ปฏิบัติหน้าที่ ผู้อ านวยการศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร


ก าหนดการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ภาคเรียนที่ 1/2566 โครงการจิตอาสาพัฒนาสถานศึกษา วันที่ 11 สิงหาคม 2566 ณ ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อ าเภอเรณูนคร ……………………………………………………………………………………… วันศุกร์ที่ 11 สิงหาคม 2566 เวลา 08.00-09.00 น. ลงทะเบียน รายงานตัว เวลา 09.00-09.30 น. เตรียมความพร้อมพิธีเปิด เวลา 09.30-10.00 น. พิธีเปิด - ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย - ผู้แทนคณะกรรมการโครงการฯกล่าวรายงาน - ประธานให้โอวาทและกล่าวเปิดงาน เวลา 10.00-10.13 น. รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 10.13-11.00 น. กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องที่ 1 ความหมายและความส าคัญของ จิตอาสา เวลา 11.00-12.00 น. กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องที่ 2 จิตอาสาในการพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคม เพื่อความสามัคคี เวลา 12.00-13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน เวลา 13.00 – 14.00 น. กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องที่ 3 การปกปูองและเชิดชูสถาบัน พระมหากษัตริย์และสถาบันส าคัญของชาติ เวลา 14.00 – 14.13 น. รับประทานอาหารว่างและเครื่องดื่ม เวลา 14.13 – 13.30 น. กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องที่ 4 จิตอาสาเพื่อพัฒนา สกร.อ าเภอ กศน. ต าบลและชุมชนให้สะอาด สวยงาม น่าอยู่อาศัย และเป็นแหล่เรียนรู้ ที่เหมาะสมในชุมชน เวลา 13.30 – 16.30 น. มอบวุฒิบัตร/พิธีปิด หมายเหตุ : ก าหนดการนี้อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม


คณะผู้จัดท า ที่ปรึกษา นางอักษร ค าถา ผู้อ านวยการ สกร.อ าเภอเรณูนคร นางสาวรัศมี มาแพง ครู คศ.2 นายสงกรานต์ เวฬุวนารักษ์ ครูผู้ช่วย คณะท างาน นางสาวนิดหน่อย ศรียะวงษ์ ครูอาสาสมัครฯ ต าบลโพนทอง/ต าบลนาขาม นางวรารัตน์ บัวชุม ครูอาสาสมัครฯ ต าบลเรณูใต้/ต าบลท่าลาด นางธนพร ปราบมีชัย ครูอาสาสมัครฯ ต าบลนางาม นางณัฐชานันท์ พัชรยอดมงคล ครูอาสาสมัครฯ ต าบลเรณู/ต าบลหนองย่างชิ้น นางณิชกมล โกพลรัตน์ ครูอาสาสมัครฯ ต าบลโคกหินแฮ่ นางผ่องใส ไชยภักดี ครู สกร.ต าบลเรณูใต้ นายสุขทวี เตโช ครู สกร.ต าบลโพนทอง นายแซน บัวบาน ครู สกร.ต าบลนาขาม นายสุภกาญจน์ โกพลรัตน์ ครู สกร.ต าบลนาขาม นางอภิสรา ศรีมุล ครู สกร.ต าบลเรณู นายกิตติ์ สุดอนันต์ ครูสกร.ต าบลนางาม นายธีรภัทร ยศสุรีย์ ครู สกร.ต าบลเรณู นางสาวอุบลวรรณ พระสังคร ครู สกร.ต าบลท่าลาด นายสุรชัย มณีรัตน์ ครู สกร.ต าบลท่าลาด นายสามารถ บางศิริ ครู สกร.ต าบลหนองย่างชิ้น นายพงศ์พันธ์ แขวงเมือง ครู สกร.ต าบลหนองย่างชิ้น นายพิเศษ ถานัน ครู สกร.ต าบลโคกหินแฮ่ นายพนมเทียน ภูมิลา ครู สกร.ต าบลนางาม นางสาววรินทร สังข์ลาย ครูผู้สอนคนพิการ ผู้ออกแบบปก นายสุภกาญจน์ โกพลรัตน์ ครูสกร.ต าบลนาขาม


Click to View FlipBook Version