บนั ทึกขอ( ความ
สว" นราชการ โรงเรยี นบา* นสไุ หงโก-ลก สงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานราธวิ าส เขต 2
ท่ี วนั ท่ี 28 กันยายน 2565
เรื่อง รายงานผลการศกึ ษาค*นควา* ด*วยตนเอง เรื่อง แนวทางการจัดทำ Best Practice
เรียน ผอู* ำนวยการโรงเรียนบ*านสุไหงโก-ลก
ตามที่ ข*าพเจ*า นางสาวสตี ีโนรไอนี ญาตมิ ณี ตำแหน\ง ครู โรงเรยี นบา* นสุไหงโก-ลก
ไดศ* กึ ษาค*นคว*าหาความร*ูด*วยตนเอง เร่อื ง แนวทางการจดั ทำ Best Practice
จากการศึกษาคน* คว*า เรอื่ ง แนวทางการจัดทำ Best Practice เพ่อื เปน] แนวทางในการพัฒนา
งานและจดั ทำ Best Practice ของตนเองในการจัดการเรียนการสอนวิชาวทิ ยาศาสตรaในอนาคต
ในการน้ี ข*าพเจ*า จะนำความรู*ทไี่ ดศ* กึ ษาค*นควา* ไปพัฒนาตนเองตอ\ ไป
จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ
........................................ผูร* ายงาน
(นางสาวสตี โี นรไอนี ญาติมณี)
Best Practice กับการจัดการความร:ู
วิจารณa พานชิ (อ*างถึงใน วนั ทนา เมอื งจันทรa และเต็มจิต จนั ทคา 2548 : 12) กลา\ วว\า วิธีการจัดการ
ความรู*อย\างงา\ ย คอื การแลกเปลี่ยนเรียนรู*จากวิธีการทำงานแบบ Best Practice องคaประกอบสำคัญประการ
หน่ึงของการจัดการความรู* คือ การมฐี านข*อมูลเกีย่ วกับวธิ ีปฏบิ ัติท่ี เป]นเลิศของหนว\ ยงานต\างๆ ที่มีผลงาน
ดเี ด\นเปน] ทย่ี อมรับในด*านต\างๆ (เชน\ ดา* นแนวคดิ กระบวนการวางแผน การดำเนินงานตามแผน การ
ประเมนิ ผล และการมสี \วนร\วมของชุมชน) โดย มกี ารเผยแพร\วิธปี ฏิบัติงานท่ีเปน] เลิศ เพอ่ื ใหห* นว\ ยงานอน่ื ได*
นำไปปรบั ใช* ซ่ึงเปน] ไปตามพระราช กฤษฎีกาวา\ ดว* ยหลักเกณฑaและวิธกี ารบริหารกิจการบา* นเมอื งท่ดี ี พ.ศ.
2546 ในมาตรา 11 ระบุวา\ “สว\ นราชการมีหนา* ทีพ่ ัฒนาความรูใ* นสว\ นราชการ เพอื่ ใหม* ีลักษณะเปน] องคกa รแห\ง
การเรียนรู* อยา\ งสมำ่ เสมอ”
Best Practice คอื อะไร Best Practice คอื วธิ ปี ฏิบัติทีเ่ ปน] เลิศ ในการทำสงิ่ ใดสงิ่ หนึง่ ใหส* ำเร็จ ซึ่ง
เป]นผลมาจาก การนำความรไู* ปปฏิบัตจิ รงิ แลว* สรปุ ความร*ูและประสบการณนa นั้ เปน] แนวปฏิบัติท่ีดีท่สี ุดของ
ตนเอง (บรู ชยั ศริ มิ หาสาคร,2548)
Best Practice จงึ เปน] บทสรปุ ของวธิ กี ารปฏิบตั ิท่ีเป]น Tacit Knowledge (ความรู*ใน ตัวคน) ซง่ึ
เผยแพร\เป]น Explicit Knowledge (ความรู*ท่ปี รากฏใหเ* ห็นชัดแจ*งในรูปแบบต\างๆ) เพอ่ื ใหผ* อู* ่นื ไดน* ำไปทดลอง
ปฏบิ ัติ
จุดเรม่ิ ตน: Best Practice เร่ิมตน* จากวงการแพทยa เปน] วธิ กี ารปฏิบตั ิงานที่ดี ไม\วา\ จะนำไป ปฏิบตั ิที่
ไหน อย\างไร ซึง่ ผลงานที่ปฏิบตั ิน้นั ได*นำไปสู\ผลสำเร็จ หนว\ ยงานจำเปน] ตอ* งมีการ แลกเปล่ียนวิธกี ารปฏบิ ตั ิงาน
ทดี่ กี บั หนว\ ยงานย\อย และมกี ารแลกเปล่ียนระหวา\ งหนว\ ยงาน ต\าง ๆ ทัง้ ภายในและภายนอก ผลสดุ ท*าย คอื
การนำ Best Practice นั้นไปใช*จนเป]น มาตรฐาน ตัวอยา\ งโปรแกรมที่ได*รางวลั คือ โปรแกรมการเชญิ ชวน
ผ*ูดูแลผูป* •วยทเ่ี ปน] มะเรง็ ตอ\ มลูกหมาก ของกลม\ุ แพทยเa ฮนรฟ่ี อรดa โดยให*ผป*ู •วยสามารถดแู ลตนเองไดท* ี่บ*าน
รว\ มกบั การ รกั ษาทศ่ี นู ยaการรกั ษา โดยดำเนนิ กิจกรรมในลักษณะการวจิ ยั ผลของโปรแกรมพบวา\ 90% ของ
ผป*ู ว• ยท่ีได*รับการวนิ ิจฉยั สว\ นใหญ\เป]นมะเรง็ ในระยะแรกเท\านัน้ ผูป* •วยมีความพงึ พอใจใน การดูแลรักษาจาก
โปรแกรมดังกล\าวที่เปน] Best Practice
Best Practice มีความสำคัญอยFางไร
จากหลกั การทีว่ \า “ถา* ได*นำความรไ*ู ปใช* ความรูน* น้ั กย็ ่ิงเพม่ิ คณุ คา\ เพราะทำใหเ* กิด การตอ\ ยอดความรู*
ใหแ* ตกแขนงออกไปอยา\ งกวา* งขวาง” ดงั นัน้ เปา† หมายสำคญั ประการหน่ึง ของการจดั การความรูใ* นองคaกร คือ
เพือ่ ใหค* นในองคaกร มี Best Practice ในการทำงานที่ ชว\ ยเพ่มิ ผลผลติ ท้ังในดา* นคุณภาพและปรมิ าณ ดงั คำ
กลา\ วของ Peter Senge ทีว่ า\ ความรู* คอื ความสามารถในการทำอะไรก็ตาม อย\างมปี ระสิทธิผล (Knowledge
is the capacity for effective actions
คำทีม่ คี วามหมายใกลเ: คียงกบั Best Practice
Good Practice เปน] คำท่มี คี วามหมายคอ\ นขา* งกว*าง ใช*ในความหมายเก่ยี วกบั การ ปฏบิ ตั งิ านที่มี
ประสทิ ธภิ าพ แตย\ งั ไม\มหี ลักฐานแน\ชัด หรือแสดงความถกู ต*องอย\างชัดเจน จะตอ* งใช*ข*อมลู เชงิ ประจักษaมา
ยนื ยันผลงาน และมผี ใู* หค* วามเห็นเกีย่ วกบั Good Practice คือ
· เป]นข*อเสนอแนะ คำแนะนำ แนวทาง การปฏิบัตงิ านทอ่ี ยูบ\ นพื้นฐานของความสำเร็จของงาน
· เปน] เรื่องเกย่ี วกับ "Why" และ "What"
· เปน] ความคาดหวังของการปฏบิ ัตงิ านโดยทั่ว ๆ ไป
Innovative Practice หมายถงึ จุดเน*นและแนวทางการทำงานท่นี า\ สนใจ แต\ขณะน้ี ยังไม\มตี วั ชีว้ ัดใด
จะบอกความสำเร็จได*
Best Practice กับทฤษฎกี ารเรยี นรู:ของ Thorndike
Edward Lee Thorndike (พ.ศ. 2417-2492) เป]นนกั จิตวทิ ยาชาวอเมริกนั ผ*คู *นพบทฤษฎี ความ
ตอ\ เนื่อง (Connectionism) ทฤษฎีน้ี มคี วามเช่อื วา\ การเรยี นรเู* กดิ จากการลองผดิ ลองถูก เช\น เมื่อให*ผูเ* รยี นทำ
กจิ กรรมอะไรอย\างหนง่ึ ซงึ่ ไมม\ คี วามร*ูในเรื่องนน้ั มาก\อน ผ*ูเรียนจะทำแบบลอง ผดิ ลองถูก เพ่ือเลือกทีจ่ ริง ทงิ้ ที่
เทจ็ จนกระทงั่ จบั ไดว* \า ควรทำอย\างไร จงึ จะถกู ต*องและรวดเรว็ ก็ จะเลือกทำดว* ยวิธนี ้ันในครั้งตอ\ ไป
นัน่ คือ ผ*เู รยี นได*สรา* ง Best Practice ในการทำงานของตนเอง ซง่ึ Best Practice ของ ผูเ* รยี นแตล\ ะคน อาจจะ
เหมือนหรือไม\เหมือนกันก็ได* เพราะเป]นข*อสรุปวิธีการทำงานทต่ี \างคนตา\ ง ค*นพบตามแนวทางของตนเอง เมือ่
นำมาเปรยี บเทยี บกนั จึงจะรูว* \า วธิ ีการของใครดที ส่ี ุด
Best Practice ในหนFวยงาน การทำใหเ* กดิ Best Practice สามารถทำให*เกดิ ขน้ึ ได*หลายช\องทาง
1.เกดิ จากบคุ คลอันมาจากการเรยี นรห*ู รือประสบการณa เปา† หมายของหน\วยงานทคี่ าดหวงั ความสำเร็จ
ผป*ู ฏิบตั งิ านเรยี นรจ*ู ากการปฏบิ ัติ รเิ ริม่ สรา* งสรรคa แกป* ญ– หาการทำงาน เสนอแนะวธิ กี ารทำงาน อาจเกดิ
แนวคดิ การรับรู*จากข*อแนะนำของผบ*ู รหิ าร วทิ ยากร เพ่ือน รว\ มงาน หน\วยงานอน่ื และผรู* บั บรกิ าร ก\อให*เกดิ
การสร*างสรรคaวิธีการใหมห\ รอื วิธีการท่ดี กี วา\
2.เกิดจากปญ– หาอุปสรรคในการปฏิบตั งิ านท่ไี มเ\ ป]นไปตามเป†าหมาย ความกดดัน ของผู*รับบรกิ าร
การแข\งขนั การขบั เคลือ่ นนโยบายขององคกa ร ภาวะข*อจำกัดของทรพั ยากร ภาวะวกิ ฤตทิ ำใหม* กี ารแสวงหา
แนวทาง กระบวนการ วธิ ีการท่ดี กี วา\ เพ่อื ใหไ* ดผ* ลสำเรจ็ สูงสุด
3.เกิดจากแรงขบั เคล่อื นการพัฒนา คน* หาวิธกี ารใหม\ สร*างความพงึ พอใจของ ผูร* บั บริการ เสริมสร*าง
ประสทิ ธภิ าพขององคaกร
คณุ ลกั ษณะงานของ Best Practice การวนิ ิจฉยั Best Practice เปน] พลงั ที่ชว\ ยกันยกระดับความคดิ สามารถ
มมี มุ มองที่ แตกต\าง หลากหลาย ยอมรับมมุ มองท่ีแตกต\างจากมุมมองของตนไดด* ขี ้ึน มีประเด็นใน
การพิจารณาเป]นสงั เขปดังนี้
1. เปน] เร่อื งที่เกย่ี วขอ* งกับภารกิจโดยตรงของหนว\ ยงาน
2. สนองต\อนโยบายการแกป* ญ– หา การพฒั นา ประสิทธิภาพของหนว\ ยงาน
3. ลดขน้ั ตอน ลดรอบระยะเวลาการทำงาน
4. ลดทรัพยากร ลดคา\ ใชจ* \าย
5. การนำเทคโนโลยมี าใชป* ระกอบการทำงาน
6. วธิ กี ารริเริ่มสร*างสรรคaขึ้นมาใหม\ หรือประยกุ ตaขึน้ ใหม\
7. สามารถทำแผนผงั เชิงเปรยี บวิธกี ารเกา\ และใหม\ และส่งิ ทีเ่ ปน] วิธีใหมจ\ ะให* ประโยชนอa ะไรท่ดี ีกว\าวิธี
เก\า
8. อำนวยความสะดวกในการใช*
9. วางระบบในการใหบ* ริการ และมีชอ\ งทางท่ีหลากหลายในการให*บริการดงั กลา\ ว
10. สามารถเทยี บเคียงวิธกี ารทำงานลกั ษณะเดียวกนั กบั หน\วยงานอน่ื ได*
11. ผลผลติ /ความสำเรจ็ เพ่มิ ข้ึน
12. ความพงึ พอใจของผู*รบั บริการ หรอื ผม*ู สี ว\ นได*สว\ นเสีย
13. สามารถนำไปใชเ* ป]นมาตรฐานการทำงานตอ\ ไปไดย* ัง่ ยนื พอสมควร
14. การพัฒนาปรับปรุงตอ\ ไป
การดำเนินงาน Best Practice หนว\ ยงานสามารถจะดำเนินการไดห* ลายกระบวนการ เช\น ตาม
แนวทางวงจรเดมม่งิ (Demming Circle) ซง่ึ ประกอบดว* ย P : การวางแผน D : การปฏบิ ตั ิ C : การตรวจสอบ
ประเมนิ ผล A : การปรับปรุงพัฒนา กำหนดกจิ กรรมใหม\ และอาจนำเทคนิคตา\ ง ๆ ที่สามารถเลือกมาใช* ให*
เหมาะสมกับบรบิ ทงานของหน\วยงาน เช\น CQI (Continuous Quality Improvement) , RCA (Root Cause
Analysis), FMEA (Failure Mode Evaluation Analysis) อ่นื ๆ มาชว\ ยใน การดำเนนิ งานจนเกิด Best
Practice สามารถสรปุ เป]นลำดบั ขั้นดังน้ี
1. การคน: หา Best Practice (BP)
การค*นหา Best Practice (BP) เพอ่ื ดสู งิ่ ท่ีเราคดิ ว\า เจอแล:ว ใชแF ล:ว และคดิ ว\าเป]น
Best Practice (BP) ของเรา จริงๆ แลว* ใชF หรือ ไมF มสี ิง่ ที่ชว\ ยในการค*นหางา\ ยๆ ดงั นี้
►การวเิ คราะหaบรบิ ท ความคาดหวังของหนว\ ยงาน/สังคม/ผูม* สี ว\ นไดเ* สยี
►พจิ ารณาว\า PDCA ได*ครบวงจรหรอื ยงั
►ข้ันตอนนั้นเปน] “นวตั กรรม” หรือไม\
►ต้งั คำถามวา\ นวัตกรรมนน้ั
►คืออะไร What
►ทำอยา\ งไร How
►ทำเพอื่ อะไร Why
►วเิ คราะหaปจ– จัยท่สี ำเร็จและบทเรยี นทีไ่ ด*เรียนรู*
2. เกณฑพ` ิจารณา Best Practice (BP)
การพิจารณาวา\ สง่ิ ท่ีผเ*ู ขยี น คิดว\าเปน] Best Practice (BP) นั้น ผ*ูอา\ นมีเกณฑงa า\ ยๆ ในการ
พิจารณาวา\ เป]น Best Practice (BP) หรือไม\ ดงั นี้
1. สอดคลอ* งกับ “ความคาดหวงั ” ของหน\วยงาน/โรงเรียน/ชมุ ชน/ผป*ู กครอง/ผูเ* กีย่ วข*อง
2. มี PDCA จนเห็นแนวโนม* ของตวั ชีว้ ดั
3. ผู*เขียนบอกเล\าไดว* \า “ทำอะไร What” “ทำอย\างไร How” “ทำไมจงึ ทำ “Why”
4. ผลลัพธเa ปน] ไป/สอดคลอ* ง/สะทอ* นตามมาตรฐานหรือขอ* กำหนด
5. เปน] สิ่งที่ “ปฏิบตั ิไดจ* รงิ และเหน็ ผลแล*ว” ไมใ\ ช\แนวคดิ หรอื ทฤษฎี
3. การเขียน Best Practice (BP)
การเขียน Best Practice (BP) อาจเขียนในรูปแบบ/องคปa ระกอบ ดงั น้ี
1. ข*อมลู ท่วั ไป
2. ผลงาน/ระบบงานท่ีเปน] Best Practice (BP) (ดอี ย\างไร How) ซ่งึ อาจเขียนโดย
การแยกเปน] 2 สว\ น คือ
2.1 ขัน้ ตอนการดำเนินงาน หรอื Flow (แผนภมู )ิ ของระบบงานที่ทำ
2.2 วิธกี ารและนวตั กรรมท่ีเปน] Best Practice (BP)หรอื อาจเขยี นบอกเล\าขนั้ ตอน
การดำเนนิ งานจนสำเรจ็ เป]นผลงานทีด่ เี ลิศเปน] ความเรยี งกไ็ ด*
3. ป–จจัยเกอ้ื หนุน (ดีเพราะอะไร What) หรอื ป–จจยั แห\งความสำเรจ็ /ความภาคภมู ิใจ และ
บทเรียนทไี่ ด*รบั
4. ผลการดำเนนิ งาน (ดแี ค\ไหน Why) ซง่ึ อาจจะเอาไว*ในหัวขอ* ที่ 2 กไ็ ด* ทัง้ นี้ ควรเนน* ตัวช้วี ดั
สำคัญต\างๆ ท่ีแสดงให*เหน็ แนวโนม* การเปลย่ี นแปลง ซึง่ อาจใช*แผนภูมหิ รือกราฟแสดงให*เหน็ ถงึ การ
เปลี่ยนแปลงการดำเนนิ งานจนเกิดผลสำเร็จ และอาจมแี ผนงานในอนาคตดว* ยก็ได*
Best Practice กบั องค`กรแหงF การเรียนร*ู
David Garvin (อ*างถงึ ในบุญดี บุญญากจิ และคณะ 2547 : 26) กลา\ ววา\ การจดั การ ความร*ูเปน] เรื่อง
สำคญั ท่ที ำใหเ* กิดการเรียนรู* และประยุกตใa ชค* วามรู* รวมทงั้ แปลงความรู*ของคนไป เปน] ความร*ขู ององคกa ร การ
จะเป]นองคกa รแห\งการเรยี นร*นู ั้น จะตอ* งมที กั ษะใน 5 ดา* น ไดแ* ก\ 1. การแกป* ญ– หาอยา\ งเป]นระบบ 2. การ
ทดลองศึกษาหาแนวทางใหม\ๆ 3. การเรยี นร*ูจากประสบการณใa นอดีต 4. การเรียนรจ*ู ากวิธีปฏบิ ตั ทิ เี่ ปน] เลิศ
ของคนอืน่ 5. การถ\ายทอดความร*อู ยา\ งรวดเร็วและมปี ระสิทธิภาพท่ัวทงั้ องคกa ร จะเหน็ ว\า Best Practice เป]น
สิ่งทีม่ คี วามสำคัญ เพราะเปน] 1 ใน 5 ของทกั ษะในองคกa รแหง\ การ เรยี นรู*
Best Practice กบั การฝcกอบรมผ:ูบริหารสถานศกึ ษา
ตามหลกั สูตรการฝก¢ อบรมพัฒนาผบ*ู ริหารสถานศกึ ษา ของสถาบันพัฒนาผบู* ริหาร การศึกษา
กำหนดใหผ* *ูเขา* รบั การอบรมตอ* งฝก¢ ปฏิบัติงานในสถานศึกษาตน* แบบ เพอ่ื ศึกษา Best Practice ของ
สถานศึกษาน้ัน ว\ามวี ธิ ีการบริหารงานอยา\ งไร จึงประสบความสำเร็จ แลว* จัดทำ เป]นเอกสารการสมั มนา เพอ่ื
นำเสนอในห*องอบรม เป]นการแลกเปลยี่ นเรียนร*กู นั ทำให*ไดแ* นวทาง ปฏิบัติที่จะนำไปใชบ* ริหารโรงเรยี นของ
ตน ไม\ตอ* งบริหารแบบลองผิดลองถูก ตัวอยา\ ง ทป่ี ระเทศ นิวซแี ลนดa ผู*บริหารสถานศึกษาที่มชี ่อื แหง\ หนึ่ง
คือ Rutherford College พบวา\ ในการคัดเลอื ก บคุ คล เพอ่ื แตง\ ตั้งใหเ* ปน] ผ*ูบรหิ ารสถานศกึ ษาของนวิ ซีแลนดa
จะใหบ* คุ คลนั้น นำเสนอ Best Practice ด*านการบริหารของตนเอง ใหค* ณะกรรมการใช*ประกอบการพิจารณา
ว\า มคี ณุ สมบตั ิ เหมาะสมหรือไม\
Best Practice เพื่อพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาไทย
การจัดการความรู*เพอ่ื พฒั นาการเรียนการสอน ควรจะเริม่ ตน* จากการคน* หา รวบรวม Best
Practice ดา* นการสอนในกลุ\มสาระตา\ งๆ จากครูท่มี คี วามเช่ยี วชาญ เชน\ ครูแห\งชาติ ครู ตน* แบบ ครแู กนนำ
หรอื ครูดีเดน\ ในวิชาตา\ งๆ เพือ่ ให*ครูเหล\านัน้ ไดถ* \ายทอดความเชยี่ วชาญไปส\ูครู อน่ื ๆ เพ่อื เปน] เครือขา\ ย
อา: งอิง
บุญดี บุญญากจิ และคณะ. การจัดการความร:ู…จากทฤษฎีสูFการปฏบิ ตั ิ. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท จิรวัฒนa เอก็ ซa
เพรส จำกัด.2547.
คณะศกึ ษาศาสตรa มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรa. เอกสารประกอบการบรรยาย Best Practice