รายงานผลการดําเนนิ งาน
ตามแผนปฏิบตั ริ าชการ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ไตรมาสท่ี ๔
(กรกฎาคม - กันยายน ๒๕๖๔)
สาํ นกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั นาน
สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
คํานํา
สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน ไดรับจัดสรรงบประมาณประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564
เพ่ือดําเนินการตามภารกิจ งานติดตามและรายงานผลการดําเนินงาน จึงไดติดตามการดําเนินงานของโครงการ/
กิจกรรม เพื่อรายงานหนวยงานตนสังกดั และตดิ ตามความกาวหนา การดําเนินงานของโครงการ/กิจกรรม
ในการนี้ ขอขอบคุณผูรับผิดชอบโครงการตามแผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 และ
ผทู ่ีเกย่ี วของทกุ ทานทใ่ี หค วามรวมมอื ในการติดตามและรายงานผลการดําเนนิ งาน
งานติดตามและประเมนิ ผลฯ กลมุ นโยบายและแผน
สาํ นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั นาน
สารบัญ
เนอ้ื หา หนา
รายงานผลการดําเนินงานโครงการตามแผนปฏบิ ัติราชการประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 1-9
10-16
1. Innovation For Thai Education (IFTE) นวตั กรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาการศึกษา 17-23
2. โครงการเสรมิ สรา งคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสาํ นกั งานศึกษาธิการจังหวดั นาน 24-32
33-39
3. จดั ทําแผนปฏิบัตริ าชการดานพฒั นาการศกึ ษาพนื้ ท่ชี ายแดน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.2564
4. สรางและสงเสริมความเปนพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาทดานการศึกษาสูการปฏิบัติ 40-44
5. ขับเคล่ือนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัดผานกลไก 45-49
ของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด(กศจ.) 50-53
6. คัดเลอื กผูมผี ลงานดเี ดนตอการพฒั นากิจกรรมลูกเสือของกระทรวงศึกษาธิการ 54-61
7. โรงเรียนดวี ถิ ลี ูกเสือประจําป 2564 62-75
76-82
8. สงเสริมศักยภาพการตรวจ ติดตามความประพฤตินักเรียนและนักศึกษา ศูนยเสมารักษ 83-87
สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน 88-92
93-99
9. สง เสริมระเบียบวินยั ลูกเสือ เนตรนารี ระดับจังหวัด ประจาํ ป ๒๕๖4 100-105
10. ขบั เคล่อื นการพัฒนาการจัดการศกึ ษาปฐมวยั ในระดบั พนื้ ท่ี
11. ตรวจตดิ ตามและประเมนิ ผลการดําเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร 106-113
12. ตรวจติดตามการใชจ า ยเงินอุดหนุนทุกประเภทและการจดั การศกึ ษาโรงเรยี นเอกชน 114-119
13. สง เสรมิ การจดั การเรียนรูข องโรงเรยี นเอกชน พ.ศ.2564
14. การประเมนิ คณุ ภาพผูเรียนระดบั การศึกษาภาคบังคบั ปก ารศกึ ษา 2563 120-124
15. พัฒนาหลักสูตร กระบวนการจดั การเรียนรู การวัดและประเมนิ ผลโรงเรียนเอกชนจงั หวัดนาน
ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564
16. ปองกนั และแกไขปญหายาเสพตดิ ในสถานศึกษา จังหวดั นาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
17. สงเสริมเวทีและประชาคมเพ่ือการจัดทํารูปแบบและการพัฒนาหลักสูตรตอเน่ือง
เช่ือมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
18. การประชมุ ปฏิบัติการเสรมิ สรา งพลังเครือขายการตรวจราชการและตดิ ตาม
ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา (ระดับจงั หวดั นา น)
1
แบบรายงานผลการดาํ เนินงานตามแผนปฏิบตั ริ าชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
******************************
1. ชื่อหนว ยงาน สํานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดนาน
2. ช่อื โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาการศึกษา
3. หวงเวลารายงาน
ไตรมาสที่ 1 : เดอื น ต.ค. 63 - ธ.ค. 63 ไตรมาสที่ 2 : เดือน ม.ค. 64 - มี.ค. 64
ไตรมาสที่ 3 : เดอื น เม.ย. 64 - มิ.ย. 64 ไตรมาสท่ี 4 : เดอื น ก.ค. 64 - ก.ย. 64
สถานะโครงการ ยังไมส้ินสุดโครงการ สน้ิ สดุ โครงการแลว
4. ความสอดคลองกบั แผนระดบั ตาง ๆ
(โปรดระบุขอความ และทําเคร่อื งหมาย √ ในชอง ที่มีความสอดคลองกบั โครงการ)
4.1 ยุทธศาสตรชาติ (ดา นที่ 3 การพฒั นาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย)
4.2 แผนแมบ ทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ (ประเด็นที่ 12) การพัฒนาการเรียนรู
4.3 แผนยอ ยภายใตแผนแมบ ท (12.1 การปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรทู ี่ตอบสนองตอการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21
4.4 แผนปฏิรปู ประเทศ (ดานการศึกษา)
4.5 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2565)
(ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย)
4.6 แผนความมนั่ คง (โปรดระบุ-)
4.7 นโยบายรัฐบาล
4.7.1 นโยบายหลัก การปฏิรปู กระบวนการเรียนรูและการพฒั นาศักยภาพของคนไทยทกุ ชว งวัย
4.7.2 นโยบายเรงดว น การเตรียมคนไทยสศู ตวรรษท่ี 21
4.8 ยุทธศาสตรต ามแผนปฏบิ ัตริ าชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงศกึ ษาธิการ
ยทุ ธศาสตรที่ ๑ การจดั การศกึ ษาเพอ่ื ความมนั่ คงของสังคมและประเทศชาติ
ยุทธศาสตรที่ ๒ การผลติ และพฒั นากําลังคน การวจิ ัย และนวตั กรรมเพอื่ สรางขดี ความสามารถ
ในการแขงขันของประเทศ
ยทุ ธศาสตรที่ ๓ การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ชวงวัยและการสรา งสงั คมแหงการเรยี นรู
ยุทธศาสตรที่ ๔ การสรางโอกาสความเสมอภาคและความเทาเทยี มทางการศึกษา
ยทุ ธศาสตรท่ี ๕ การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจดั การศกึ ษา
4.9 ประเด็นยทุ ธศาสตรตามแผนปฏิบตั ริ าชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบบั จัดทําคาํ ของบประมาณรายจายประจาํ ป 2564)
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท่ี ๑ พัฒนาการจดั การศึกษาเพือ่ ความมัน่ คง
ประเด็นยทุ ธศาสตรที่ ๒ พัฒนากําลงั คน การวิจัย และสรา งความสามารถในการแขง ขันของประเทศ
ประเด็นยทุ ธศาสตรท ่ี ๓ พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ยใหม คี ณุ ภาพ
ประเด็นยุทธศาสตรท ่ี ๔ สรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
ประเด็นยทุ ธศาสตรท ่ี ๕ พัฒนาระบบบริหารจัดการใหมีประสิทธภิ าพ
2
๔.9.1 แผนงานพนื้ ฐาน
ผลผลติ ที่ 1 นโยบายและแผนดา นการศกึ ษา ผลผลิตท่ี 5 ผูรบั บริการการศกึ ษาตามอัธยาศยั
ผลผลติ ที่ 2 หนว ยงานในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ผลผลิตท่ี 6 มาตรฐานการบรหิ ารงานบคุ คล
ไดร บั บริการเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา ของขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ผลผลติ ที่ 3 ผูไดร บั การสง เสรมิ และพฒั นาคณุ ธรรมจริยธรรม ผลผลิตที่ 7 นักเรยี นโรงเรยี นเอกชนทไ่ี ดรับการ
อดุ หนุน
ผลผลติ ที่ 4 ผูรบั บริการการศกึ ษานอกระบบ ผลผลติ ที่ 8 ผูอํานวยการครู และบคุ ลากรทางการ
ศกึ ษาไดร บั การสงเคราะหตามกฏหมายโรงเรียนเอกชน
๔.9.2 แผนงานยุทธศาสตร
แผนงานยทุ ธศาสตรพ ัฒนาเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล
แผนงานยุทธศาสตรก ารวจิ ัยและพัฒนานวตั กรรม
แผนงานยทุ ธศาสตรพ ัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชวงวยั
แผนงานยทุ ธศาสตรเพอ่ื สนบั สนุนดา นการพัฒนาและเสรมิ สรางศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย
แผนงานยทุ ธศาสตรสรางความเสมอภาคทางการศกึ ษา
๔.9.3 แผนงานบรู ณาการ
แผนงานบรู ณาการขบั เคลอ่ื นการแกไขปญ หาจงั หวัดชายแดนภาคใต
แผนงานบูรณาการปองกัน ปราบปราม และบําบดั รกั ษาผตู ิดยาเสพตดิ
แผนงานบูรณาการพฒั นาพ้ืนทรี่ ะดับภาค
แผนงานบูรณาการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและการเรียนรู
แผนงานบูรณาการตอ ตา นการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ
แผนงานบูรณาการอ่ืน ๆ (โปรดระบุ.........................................................................................)
5. ความสอดคลองกับนโยบายการตรวจราชการและติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ถามี)
(โปรดระบุนโยบายขอ................................................................................................................................................)
6. ความสอดคลองกับนโยบายของหนวยงาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
(สาํ นักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนา น ยุทธศาสตรท่ี 2 ยุทธศาสตรท ่ี ๒ การผลติ และพฒั นากาํ ลังคน การวจิ ยั และ
นวตั กรรมเพอื่ สรางขีดความสามารถ ในการแขง ขันของประเทศ)
7. หลักการและเหตุผล
ยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ไดกําหนดเปาหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติ
ม่นั คง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกจิ พัฒนาอยา งตอ เนอ่ื ง สังคมเปนธรรม ฐานทรัพยากรธรรมชาติยงั่ ยืน” พัฒนา
คนในทกุ มติ ิและในทุกชวงวัยใหเปนคนดี เกง และมีคุณภาพ สรางโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม สรางการ
เติบโตบนคุณภาพชวี ิตทเี่ ปนมิตรกับส่ิงแวดลอม และมีภาครัฐของประชาชน เพื่อประชาชนและประโยชนสวนรวม
โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในยุทธศาสตรที่ ๓ ดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ซึ่งมีเปาหมาย
เพ่ือใหคนไทยเปนคนดี คนเกง มีคุณภาพ พรอมสําหรับวิถีชีวิตในศตวรรษท่ี ๒๑ และเพื่อใหสังคมไทยมี
สภาพแวดลอมทีเ่ อ้ือและสนบั สนุนตอ การพัฒนาคนตลอดชว งชวี ติ
จากรายงานสรุปผลการดําเนินงานตามยุทธศาสตรชาติ ประจําป ๒๕๖๒ พบวา ในแผนแมบทดาน
การพัฒนาการเรียนรู ซ่ึงมีเปาหมายใหวัยเรียน วันรุน มีความรูและทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ ครบถวน รูจักคิด
วิเคราะห รักการเรียนรู มีสํานึกพลเมือง มีความกลาหาญทางจริยธรรม มีความสามารถในการแกปญหา ปรับตัว
ส่ือสารและทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีประสิทธิผลตลอดชีวิตดีขึ้น ผลการประเมินทักษะ อยูท่ี ๖๒.๓๐ คะแนน
ตํ่ากวา ป ๒๕๖๑ ซงึ่ ผลการประเมินอยทู ่ี ๖๓.๐๐ และจากการรายงานวจิ ัยเพ่อื การพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอารไอ)
3
พบวา ปญหาคุณภาพการศึกษาไทยสาเหตุหลักสวนหน่ึง เกิดจากระบบการศึกษาไทยไมเอ้ือตอการสรางความ
รับผิดชอบ (Accountability) หลักสูตรและตาํ ราเรียนของไทยไมสอดคลองกับการพัฒนาทักษะแหงศตวรรษที่ ๒๑
การทดสอบยังคงเนนการจดจําเน้ือหามากกวาการเรียนเพอ่ื ใหม ีความรู และความเขา ใจอยา งแทจ รงิ
จากเหตุผลและความจําเปนดังกลาว สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จึงจัดทําโครงการ IFTE
(Innovation For Thai Education) ซ่งึ เปนโครงการตอเน่อื ง โดยการนําผลการวิเคราะหและการวจิ ัยการพัฒนา
รูปแบบและแนวทางในการจัดการเรียนการสอนเพื่อยกผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและผลการวิเคราะหและการวิจัย
แนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษา จากโครงการ TFE (Teams For
Education) และโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา จากปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ –
๒๕๖๓ มาสรุปหลอมรวมและใชในการวางแผนในการพัฒนาการศึกษาและหนวยงานทางการศึกษา เพื่อสรางและ
พัฒนาเครือขา ยความรว มมือของบคุ ลากรในทกุ ภาคสวน มารวมกันสรางนวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพการศึกษาทั้ง
ในดานกระบวนการบริหารจัดการศึกษา กระบวนการจัดการเรียนการสอน และกระบวนการนิเทศการศกึ ษา เพื่อ
ยกระดับคุณภาพของผูเรียนในดานทักษะการเรียนรู ทักษะอาชีพ และทักษะชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑ สํานักงาน
ศึกษาธกิ ารจงั หวัดนาน ไดต ระหนกั ถึงความสําคัญของการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในพ้ืนที่จังหวัดนาน จึงไดจัดทํา
โครงการ Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษา ขึ้นเพ่ือดําเนินการ
จัดทําขอมูลสารสนเทศ พัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู และการนิเทศติดตามและ
ประเมินผล อันจะสง ผลใหสถานศึกษามีผลคะแนนการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ผาน
เกณฑเ พมิ่ ขึ้น
8. วตั ถปุ ระสงค
๑. เพอ่ื ใหม ศี นู ยกลางขอมูลสารสนเทศ นวัตกรรมและการวิจัยทางการศึกษาในระดับจังหวัด
๒. เพื่อสงเสรมิ สนับสนนุ พัฒนา นวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู การนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผล
๓. เพือ่ วเิ คราะห สงั เคราะห วิจัย และเผยแพรนวัตกรรมการบรหิ ารจัดการ การจัดการเรยี นรู การนเิ ทศ
ติดตามและประเมินผล
๔. เพ่อื สรางเครือขายความรวมมือในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
๕. เพอื่ สงเสริม สนบั สนุน พัฒนาใหสถานศกึ ษามีคะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ัน
พ้ืนฐานผา นเกณฑเ พิม่ ขึ้น
9. ตัวชวี้ ัดของโครงการ
9.1 ตวั ชี้วดั เชงิ ปริมาณ
๑. จังหวัดนานมีศูนยกลางขอมูลสารสนเทศ นวัตกรรม และมีการวจิ ัยทางการศึกษาในระดับจังหวัดอยา ง
นอ ย ๑ ศูนย
๒. จังหวัดนานมีนวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู การนิเทศติดตามและ ประเมินผล อยาง
นอ ย ๑๔ นวตั กรรม
๓. จังหวัดนานมีงานวิจัย และการเผยแพรนวัตกรรมการบริหารจัดการ การจัดการเรียนรู การนิเทศ
ตดิ ตามและประเมนิ ผล อยา งนอย ๑ ช้นิ
๔. จังหวัดนา นมเี ครอื ขายการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยา งนอย ๑ เครือขา ย
๕. สถานศึกษามคี ะแนนผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐานเพ่ิมขึน้ อยา งนอยรอ ยละ ๕
4
9.2 ตัวชวี้ ดั เชิงคณุ ภาพ
๑. สํานักงานศึกษาธิการจงั หวัดนานเปนศนู ยก ลางขอ มูลสารสนเทศ นวตั กรรม และมีการวิจัยทาง
การศกึ ษาในระดบั จังหวัดทีมีคุณภาพ
๒. จังหวัดนา นมนี วัตกรรมการบรหิ ารจัดการ การจัดการเรียนรู การนิเทศติดตามและประเมินผล ท่ี
สามารถใชพ ฒั นาคุณภาพการศกึ ษาไดอยา งมีประสทิ ธผิ ล
๓. จงั หวัดนา นมงี านวจิ ัยที่มีคุณภาพ และการเผยแพรนวตั กรรมการบรหิ ารจัดการ การจัดการเรยี นรู การ
นเิ ทศ ติดตามและประเมินผล แกส าธารณชน
๔. จังหวัดนา นมีเครอื ขา ยการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ท่ีมีประสทิ ธิภาพ
๕. สถานศกึ ษามคี ะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพ้ืนฐานเพมิ่ ข้ึน
10. กลุมเปาหมายโครงการ
ผบู รหิ าร ครู บคุ ลากรทางการศกึ ษาและผูเรยี นในสถานศึกษาทกุ สังกัดในพื้นที่จังหวัดนาน จํานวน ๑๔
โรงเรยี น รวมท้งั ภาคเี ครอื ขายที่เก่ียวของในพื้นท่ีจังหวัดนาน ไดแก
1. โรงเรียนบา นดอนไพรวลั ย สังกัดสาํ นกั งานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษานา น เขต 1
2. โรงเรยี นบานนา สงั กดั สาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษานาน เขต 1
3. โรงเรยี นมณพี ฤกษ สงั กดั สํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานา น เขต 2
4. โรงเรยี นบานสบมาง สังกัดสาํ นักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานา น เขต 2
5. โรงเรยี นสาธกุ จิ ประชาสรรค รชั มังคลาภิเษก สังกัดสํานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษามัธยมศกึ ษานา น
6. โรงเรยี นตาลชุมพิทยาคม สงั กดั องคก ารบรหิ ารสว นจงั หวดั นา น
7. โรงเรียนซนิ จง สังกัดสาํ นักงานคณะกรรมการสง เสรมิ การศึกษาเอกชน
8. โรงเรียนนันทบุรวี ิทยา พระปรยิ ตั ธิ รรม สังกัดสํานักงานพระพุทธศาสนาจงั หวดั นา น
9. โรงเรียนตชด.พีระยานุเคราะห 3 สงั กดั กองกาํ กบั การตํารวจตระเวนชายแดนท่ี 32
10. โรงเรียนพระคณุ านบุ าล สงั กัดสํานักงานคณะกรรมการสง เสริมการศกึ ษาเอกชน
1๑. โรงเรยี นดรุณวทิ ยา เทศบาลเมอื งนาน สังกัดองคก รปกครองสว นทองถ่ินจังหวัดนา น
1๒. โรงเรียนบา นปางเปย สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษานาน เขต 1
1๓ โรงเรยี นบรรณโศภษิ ฐ สงั กดั สํานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษานา น เขต 2
1๔. โรงเรียนสารทิศพิทยาคม สงั กดั สํานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศึกษานา น
11. ระยะเวลาดําเนินการ
ตลุ าคม ๒๕๖๓ – กันยายน ๒๕๖๔
12. สถานท่ดี าํ เนนิ การ
หนวยงานทางการศึกษาในพื้นที่จังหวัดนาน
13. กิจกรรมทีว่ างแผนดําเนนิ การ
1. รวมการประชมุ ชแ้ี จงการดําเนนิ งานโครงการ IFTE ในปง บประมาณ พ.ศ. 256๔ สรางเครอื ขาย
ในระดบั กระทรวง ภาคและจังหวัด
แนวทางการดาํ เนินงาน
๑.๑ รวมการประชุมช้แี จงแนวทางการดาํ เนินงานประชมุ คณะกรรมการดําเนินงาน ประกอบดวย
ผูรับผดิ ชอบขอ มูลผลสัมฤทธ์ทิ างการศึกษาของหนวยงานทางการศึกษาในจังหวัด ผูแทนจากสํานักงานศึกษาธิการ
ภาค ผูแทนจากหนวยงานทางการศกึ ษา Nan One Team
๑.๒ แตง ตงั้ คณะทํางานระดบั จังหวดั
๑.๓ นําเสนอโครงการอนมุ ัต/ิ ผานความเหน็ ชอบ กศจ.
5
๑.๔ ประกาศกลุมเปาหมายรวมพัฒนาระดบั จังหวัด
2. วิเคราะหค ะแนน/จัดทําระบบสารสนเทศผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน
แนวทางการดําเนินงาน
2.1 ประชุมคณะทาํ งาน วเิ คราะหขอมูล และจัดทาํ สารสนเทศผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ัน
พนื้ ฐาน (O-NET)รายจังหวดั โดยใชเ ทคโนโลยดี จิ ิตัล
๒.๒ สรุป สงั เคราะหและบันทกึ ขอ มูล
๒.๒ เผยแพรและนาํ ขอมูลไปใชในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
๓. ประชุมเชงิ ปฏิบตั ิการนํารูปแบบ/แนวทาง การพัฒนาวัตกรรมการศกึ ษา สูสถานศึกษา
กลมุ เปา หมาย
แนวทางการดําเนินงาน
๓.1 ประชมุ สถานศกึ ษากลมุ เปาหมายเพอ่ื ชี้แจงรปู แบบ/แนวทางการพัฒนาการจดั การเรียนรู
๓.๒ ประชมุ เชิงปฏบิ ัตกิ ารพัฒนาศกั ยภาพครผู ูสอนในการพัฒนาส่ือและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู
๓.๓ สถานศกึ ษาเลือกรูปแบบนวัตกรรมเพ่อื พัฒนาคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
๓.๔ จัดสรรงบประมาณสนับสนุนการดาํ เนินงานแกสถานศึกษากลมุ เปา หมาย แหงละ ๗,๐๐๐ บาท
๔. นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ ผลการนวตั กรรมการศกึ ษาของสถานศกึ ษากลุมเปา หมาย
แนวทางการดําเนินงาน
๕.1 ประชุมจดั ทําเคร่ืองมือการนิเทศ กําหนดแผนและปฏิทินการนิเทศ
๕.2 คณะทาํ งานนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผล และรายงานเปนรายไตรมาส
๕.2 สรปุ และรายงานผลการนิเทศ ติดตามการพัฒนานวัตกรรมการศึกษาของสถานศกึ ษา
๕. ประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู และถอดบทเรยี น/คัดเลือกนวัตกรรมการปฏิบตั ทิ ี่ดี
แนวทางการดําเนินงาน
๕.1 จัดประชุมแลกเปลีย่ นเรยี นรู โดยมเี ปาหมาย คือสถานศกึ ษากลุมเปาหมาย ๑๕ แหง ผแู ทนจาก
หนวยงานทางการศกึ ษา หนว ยงานทีจ่ ัดการศกึ ษา และสถานศึกษารวมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู ถอดบทเรยี นการ
พฒั นานวัตกรรมและสรปุ ผลดําเนินงาน
๕.2 แตง ตงั้ คณะกรรมการคัดเลอื กสถานศกึ ษากลุมเปาหมาย เพือ่ เปนตัวแทนของจงั หวัดรว มแลกเปล่ียน
เรยี นรใู นระดับภาค (ดา นละ ๑ แหง รวม ๓ ดาน)
๕.๓ คดั เลือกนวตั กรรมการปฏิบตั ิทีด่ ี/มอบโล
๖. การสังเคราะหวิจัยนวัตกรรมของสถานศึกษากลมุ เปาหมาย
แนวทางการดําเนินงาน
๖.๑ สังเคราะห วจิ ัย นวัตกรรมการบรหิ ารจัดการ การจัดการเรียนรู การนเิ ทศติดตามและประเมินผล ของ
สถานศกึ ษากลมุ เปาหมาย
๖.๒ สรุปผลการสังเคราะหวิจัยนวตั กรรมการบรหิ ารจัดการ การจัดการเรียนรู การนิเทศติดตามและ
ประเมินผลของสถานศกึ ษากลุมเปาหมาย
๗. จัดทาํ เอกสารรายงานเผยแพรผ ลการดําเนินงาน
แนวทางการดาํ เนินงาน
วิเคราะหและสรปุ ผลดําเนินงานจดั ทาํ เปนเอกสารองคความรู รูปแบบในการพัฒนา เพอ่ื เผยแพรใ ห
หนวยงานทางการศึกษา หนว ยงานที่จดั การศึกษา และสถานศึกษาเพือ่ ใชเปนแนวทางหรอื กรอบแนวคิดในการ
จัดการเรียนรู
6
14. ผลการดําเนินงานของกิจกรรม
๑๔.๑ วันที่ ๑๐ สงิ หาคม ๒๕๖๔ การประชมุ ปฏบิ ัตกิ ารการพัฒนานวตั กรรมการศึกษา ภายใตโครงการ
Innovation For Thai Education (IFTE) นวัตกรรมการศึกษา เพื่อพัฒนาการศึกษา ประจําปงบประมาณ พ.ศ.
๒๕๖๔ แกคณะทํางาน และสถานศกึ ษากลุมเปา หมายโครงการ จํานวน ๑๔ แหง โดยมี รศ.ดร.ชัยวัฒน สุทธริ ตั น
รองคณะบดีคณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยยเรศวร เปนวิทยากร ผานระบบออนไลน ในวันท่ี ๑๐ กรกฎาคม
๒๕๖๔ ณ หองแกรนดบอลรูม โรงแรมเทวราช อําเภอเมือง จังหวัดนาน ผูเขารับการอบรม ประกอบดวย
ผูบรหิ ารและบคุ ลากรจากสถานศึกษากลุมเปาหมาย ผูแทนจากหนว ยงานการศึกษา และ คณะทํางาน รวมจํานวน
๑๐๐ คน
๑๔.๒ วันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๔ การประชุมทางวชิ าการแลกเปล่ียนเรียนรู และถอดบทเรียนรูปแบบ/ แนวทางการ
พัฒนานวัตกรรมการศึกษาในจังหวัด และคัดเลือกผลการปฏบิ ัติที่เปนเลิศ (Best Practice) โครงการ Innovation For Thai Education
(IFTE) นวตั กรรมการศึกษาเพอ่ื พฒั นาการศกึ ษา ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ณ หองบอลรมู โรงแรมนา นกรีนเลคววิ รสี อรท จังหวัด
นาน โดยวัตถุประสงคของการจัดกิจกรรมคร้งั น้เี พ่ือการแลกเปล่ียนเรยี นรู และคดั เลือกสถานศกึ ษาที่มีรปู แบบ/แนวทางการพัฒนา
นวัตกรรมการศึกษาและมีผลการปฏิบัติที่เปนเลิศ ใน ๓ ดาน ไดแก นวัตกรรมดานการบริหารจัดการศึกษา นวัตกรรมดานการ
จัดการเรยี นรู และนวตั กรรมดา นการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผล เพอื่ รบั รางวลั ในระดบั จังหวัด และเปนตัวแทนของจังหวัดนาน
นาํ เสนอผลงานในระดับภาคตอไป
ซึ่งผูเขารวมการประชุมคร้ังน้ี ประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษาและบุคลากรจากสถานศึกษากลุมเปาหมายท่ีผานการ
คดั เลอื กรอบแรก จํานวน ๘ แหง (จากกลมุ เปาหมายจาํ นวน ๑๔ แหง) ประกอบดวย โรงเรียนตาลชุมพทิ ยาคม องคก ารบรหิ ารสวน
จังหวัดนาน, โรงเรียนบรรณโศภิษฐ, โรงเรียนบานสบมาง, โรงเรียนนันทบุรีวิทยา, โรงเรียนสาธุกิจประชาสรรค รัชมังคลาภิเษก
โรงเรียนบานปางเปย, โรงเรยี นบา นดอนไพรวลั ย และโรงเรียนดรุณวทิ ยา เทศบาลเมืองนา น (บา นสวนตาล) เขารวมนาํ เสนอผลการ
พัฒนานวตั กรรมของสถานศกึ ษา แกคณะกรรมการผทู รงคุณวุฒิ เพื่อใหการวิพากษและตัดสิน ในการจัดประชุมครัง้ น้ี มีผเู ขารวม
การประชมุ ท้ังสน้ิ ๖๗ คน
15. ผลการดําเนนิ งานตามตวั ช้ีวัด
ตวั ช้วี ดั คาเปาหมาย ผลการดําเนนิ งาน
จาํ นวนเปา หมาย ผลการดาํ เนนิ งาน รอ ยละ
เชิงปรมิ าณ 1. จงั หวดั นา นมีศนู ยกลาง ๑ ศนู ย สํานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั 100
ขอมูลสารสนเทศ นา น เปน ศนู ยกลางขอมูล
นวตั กรรม และมกี ารวิจัย สารสนเทศ และนวัตกรรม
ทางการศึกษาในระดับ การศกึ ษา
จงั หวัดอยางนอย ๑ ศูนย
2.จังหวดั นา นมีนวัตกรรม ๑๔ นวตั กรรม จงั หวัดนา นมนี วตั กรรม 100
การบริหารจดั การ การ จํานวน ๑๕ นวัตกรรม
จดั การเรียนรู การนเิ ทศ
ติดตามและ ประเมินผล
อยา งนอ ย ๑๔ นวัตกรรม
3.จงั หวัดนานมงี านวิจัย ๑ ชน้ิ จงั หวดั นา นมีงานวิจยั และมี ๑๐๐
และการเผยแพรนวตั กรรม การเผยแพร จํานวน ๑ งาน
การบรหิ ารจัดการ การ
7
ตวั ช้วี ดั คาเปาหมาย จาํ นวนเปา หมาย ผลการดําเนนิ งาน รอยละ
เชงิ คณุ ภาพ จดั การเรียนรู การนเิ ทศ ผลการดาํ เนินงาน ๑๐๐
ติดตามและประเมินผล ๑ เครอื ขาย
อยา งนอย ๑ ชิน้ จงั หวดั นา นมีเครือขายการ n/a
4.จงั หวัดนา นมีเครอื ขาย เพิม่ ขน้ึ อยางนอย พัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ๑๐๐
การพัฒนาคณุ ภาพ รอ ยละ ๕ ดังน้ี ๑๐๐
การศกึ ษา อยา งนอ ย ๑ ๑. สํานกั งานเขตพนื้ ท่ี
เครอื ขาย ศนู ยกลางขอ มูล การศึกษาประถมศกึ ษานาน
สารสนเทศทีม่ ี เขต ๑
5.สถานศึกษามคี ะแนนผล ประสทิ ธภิ าพ ๒. สาํ นักงานเขตพืน้ ท่ี
การทดสอบทางการศกึ ษา และงานวจิ ยั ทมี่ ี การศึกษาประถมศึกษานาน
ระดับชาติขัน้ พน้ื ฐาน เขต ๒
เพมิ่ ข้ึนอยา งนอยรอยละ ๕ คุณภาพ ๓. สาํ นักงานเขตพืน้ ท่ี
1.สํานักงานศึกษาธกิ าร นวตั กรรมทมี่ ี การศกึ ษามัธยมศกึ ษานาน
จงั หวดั นานเปนศูนยกลาง ๔. องคการบริหารสวน
ขอ มูลสารสนเทศ คุณภาพ จังหวัดนาน
นวตั กรรม และมกี ารวิจัย ๕. องคกรปกครองสวน
ทางการศึกษาในระดับ ทองถิ่น
จังหวดั ทีมีคุณภาพ ๖. เทศบาลเมอื งนาน
2.จังหวัดนา นมีนวตั กรรม ๗. สาํ นักงานพระพุทธศาสนา
จังหวัดนา น
๘. กองกํากบั การตํารวจ
ตระเวนชายแดนท่ี ๓๒๔
n/a
(ดูจากผลการทดสอบป๖๕)
สํานักงานศึกษาธิการจังหวดั
นา นเปนศูนยกลางขอมูล
สารสนเทศ นวตั กรรม และมี
การวิจยั ทางการศกึ ษาใน
ระดับจงั หวัดทีมีคณุ ภาพ
จังหวดั นานมนี วัตกรรมการ
8
ตวั ชว้ี ัด คา เปา หมาย ผลการดําเนนิ งาน
ผลการดาํ เนินงาน
การบริหารจัดการ การ จํานวนเปา หมาย รอยละ
จัดการเรียนรู การนเิ ทศ บรหิ ารจัดการ การจัดการ 100
ติดตามและประเมินผล ท่ี งานวิจัยท่ีมี เรียนรู การนเิ ทศติดตามและ
สามารถใชพ ัฒนาคุณภาพ คุณภาพ ประเมินผล ที่สามารถใช
การศึกษาไดอยา งมี พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาได
ประสิทธผิ ล อยา งมปี ระสิทธผิ ล
3.จงั หวัดนา นมงี านวจิ ัยท่ี จังหวดั นา นมีงานวจิ ัยทีม่ ี
มคี ณุ ภาพ และการเผยแพร คณุ ภาพ และการเผยแพร
นวตั กรรมการบรหิ าร นวัตกรรมการบริหารจัดการ
จัดการ การจดั การเรียนรู การจดั การเรยี นรู การนเิ ทศ
การนิเทศ ติดตามและ ตดิ ตามและประเมินผล แก
ประเมินผล แกสาธารณชน สาธารณชน
๔. จังหวัดนานมเี ครือขาย เครอื ขา ยการ จังหวดั นานมเี ครอื ขายการ 100
การพัฒนาคณุ ภาพ พัฒนาคุณภาพทมี่ ี พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษาทมี่ ี
การศึกษาทีม่ ีประสทิ ธิภาพ ประสทิ ธิภาพ
ประสิทธิภาพ
๕. สถานศกึ ษามคี ะแนนผล คะแนนผลการ n/a n/a
การทดสอบทางการศกึ ษา ทดสอบทีเ่ พิ่มข้นึ (ดจู ากผลการทดสอบป๖๕)
ระดบั ชาติขัน้ พืน้ ฐาน
เพมิ่ ขึ้น
๑6. ภาพกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในโครงการ / กิจกรรม
การประชมุ ปฏิบัติการการพัฒนานวัตกรรมการศึกษา ภายใตโครงการ Innovation For Thai Education
(IFTE) นวัตกรรมการศกึ ษา เพื่อพัฒนาการศึกษา ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
9
การประชมุ ทางวชิ าการแลกเปล่ียนเรียนรู และถอดบทเรยี นรูปแบบ/ แนวทางการพฒั นานวัตกรรม
การศกึ ษาในจังหวดั และคัดเลอื กผลการปฏิบตั ทิ ีเ่ ปน เลิศ (Best Practice) โครงการ Innovation For Thai
Education (IFTE) นวัตกรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาการศึกษา ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
17. งบประมาณ
งบประมาณทไ่ี ดรับ ผลการใชจาย ผลการใชจาย ผลการใชจ าย ผลการใชจาย ผลการใชจาย
ทงั้ หมด งบประมาณรวม งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ
(สะสม) ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสท่ี 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4
๒๒๐,๖๘๕ ๓๑,๑๙๐ ๔,๐๔๐ ๑๓,๐๙๐ ๑๔,๐๖๐ ๑๕๔,๙๘๒
แหลง งบประมาณ สํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
18. ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไ ข
18.1 ปญ หา อปุ สรรค
การระบาดของโรคโควดิ ๑๙ ทาํ ใหการดาํ เนินงานไมเ ปน ไปตามปฏทิ นิ ทีก่ ําหนด
18.2 แนวทางแกไ ข
ดาํ เนินการในสว นทีไ่ มใ ชการประชุมคนหมูมาก หากจําเปนใชก ารประชุมออนไลน
19. แผนที่จะดําเนนิ การตอไป
สรปุ ผลการดําเนนิ งาน จัดทาํ รูปเลม เผยแพร
20. ประโยชนท สี่ าธารณชนไดรบั
การบูรณาการดา นการพฒั นานวตั กรรมการศึกษาระหวา งหนวยงานในจงั หวัดและภาค เพือ่ พฒั นาคนให
พรอมเขา สูสังคมคุณภาพในศตวรรษท่ี ๒๑
21. ผรู ายงาน นางพสชณนั ค พรหมจรรย ตําแหนง นักวเิ คราะหนโยบายและแผนชํานาญการ
หนว ยงาน สํานักงานศึกษาธิการจงั หวดั นาน โทรศัพท โทร. 054 710875 โทรสาร 054 710211
E-mail:[email protected]
22. วนั ทีร่ ายงาน ณ วันที่ 30 กันยายน 2564
10
แบบรายงานผลการดําเนนิ งานตามแผนปฏิบัตริ าชการ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
******************************
1. ช่ือหนว ยงานสํานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั นา น
2. ชอื่ โครงการเสริมสรา งคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าลในสาํ นักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั นาน
3. หว งเวลารายงาน
ไตรมาสท่ี 1 : เดอื นต.ค. 63-ธ.ค. 63ไตรมาสท่ี 2 : เดือนม.ค. 64-ม.ี ค. 64
ไตรมาสที่ 3 : เดือนเม.ย. 64-ม.ิ ย. 64 ไตรมาสที่ 4 : เดือนก.ค. 64-ก.ย. 64
สถานะโครงการยังไมส ้นิ สุดโครงการ สิน้ สุดโครงการแลว
4. ความสอดคลองกับแผนระดับตาง ๆ
(โปรดระบุขอ ความ และทาํ เครื่องหมาย √ ในชอง ท่มี ีความสอดคลองกบั โครงการ)
4.1 ยทุ ธศาสตรช าติ (ดานที่ 3 การพฒั นาและเสริมสรางศักยภาพทรพั ยากรมนุษย)
4.2 แผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรชาติ (ประเด็นที่ 12) การพัฒนาการเรยี นรู
4.3 แผนยอยภายใตแผนแมบท12.1 การปฏิรูปกระบวนการเรยี นรูทตี่ อบสนองตอการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21
4.4 แผนปฏริ ปู ประเทศ (ดา นการศกึ ษา)
4.5แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2565)
(ยุทธศาสตรท ี่ 1 การเสรมิ สรางและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย)
4.6แผนความมัน่ คง (โปรดระบ-ุ )
4.7นโยบายรัฐบาล
4.7.1 นโยบายหลกั การปฏิรูปกระบวนการเรยี นรูและการพฒั นาศกั ยภาพของคนไทยทุกชว งวยั
4.7.2 นโยบายเรงดวน การเตรยี มคนไทยสูศตวรรษที่ 21
4.8ยทุ ธศาสตรตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ยุทธศาสตรท ี่ ๑ การจดั การศกึ ษาเพื่อความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ
ยทุ ธศาสตรท่ี ๒ การผลิตและพัฒนากําลังคน การวิจัย และนวตั กรรมเพือ่ สรา งขดี ความสามารถ
ในการแขงขันของประเทศ
ยทุ ธศาสตรที่ ๓ การพัฒนาศกั ยภาพคนทกุ ชวงวัยและการสรา งสังคมแหงการเรยี นรู
ยทุ ธศาสตรที่ ๔ การสรา งโอกาสความเสมอภาคและความเทาเทียมทางการศกึ ษา
ยุทธศาสตรท่ี ๕ การพัฒนาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
4.9ประเดน็ ยทุ ธศาสตรตามแผนปฏบิ ัตริ าชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ฉบบั จดั ทําคําของบประมาณรายจายประจาํ ป 2564)
ประเด็นยุทธศาสตรท ี่ ๑ พัฒนาการจดั การศึกษาเพือ่ ความมนั่ คง
ประเด็นยทุ ธศาสตรท่ี ๒ พฒั นากําลงั คน การวจิ ัย และสรางความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ
ประเด็นยุทธศาสตรท ่ี ๓ พัฒนาและเสรมิ สรางศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ยใ หมีคุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๔ สรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา
ประเด็นยุทธศาสตรท ี่ ๕ พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การใหมปี ระสิทธิภาพ
11
๔.9.1 แผนงานพนื้ ฐาน
ผลผลติ ท่ี 1 นโยบายและแผนดานการศึกษา ผลผลิตที่ 5 ผรู บั บริการการศกึ ษาตามอัธยาศัย
ผลผลติ ที่ 2 หนว ยงานในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ผลผลติ ที่ 6 มาตรฐานการบรหิ ารงานบคุ คล
ไดรับบริการเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ของขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
ผลผลติ ท่ี 3 ผไู ดร บั การสงเสรมิ และพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ผลผลิตท่ี 7 นักเรียนโรงเรยี นเอกชนทีไ่ ดร บั การ
อุดหนนุ
ผลผลิตท่ี 4 ผูร บั บริการการศกึ ษานอกระบบ ผลผลติ ที่ 8 ผอู าํ นวยการครู และบุคลากรทางการ
ศกึ ษาไดรับการสงเคราะหตามกฏหมายโรงเรียนเอกชน
๔.9.2 แผนงานยทุ ธศาสตร
แผนงานยทุ ธศาสตรพัฒนาเศรษฐกิจดจิ ทิ ัล
แผนงานยุทธศาสตรการวจิ ัยและพฒั นานวัตกรรม
แผนงานยุทธศาสตรพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชวงวยั
แผนงานยทุ ธศาสตรเพอ่ื สนบั สนุนดานการพัฒนาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย
แผนงานยุทธศาสตรสรางความเสมอภาคทางการศึกษา
๔.9.3 แผนงานบูรณาการ
แผนงานบรู ณาการขบั เคล่ือนการแกไ ขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใต
แผนงานบรู ณาการปองกัน ปราบปราม และบาํ บัดรักษาผูตดิ ยาเสพตดิ
แผนงานบูรณาการพฒั นาพน้ื ท่ีระดับภาค
แผนงานบรู ณาการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและการเรยี นรู
แผนงานบรู ณาการตอตานการทจุ รติ และประพฤติมชิ อบ
แผนงานบรู ณาการอ่ืน ๆ (โปรดระบ.ุ ........................................................................................)
5. ความสอดคลองกับนโยบายการตรวจราชการและตดิ ตามประเมินผลการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ถามี)
(โปรดระบนุ โยบายขอ................................................................................................................................................)
6. ความสอดคลองกับนโยบายของหนว ยงาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรางสังคมแหงการเรยี นรู
ประเด็นยุทธศาสตรท่ี 6การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา
7. หลกั การและเหตผุ ล
การปองกัน ปราบปรามทุจริตและประพฤติมิชอบเปนวาระสําคัญที่ถูกกําหนดไวในยุทธศาสตรชาติ
ดานที่ 6 การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ประเด็นที่ 6 ภาครัฐมีความโปรงใส
ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ ทุกภาคสวนรวมตอตานการทุจริต ภาครัฐมีการบริหารจัดการตาม
หลักธรรมาภิบาลและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในทุกระดับ ทั้งน้ีไดกําหนดใหประเด็น "แกปญหา
การทุจริต” เปน 1 ใน 15 ประเดน็ การพัฒนาเรงดวนในชวงระยะ 5 ปแรกของแผนแมบ ทภายใตยุทธศาสตรชาติ
ซึง่ แผนการปฏิรูปประเทศ (พ.ศ. 2561-2565) ดานที่ 11 การปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติ
มิชอบ ไดกําหนดจุดเนน ของการปฏิรูปเปน 4 ดาน ไดแก 1) ดานการปองกนั และเฝาระวัง 2) ดา นการปองปราม
3) ดานการปราบปราม และ 4) ดานการบริหารจัดการ ซึ่งมีความสอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ท่ีกําหนดใหการบริหารจัดการ ในภาครัฐ การปองกันการทุจริต
ประพฤติมิชอบ เปนยุทธศาสตรท่ี 6 ที่สอดคลองกับยุทธศาสตรระยะยาว สูการปฏิบัติและเปาหมายการพัฒนา
อยา งยง่ั ยนื (Sustainable Development Goals : SDGs) รวมทัง้ การปรับโครงสรางประเทศไทยไปสปู ระเทศไทย
4.0 สอดคลองกับนโยบายและแผนระดับชาติวาดวยความม่ันคงแหงชาติ (พ.ศ. 2560-2565) ซ่ึงมีเปาหมาย
12
เชิงยุทธศาสตรใหหนวยงานภาครัฐมีระบบปองกันและแกไขการทุจริต รวมท้ังประชาชนไมเพิกเฉยตอการทุจริต
ของหนวยงานภาครัฐ ซ่ึงนโยบายรฐั บาล (พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา) ที่แถลงตอรัฐสภาเมื่อวันท่ี 25 กรกฎาคม
2562 ไดกําหนดใหการปองกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และกระบวนการยุติธรรม
เปนนโยบายหลักดานที่ 12 และกําหนดใหการแกไขปญหาทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ
ทั้งฝายการเมืองและฝายราชการประจําเปนนโยบายเรงดวนเร่ืองท่ี 8 ตลอดจนการนําเจตนารมณและบทบัญญัติ
ท่ีเกย่ี วของในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศกั ราช 2560 ท่ีกําหนดใหรัฐมีหนาท่ีในการวางกลไกปองกนั
ตรวจสอบ และขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบท่ีเขมงวด เด็ดขาด เพ่ือมิใหผูบริหารที่ปราศจากคุณธรรม
จริยธรรม และธรรมาภบิ าลเขามามีอํานาจในการปกครองบานเมืองหรือใชอํานาจตามอําเภอใจ รวมทั้งตอ งสงเสริม
สนับสนุน และใหความรูแกประชาชนถึงอันตรายท่ีเกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบทั้งในภาครัฐและเอกชน
และจัดใหมีมาตรการและกลไกที่มีประสิทธิภาพเพื่อปองกันและขจัดการทุจริตและประพฤติมิชอบดังกลาว
อยา งเขมงวด
ในการน้ี สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน จึงไดจัดทําโครงการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมและ
ธรรมาภบิ าลในสํานกั งานศึกษาธิการจังหวัดนาน โดยมุงหวังที่จะเสริมสรางความรูและความเขาใจใหแกบุคลากร
ในสงั กัดสํานกั งานศึกษาธิการจังหวัดนาน เกี่ยวกับการขับเคลื่อนองคกรสูการประเมินคุณธรรมและความโปรงใส
ในการดําเนนิ งานของหนวยงานภาครฐั (ITA) หลักธรรมาภิบาล หรือการบริหารกจิ การบานเมอื งท่ีดี และนาํ ความรู
ที่ไดรับไปปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการใหเปนไปตามหลักธรรมาภิบาล โดยเนนคุณธรรมและความโปรงใส
สรางความรคู วามเขา ใจทิศทางการขับเคลือ่ นเพ่ือปอ งกนั การทจุ รติ ในองคกร
8. วัตถุประสงค
1. เพอื่ สรา งความรูความเขาใจในการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการดําเนินงานของหนวยงาน
ภาครฐั (Integrity and Transparency Assessment : ITA)
2.เพอื่ ปลกู ฝงความรูความเขาใจเสรมิ สรา งความโปรงใส ในการนาํ นโยบายตา นการทุจริตและประพฤติ
มิชอบไปสูการปฏบิ ตั ิ และสรา งคานิยมวฒั นธรรมทสี่ จุ ริต เพือ่ ใหเกิด “องคกรภาครัฐตอ ตา นการทุจรติ ”
9. ตวั ชว้ี ัดของโครงการ
1. เชิงปริมาณ
บคุ ลากรทางการศึกษาในสงั กัดสํานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดนาน จาํ นวน 56 คน
2. เชิงคณุ ภาพ
บคุ ลากรทางการศึกษาในสังกัดสาํ นกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดนา น รอยละ 90 ไดร บั ความรูความเขา ใจ
ในการประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสในการดาํ เนินงานของหนวยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency
Assessment : ITA)และสามารถนํานโยบายตานการทุจรติ และประพฤติมิชอบไปสูการปฏบิ ัติ สรา งคา นิยม
วฒั นธรรมท่ีสุจรติ เพ่ือใหเ กิด “องคกรภาครัฐตอ ตานการทุจริต”
10. กลุมเปาหมายโครงการบคุ ลากรทางการศึกษาในสงั กัดสาํ นักงานศึกษาธกิ ารจงั หวดั นาน จํานวน 56 คน
11. ระยะเวลาดาํ เนนิ การมถิ ุนายน – กนั ยายน 2564
12.สถานทดี่ ําเนนิ การสํานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นา น
13. กิจกรรมทีว่ างแผนดําเนนิ การ(นาํ กิจกรรมทั้งหมดในโครงการมาเติม)
กจิ กรรมท่ี 1ประชุมการขบั เคลื่อนองคก รสูก ารประเมิน ITA ดังน้ี 1) ประชุมชี้แจง วตั ถปุ ระสงค
แนวทางการประเมิน ITA 2) ประชมุ ติดตามการประเมิน ITA (2 ครั้ง)
และประกาศเจตจํานงสุจริตในการบรหิ ารงานของผูบ รหิ ารสาํ นกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดนา นงบประมาณ
12,600บาท (หนึง่ หม่ืนสองพนั หกรอยบาทถว น)
13
กิจกรรมท่ี ๒อบรมเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าลในสาํ นกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนาน
งบประมาณ 27,400บาท (สองหมื่นเจ็ดพันสี่รอ ยบาทถวน)
14. ผลการดําเนินงานของกิจกรรม
กิจกรรมที่ 1
1) ศธจ.นาน ไดมีการประชุมคณะกรรมการจัดทํารายละเอียดขอ มูล เพ่ือเผยแพรบนเวบ็ ไซตของ
หนวยงาน ตามคูม ือการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรงใสในการดาํ เนนิ งานของหนว ยงานภาครัฐ ดานการเปดเผย
ขอมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT) สําหรบั สํานกั งานศกึ ษาธิการ
ภาคและสํานกั งานศึกษาธิการจังหวัด ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ในวนั ที่ 1 มถิ ุนายน 2564 เวลา 13.30
น. ณ หอ งประชมุ สิริสาธร สาํ นักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นาน อําเภอเมอื งนาน จังหวัดนาน(ตามคาํ ส่งั สํานกั งาน
ศึกษาธิการจังหวัดนาน ที่ 142/2564 เรอื่ ง แตงตง้ั คณะกรรมการจดั ทํารายละเอยี ดขอมลู เพื่อเผยแพรบน
เว็บไซตของหนว ยงาน ตามคูมือการประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสฯ ลงวันที่ 20 เมษายน 2564) เพือ่ ประชุม
ช้ีแจง วตั ถปุ ระสงค แนวทางการประเมิน ITA ตามรายละเอยี ดใน “ตัวชว้ี ัดท่ี 9 เร่ืองการเปดเผยขอมูล” และ
“ตวั ชี้วัดที่ 10 เร่ืองการปอ งกนั การทจุ ริต”ตามคูมือการประเมินคุณธรรมและความโปรง ใสฯ ป พ.ศ.2564 โดยท่ี
ประชุมใหค ณะกรรมการที่รับผิดชอบแตละตวั ชวี้ ดั จัดทํารายละเอียดขอ มลู เสนอใหรองศกึ ษาธิการจังหวัดนานและ
ศึกษาธิการจังหวัดนาน เพอ่ื ทราบและพิจารณากอนทจ่ี ะสง ขอ มูลใหผูรบั ผิดชอบหลักเผยแพรบ นเว็บไซตข อง
หนวยงาน และรายงานตามแบบตรวจการเปดเผยขอมูลสาธารณะฯ จัดสงไปยงั ศูนยป ฏิบัติการตอตานการทุจรติ
กระทรวงศกึ ษาธิการ ภายในระยะเวลาท่ีกําหนดคือ ภายในวันท่ี 30 มถิ นุ ายน 2564
จํานวนผูเ ขาประชุมทัง้ หมด 29 คน โดยปฏิบัตติ ามมาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ของสํานกั งานศึกษาธิการจังหวดั นาน และกระทรวงศึกษาธกิ าร
2) ศธจ.นานประกาศเจตนารมณต อตานทจุ รติ ภายใตแ นวคดิ “สํานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดนาน
ใสสะอาดรว มตา นทุจริต” (PEONAN Zero Tolerance) ในวันที่ 7 มถิ ุนายน 2564 เวลา 09.00 น.
ณ บรเิ วณหนาเสาธงสาํ นักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนา นโดยมผี เู ขารวมกิจกรรมไดแ ก บุคลากรในสงั กัดสํานกั งาน
ศึกษาธกิ ารจังหวัดนาน จํานวน 50 คน โดยนางณันศภรณ นิลอรุณ ศกึ ษาธกิ ารจังหวดั นา น ประกาศแสดง
เจตจํานงในการบริหารงานของผูบริหารสาํ นกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนา น และประกาศปฏญิ ญา “ขับเคล่อื น
สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนา นเปนองคกรคณุ ธรรม” และบคุ ลากรในสังกดั สํานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวดั นา น
รวมกันประกาศเจตนารมณต อ ตานทุจริต ภายใตแนวคดิ “สาํ นักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นาน ใสสะอาด รว มตา น
ทจุ รติ ” (PEONAN Zero Tolerance) โดยการจดั กิจกรรมดังกลาวเพ่ือกระตุนจติ สาํ นึกใหบคุ ลากรประพฤติ
ปฏิบัตติ นดวยซ่อื สตั ยสุจรติ กลายืนหยัดในส่งิ ทถี่ ูกตอ ง ไมกระทาํ การโกงแผนดิน ไมทนตอการทจุ ริตทุกรูปแบบ
สรางเครอื ขายปอ งกันการทจุ ริตอยางยงั่ ยืน และสอดคลองกับการประเมินคุณธรรมและความโปรงใสในการ
ดาํ เนินงานของหนวยงานภาครฐั ประจําป พ.ศ.2564
กจิ กรรมที่ 2
สํานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นาน จัดอบรมโครงการเสริมสรา งคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าล ใหก ับ
บุคลากรในสังกัด ในวันที่ 30 สิงหาคม 2564 ณ หองจันกะพอ นา นกรนี เลคววิ รีสอรท อ.เมอื งนา น จ.นาน ต้ังแต
เวลา 08.30 – 16.30 น. โดยมีบุคลากรสํานักงานศึกษาธิการจงั หวดั นา น เขารว มกิจกรรม จาํ นวน 50 คน
โดยมีนางณันศภรณ นิลอรุณ ศึกษาธิการจังหวดั นาน เปนประธานในพิธีเปดการอบรม ,บรรยายพิเศษใน
การเสรมิ สรางคุณธรรม จรยิ ธรรมใหแ กบุคลากรทัง้ น้ีมีวทิ ยากรใหการบรรยายและอบรมพฒั นา จํานวน 3 คน คือ
1.นายกณั ตภณ คุมศริ ิ ตาํ แหนง เจา พนักงานปองกันการทุจรติ ชํานาญการ สาํ นักงาน ป.ป.ช.ประจําจังหวดั นาน ให
เกยี รติเปนวทิ ยากรบรรยายในหัวขอ เรื่องสถานการณการทจุ ริตในปจจุบันและในพน้ื ทจ่ี ังหวัดนาน ในระหวา งเวลา
09.00 - 12.00 น.
14
2.นางณันศภรณ นิลอรุณ ศึกษาธกิ ารจังหวัดนาน เปนวทิ ยากรบรรยายในหัวขอ เร่อื งการสง เสริมคุณธรรม
จรยิ ธรรมและธรรมาภิบาลในองคกรอยา งยง่ั ยืน และกรณศี ึกษาสูการปฏิบตั ิเพื่อสรา งความโปรงใส
ในระหวา งเวลา 13.00 – 14.30 น.
3.นางฐติ มิ า เรง ประเสริฐ ศึกษาธกิ ารจังหวัดนา น เปนวทิ ยากรบรรยายในหัวขอเร่ืองการพัฒนาองคกร
คณุ ธรรมตนแบบ การจดั ทําแผนสง เสรมิ คุณธรรมตน แบบของสํานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนานในระหวา งเวลา
14.30 – 16.30 น. โดยมกี ารแบง กลุม Focus Group (แบงเปน 7 กลมุ ) ทาํ กิจกรรมรวมกันคิดวิเคราะห
ออกแบบ “ลักษณะองคกรคุณธรรมในรปู แบบสํานักงานศึกษาธิการจังหวดั นาน” ภายใตห ลกั พอเพียง วินัย สจุ ริต
จิตอาสา ในรปู แบบ 3 มติ ิ คือมิติท่ี 1 หลักศาสนา มิตทิ ่ี 2 คือหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และมิติที่ 3 คอื
วถิ ีวฒั นธรรม โดยมีตวั แทนแตละกลมุ นาํ เสนอผลการวเิ คราะหถึง “ลักษณะองคก รคุณธรรม” ดังกลาว
โดยปฏิบัติตามมาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของ
สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน กระทรวงศึกษาธิการ และจังหวัดนาน จึงไดจัดโครงการในสถานท่ีเอกชน
เนื่องจากมีความเหมาะสมเรื่องพื้นท่ีการจัดกิจกรรมท่ีตองเวนระยะหางกันตามมาตรการปองกันโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) และมีกลุมเปาหมายท่ีเขารวมโครงการมีจํานวน 50 คน ท้ังนี้ เพ่ือใหเปนไปตาม
คําสั่งคณะกรรมการโรคติดตอจังหวัดนาน ท่ี 25/2564 เรื่อง มาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19
ความพึงพอใจผูเขารวมโครงการ"เสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสํานักงานศึกษาธิการ
จังหวดั นา น"ในแตล ะดาน พบวา ความพึงพอใจภาพรวมในการจัดโครงการคร้ังนี้ มีความพึงพอใจในระดับมาก โดย
มีคา เฉล่ีย เทากับ 4.229 สวนเบ่ียงเบนมาตรฐาน เทากับ 0.730 คิดเปนรอยละ 84.58 เม่ือวเิ คราะหรายดาน
พบวา ความพึงพอใจในการจัดอบรมโครงการคร้ังนี้มีคาเฉลี่ยสูงสุด (4.419) รองลงมา ดานสถานท่ีฝกอบรม
(4.355) และดา นวิทยากร (4.234) ตามลําดบั
15. ผลการดําเนินงานตามตวั ชี้วัด
ตวั ชี้วัด คา เปาหมาย ผลการดําเนนิ งาน
จํานวนเปา หมาย ผลการดาํ เนินงาน รอยละ
89
เชิงปริมาณ บุคลากรทางการศกึ ษาในสังกัด บุคลากรทางการศกึ ษาในสังกัด
เชิงคุณภาพ สํานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นาน 100
จาํ นวน 56 คน 56 คน สาํ นักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นา น
บุคลากรทางการศกึ ษาในสงั กัด จาํ นวน 50 คน
สํานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดนาน รอย
ละ 90ไดรับความรคู วามเขา ใจในการ รอ ยละ 90 บุคลากรทางการศกึ ษาในสงั กดั
ประเมนิ คณุ ธรรมและความโปรงใสใน
การดําเนินงานของหนวยงานภาครฐั สาํ นกั งานศึกษาธิการจังหวดั นาน
(Integrity and Transparency
Assessment : ITA)และสามารถนํา ไดร ับความรคู วามเขา ใจในการ
นโยบายตานการทจุ ริตและประพฤติมิ
ชอบไปสูการปฏิบัติ สรา งคา นยิ ม ประเมินคุณธรรมและความโปรง ใส
วัฒนธรรมท่ีสุจริต เพื่อใหเกิด “องคก ร
ภาครัฐตอตา นการทจุ ริต” ในการดาํ เนินงานของหนวยงาน
ภาครฐั (Integrity and
Transparency Assessment :
ITA)และสามารถนาํ นโยบายตา น
การทุจริตและประพฤติมิชอบไปสู
การปฏิบตั ิ สรา งคา นิยมวฒั นธรรม
ท่สี จุ ริต เพือ่ ใหเกดิ “องคกรภาครฐั
ตอตานการทุจริต”
15
๑6. ภาพกจิ กรรมทีเ่ กดิ ขน้ึ ภายในโครงการ / กจิ กรรม
17. งบประมาณ
งบประมาณทีไ่ ดร บั ผลการใชจาย ผลการใชจาย ผลการใชจาย ผลการใชจาย ผลการใชจาย
งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ
ทงั้ หมด งบประมาณรวม งบประมาณ ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
(สะสม) ไตรมาสที่ 1 - 1,260 21,100
40,000 22,360 -
แหลงงบประมาณ สาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
18. ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไ ข
18.1 ปญ หา อปุ สรรค–
18.2 แนวทางแกไข–
19.แผนท่ีจะดําเนนิ การตอ ไป(กจิ กรรมที่จะดําเนินการในไตรมาสตอไป)
-
16
20. ประโยชนท ่สี าธารณชนไดร ับ
บคุ ลากรในสาํ นักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนา น สามารถนําความรูท ่ไี ดรับอบรมเสริมสรา งคุณธรรม จรยิ ธรรม
และธรรมาภิบาลไปเผยแพร และปรับปรุงกลไกการบริหารจัดการงานใหเปนไปตามหลักธรรมาภิบาล โดยเนน
คุณธรรมและความโปรงใสเพ่ือผลักดันไปสู “องคกรคุณธรรม” และมีคะแนนระดับดัชนีการรับรูการทุจริต (CPI)
ของประเทศไทย อยใู นระดบั ท่ีดีย่งิ ขน้ึ
21. ผูรายงาน นางพสชณันค พรหมจรรย ตาํ แหนง นักวเิ คราะหนโยบายและแผนชาํ นาญการ
หนว ยงาน สาํ นักงานศึกษาธิการจงั หวดั นาน โทรศพั ท โทร. 054 710875 โทรสาร 054 710211
E-mail:[email protected]
22. วนั ทีร่ ายงาน ณ วันที่ 30 กนั ยายน 2564
17
แบบรายงานผลการดาํ เนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564
ของสํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
******************************
1. ชอ่ื หนว ยงาน สาํ นักงานศกึ ษาธิการจังหวัดนา น
2. ชือ่ โครงการ จดั ทําแผนปฏิบตั ิราชการดานพฒั นาการศึกษาพ้นื ทีช่ ายแดน ประจําปงบประมาณ พ.ศ.
2564
จงั หวัดนาน สูการปฏิบัติแบบบูรณาการ
3. หวงเวลารายงาน
ไตรมาสท่ี 1 : เดอื น ต.ค. 63 - ธ.ค. 63 ไตรมาสที่ 2 : เดอื น ม.ค. 64 - มี.ค. 64
ไตรมาสท่ี 3 : เดอื น เม.ย. 64 - มิ.ย. 64 ไตรมาสท่ี 4 : เดอื น ก.ค. 64 - ก.ย. 64
สถานะโครงการ ยังไมสนิ้ สดุ โครงการ สน้ิ สดุ โครงการแลว
4. ความสอดคลองกับแผนระดบั ตาง ๆ
(โปรดระบขุ อความ และทําเครือ่ งหมาย √ ในชอง ที่มคี วามสอดคลอ งกบั โครงการ)
4.1 ยุทธศาสตรช าติ (ดานที่ 3 การพฒั นาและเสรมิ สรางศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย)
4.2 แผนแมบทภายใตยทุ ธศาสตรชาติ (ประเดน็ ที่ 12) การพัฒนาการเรียนรู
4.3 แผนยอยภายใตแผนแมบท 12.1 การปฏิรูปกระบวนการเรยี นรูทตี่ อบสนองตอการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี
21
4.4 แผนปฏิรปู ประเทศ (ดา นการศึกษา)
4.5 แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2565)
(ยุทธศาสตรที่ 1 การเสริมสรา งและพฒั นาศักยภาพทุนมนษุ ย)
4.6 แผนความมั่นคง (โปรดระบุ-)
4.7 นโยบายรัฐบาล
4.7.1 นโยบายหลัก การปฏริ ูปกระบวนการเรยี นรูและการพฒั นาศักยภาพของคนไทยทุกชว งวัย
4.7.2 นโยบายเรง ดวน การเตรยี มคนไทยสศู ตวรรษท่ี 21
4.8 ยทุ ธศาสตรต ามแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงศึกษาธิการ
ยทุ ธศาสตรท่ี ๑ การจดั การศึกษาเพ่ือความม่นั คงของสังคมและประเทศชาติ
ยทุ ธศาสตรท ี่ ๒ การผลติ และพฒั นากาํ ลงั คน การวจิ ยั และนวัตกรรมเพอื่ สรางขีดความสามารถ
ในการแขง ขนั ของประเทศ
ยุทธศาสตรท่ี ๓ การพฒั นาศกั ยภาพคนทุกชวงวยั และการสรา งสังคมแหงการเรียนรู
ยทุ ธศาสตรท ่ี ๔ การสรา งโอกาสความเสมอภาคและความเทา เทยี มทางการศึกษา
ยุทธศาสตรท ่ี ๕ การพัฒนาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจดั การศกึ ษา
4.9 ประเดน็ ยุทธศาสตรต ามแผนปฏิบัตริ าชการประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564
ของสาํ นักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบบั จัดทําคาํ ของบประมาณรายจายประจําป 2564)
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท่ี ๑ พฒั นาการจดั การศึกษาเพ่ือความมั่นคง
ประเด็นยทุ ธศาสตรที่ ๒ พฒั นากําลังคน การวิจัย และสรางความสามารถในการแขง ขันของ
ประเทศ
ประเด็นยุทธศาสตรท่ี ๓ พฒั นาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษยใ หมีคณุ ภาพ
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท ี่ ๔ สรางโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท่ี ๕ พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการใหมปี ระสทิ ธิภาพ
18
๔.9.1 แผนงานพืน้ ฐาน
ผลผลติ ที่ 1 นโยบายและแผนดานการศกึ ษา ผลผลิตที่ 5 ผูรับบรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
ผลผลติ ท่ี 2 หนวยงานในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ผลผลิตที่ 6 มาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคล
ไดร ับบริการเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษา ของขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
ผลผลิตท่ี 3 ผไู ดร ับการสงเสรมิ และพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ผลผลติ ท่ี 7 นักเรยี นโรงเรียนเอกชนทีไ่ ดร ับการ
อุดหนนุ
ผลผลิตที่ 4 ผูร บั บรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ ผลผลติ ที่ 8 ผูอาํ นวยการครู และบคุ ลากร
ทางการศึกษาไดร ับการสงเคราะหต ามกฏหมาย
โรงเรียนเอกชน
๔.9.2 แผนงานยทุ ธศาสตร
แผนงานยุทธศาสตรพ ัฒนาเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั
แผนงานยทุ ธศาสตรการวจิ ัยและพัฒนานวัตกรรม
แผนงานยทุ ธศาสตรพฒั นาศักยภาพคนตลอดชว งวัย
แผนงานยทุ ธศาสตรเ พ่ือสนับสนนุ ดานการพัฒนาและเสรมิ สรางศักยภาพทรพั ยากรมนุษย
แผนงานยุทธศาสตรส รางความเสมอภาคทางการศึกษา
๔.9.3 แผนงานบรู ณาการ
แผนงานบูรณาการขับเคลอ่ื นการแกไ ขปญหาจังหวดั ชายแดนภาคใต
แผนงานบูรณาการปองกนั ปราบปราม และบําบัดรกั ษาผูต ิดยาเสพติด
แผนงานบูรณาการพฒั นาพ้ืนที่ระดับภาค
แผนงานบูรณาการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาและการเรียนรู
แผนงานบูรณาการตอ ตานการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ
แผนงานบูรณาการอน่ื ๆ (โปรดระบุ
.........................................................................................)
5. ความสอดคลองกับนโยบายการตรวจราชการและติดตามประเมินผลการจดั การศกึ ษาของ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 (ถา ม)ี
(โปรดระบนุ โยบายขอ
................................................................................................................................................)
6. ความสอดคลองกับนโยบายของหนวยงาน ปง บประมาณ พ.ศ. 2564
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท่ี ๓ การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชว งวยั และกาสรางสังคมแหง การเรยี นรู
ประเดน็ ยุทธศาสตรท ี่ 6 การพฒั นาประสิทธภิ าพของระบบบรหิ ารจดั การศึกษา
7. หลกั การและเหตผุ ล
ดวย ยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป (พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐) เปนยุทธศาสตรชาติฉบับแรกตาม
รฐั ธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย มวี ิสัยทัศน “ประเทศไทยมีความม่นั คง ม่ังคัง่ ยงั่ ยนื เปน ประเทศพัฒนาแลว
ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ขับเคลอื่ นดว ยยุทธศาสตร 6 ยุทธศาตร ที่นําไปสกู าร
ปฏิบัติเพ่ือใหประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน ซึ่งหนวยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาจะตองดําเนินการ
ขับเคลื่อนตามยุทธศาสตรชาตทิ ่ี ๓ ดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรพั ยากรมนุษยที่เปนภารกิจหลัก
ในการดาํ เนินงาน ประกอบกบั แผนแมบทภายใตย ทุ ธศาสตรชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) เปนแผนแมบทหลัก
ในการพัฒนาประเทศเปน สวนสําคัญในการถายทอดเปาหมายและประเด็นยุทธศาสตรข องยุทธศาสตรชาติลงสู
แผนระดับตางๆ สนองประเด็นท่ี 12 การพัฒนาการเรียนรู เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษา
รวมท้ัง การพัฒนากระบวนการเรียนรูของผูเรียนในทุกระดับ ทุกประเภท กระทรวงศึกษาธิการไดมีแผน
ยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ(พ.ศ. 2563-2565) ท่ีมีวิสัยทัศน “กระทรวงศึกษาธิการวางระบบ เพ่ือให
ผูเรียนมีความรู – ทักษะ มีทัศนคติที่ถูกตองตอบานเมือง มีพื้นฐานชีวติ ท่ีมัน่ คง มีคุณธรรมมีงานทํา มอี าชพี
และเปนพลเมืองที่เขมแข็ง” กระทรวงศึกษาธิการยงั ไดมีแผนพัฒนาการศึกษาพื้นทีช่ ายแดน (พ.ศ. 2560 –
19
2564) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ในการพฒั นาการศึกษาในพื้นท่ีชายแดน เพื่อลดความเหล่ือมล้ําทางการศึกษาใน
พื้นที่หางไกล กันดาร และในพ้ืนที่ชายแดน ใหผูเรียนไดรับการศึกษาอยางทั่วถึงและมีคุณภาพอยางตอเนื่อง
และเกิดความย่ังยืน มีทักษะความสามารถที่สอดรับกับทักษะในศตวรรษท่ี 21 ลวนตองสนองตอยุทธศาสตร
ชาติฯ และแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติฯ เพ่ือใหหนว ยงานทางการศึกษาและสถานศึกษาตองนําไปจัดทําแผน
และขับเคล่ือนสูการปฏบิ ตั ใิ หบ รรลผุ ลสําเรจ็ ตามวสิ ยั ทศั นท ี่กาํ หนด
สาํ นกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดนา นมีความตระหนัก และถือปฏิบัตติ ามแนวทางของยุทธศาสตร
ชาติแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติและยุทธศาสตรที่เกี่ยวของทุกระดับ จึงไดจัดทําโครงการจัดทํา
แผนปฏิบัติราชการดานพัฒนาการศึกษาพ้ืนที่ชายแดนประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดนาน สูการ
ปฏิบัติแบบบรู ณาการเพอ่ื ใหห นวยงานทางการศกึ ษา และสถานศึกษาในจังหวัดนา นใชเปนกรอบทิศทางในการ
พัฒนาการศกึ ษาใหกบั สถานศกึ ษา ผเู รียนใหเกดิ ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธิผล และขับเคลื่อนการดาํ เนินงานใหบรรลุ
วิสัยทศั นต ามทก่ี ําหนดตอไป
8. วตั ถุประสงค
1. เพ่ือใหสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน หนวยงานทางการศึกษาและสถานศึกษา จัดทํา
แผนปฏิบัติราชการดานพัฒนาการศึกษาพื้นท่ีชายแดน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดนาน
และขับเคลื่อนการดําเนินงานตามโครงการสูการปฏิบัติแบบบูรณาการ เพ่ือเกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ตอ สถานศึกษาและผเู รยี น
2. เพ่ือขับเคลื่อนโครงการ/กิจกรรม และนําไปพัฒนาตอยอดตามเปาหมายตัวชี้วัด
ความสาํ เร็จในปง บประมาณ พ.ศ. 2565 ใหเกดิ ประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลเพมิ่ ขนึ้
9. ตวั ชว้ี ดั ของโครงการ
9.1 ตวั ชี้วัดเชิงปริมาณ สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนานมีแผนปฏิบัติราชการดานพัฒนา
การศกึ ษาพื้นท่ีชายแดน ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดนา น 1 ฉบบั
3.2 ตวั ชี้วัดเชิงคุณภาพ รอยละ 100 ของหนว ยงานทางการศกึ ษาและสถานศึกษา
สามารถขับเคล่ือนการดาํ เนินงานและบรรลผุ ลสําเรจ็ ตามโครงการเกิดประสิทธิภาพ/ประสิทธิผลตอ สถานศกึ ษา
และผเู รียนไมนอยกวา รอยละ 80
10. กลุมเปา หมายโครงการ สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน หนว ยงานทางการศกึ ษาและสถานศึกษาในพ้ืนท่ี
จังหวัดนาน รวม 11 โครงการ
11. ระยะเวลาดาํ เนนิ การ ตุลาคม 2563 – กันยายน 2564
12. สถานที่ดําเนินการ สํานกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั นา น หนว ยงานทางการศึกษาและสถานศกึ ษาตามเปาหมาย
ตวั ชี้วัดความสําเร็จของโครงการ
13. กจิ กรรมทว่ี างแผนดําเนนิ การ
กจิ กรรมท่ี 1 ประชุมเชงิ ปฏิบัติการจดั ทําแผนปฏิบตั ริ าชการดา นพัฒนาการศกึ ษาพ้นื ทชี่ ายแดนประจาํ ป
งบประมาณ พ.ศ. 2563 จังหวัดนาน งบประมาณ 9,220 บาท (เกา พันสองรอยย่ีสิบบาทถวน)
กจิ กรรมท่ี ๒ พฒั นาผูเ รยี นตามแนวทางปฏริ ูปกระบวนการเรียนรูท ต่ี อบสนองตอ การเปล่ียนแปลงใน
ศตวรรษท่ี 21 กิจกรรมพัฒนาทักษะภาษาไทยใหกบั ผเู รยี นในพ้ืนทีช่ ายแดน ระดบั ปฐมวัย /ป.๑/ป.3/ป.๖/ม.๓
เปาหมาย สพป.นาน เขต 1 ร.ร.บานรม เกลา อ.แมจรมิ (นํารอง) สพป.นา น เขต 2 ร.ร.บา นปางแก อ.ทุง ชาง
งบประมาณ 40,000 บาท (สี่หมน่ื บาทถว น)
กจิ กรรมท่ี 3 การติดตามและรายงานผลการดําเนินงาน
20
14. ผลการดําเนนิ งานของกิจกรรม (จากขอ 13)
กิจกรรมที่ 1 สาํ นกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดนาน หนวยงานทางการศึกษานําแผนพัฒนาการศึกษาพื้นท่ี
ชายแดน (พ.ศ. 2562-2564) ไปใชเปนกรอบทิศทางในการจัดทําแผนปฏิบัติราชการดานพัฒนาการศึกษา
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดนาน จํานวน 1 ฉบับ โครงการขับเคล่ือนการดําเนินงานตามแผน
จาํ นวน 11 โครงการ
กิจกรรมท่ี ๒ พัฒนาผูเรียนตามแนวทางปฏิรูปกระบวนการเรียนรูท่ีตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงใน
ในทศวรรษที่ ๒๑ โดยสถานศึกษานาํ รองมีนวตั กรรมพัฒนาทักษะการอาน – เขียนภาษาไทยสาํ หรับนักเรียน
พน้ื ท่ีชายแดน ระดับชนั้ ประถมศกึ ษาปที่ ๑ จํานวน ๒ ชุด คือ ชุดท่ี ๑ พยัญชนะและสระภาษาไทย และ ชุดที่
๒ คําศพั ทพ ืน้ ฐานในชวี ติ ประจาํ วัน โดยจดั ทําเปนสื่ออิเลคทรอนกิ สท ั้งน้ี ไดจดั ทําคูมือครูและแบบฝกทักษะการ
อาน – เขยี นภาษาไทยสาํ หรบั นกั เรียนพนื้ ทชี่ ายแดน ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาที่ ๑ เพอ่ื ประกอบการใชน วตั กรรม
ทพี่ ัฒนาขน้ึ โดยมีรายละเอียดดังนี้
๑. นวัตกรรมการพัฒนาทักษะการอาน - เขียนภาษาไทยสําหรับนักเรียนพ้ืนท่ี
ชายแดนระดบั ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี ๑ชดุ ที่ ๑ พยญั ชนะและสระภาษาไทย ประกอบดว ย
๑.๑ คมู อื ครปู ระกอบการใชแ บบฝกทกั ษะการอา น - เขียนภาษาไทยสําหรับ
นักเรยี นพื้นทีช่ ายแดน ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปท ่ี ๑ ชุดที่ ๑ มารูจ กั พยญั ชนะและสระภาษาไทยกันเถอะ
๑.๒ แบบฝก ทกั ษะการอาน - เขียนภาษาไทยสําหรับนักเรียนพ้ืนท่ีชายแดน
ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๑ชุดที่ ๑ พยัญชนะและสระภาษาไทย
๒. นวัตกรรมการพัฒนาทักษะการอาน - เขียนภาษาไทยสําหรับนักเรียนพื้นท่ี
ชายแดน ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ ๑ชดุ ท่ี ๒ คําศพั ทพ ื้นฐานในชีวติ ประจําวนั ประกอบดวย
๒.๑ คมู ือครปู ระกอบการใชแ บบฝก ทกั ษะการอาน - เขียนภาษาไทยสําหรับ
นกั เรียนพ้ืนที่ชายแดน (ชาติพนั ธมุ ง ) ระดบั ช้ันประถมศึกษาปท ี่ ๑ ชุดที่ ๒ คาํ ศพั ทพืน้ ฐานในชีวติ ประจาํ วนั
๒.๒ แบบฝกทกั ษะการอาน - เขียนภาษาไทยสําหรับนกั เรียนพื้นท่ีชายแดน
(ชาติพนั ธุมง )ระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ ๑ชุดที่ ๒ คําศพั ทพ ้นื ฐานในชวี ติ ประจาํ วัน
๓. จัดทาํ รูปเลม เอกสารเพอ่ื ใหค รูและผเู รยี นไดเ รยี นรู
3.๑. คูมือครชู ดุ ที่ ๑ พยญั ชนะและสระ จํานวน ๖ เลม
๓.๒. แบบฝกชุดท่ี ๑พยัญชนะและสระ จาํ นวน ๘๐ เลม
๓.๓. คมู อื ครชู ุดที่ ๒ คาํ ศัพทในชวี ิตประจําวัน จํานวน ๖ เลม
๓.๔. แบบฝก ชดุ ที่ ๒คาํ ศัพทในชีวิตประจาํ วัน จาํ นวน ๘๐ เลม
กิจกรรมที่ ๓ การติดตามและรายงานผลการดําเนินงาน
สาํ นักงานศึกษาธิการจังหวัดนา นไดม ีการตดิ ตามการดาํ เนนิ งาน โดยออกแบบฟอรมการรายงานผล
การดาํ เนนิ งาน ใหห นว ยงานทางการศกึ ษาและสถานศกึ ษา รวม 10 โครงการ ตามหนงั สอื ศธจ.นา น ที่ ศธ
๐๒๘๑/ว ๑๗๑๕ ลว.๓๐ ส.ค.๒๕๖๔
15. ผลการดาํ เนินงานตามตวั ชวี้ ัด (จากขอ 9)
เชิงปริมาณ - สาํ นกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนา น หนวยงานทางการศกึ ษานาํ แผนพัฒนาการศึกษาพนื้ ทีช่ ายแดน
(พ.ศ. 2562-2564) ไปใชเ ปน กรอบทิศทางในการจัดทาํ แผนปฏบิ ตั ริ าชการดา นพัฒนาการศกึ ษา ประจําป
งบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดนาน จํานวน 1 ฉบับ
เชงิ คุณภาพ - หนวยงานทางการศกึ ษาและสถานศกึ ษา สามารถขับเคลอ่ื นการดาํ เนินงานและบรรลุผลสําเร็จ
ตามโครงการเกดิ ประสทิ ธิภาพ/ประสทิ ธผิ ลตอสถานศึกษาและผูเรยี นในแตล ะโครงการไมน อ ยกวารอยละ 80
21
๑6. ภาพกิจกรรมที่เกิดขึ้นภายในโครงการ / กจิ กรรม –
กิจกรรมการประชมุ เชิงปฏบิ ัติการการจดั ทาํ แผนปฏิบตั ิราชการดานพฒั นาการศกึ ษาพื้นที่ชายแดน
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 จงั หวัดนาน
สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน จัดประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทําแผนปฏิบัติราชการดาน
พัฒนาการศึกษา พื้นที่ชายแดน ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดนา น ภายใตแ ผนพัฒนาการศึกษา
พื้นที่ชายแดน (พ.ศ. 2562 – 2564) จังหวดั นาน ในวันที่ 25 มกราคม 2564 ณ หองประชุมสัมมนาวุฒิ
สํานกั งานศกึ ษาธกิ ารจงั หวัดนา น อําเภอเมืองนาน จังหวัดนาน โดยมี นางฐิติมา เรงประเสริฐ รองศึกษาธิการ
จังหวัดนาน เปนประธานในพธิ เี ปด และบรรยายพิเศษ
กจิ กรรมการประชมุ อนกุ รรมการบริหารราชการเชงิ ยุทธศาสตร ครง้ั ที่ 1/2564
เพ่ือพิจารณาใหความเหน็ ชอบแผนปฏิบตั ิราชการดานพฒั นาการศกึ ษาพนื้ ทชี่ ายแดน
ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 จังหวัดนานแผนปฏิบัติราชการดานพัฒนาการศกึ ษาพนื้ ท่ีชายแดน
ประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564 จงั หวัดนาน
22
กิจกรรมการประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ ารพัฒนานวตั กรรมเพอ่ื พัฒนาทักษะภาษาไทยใหก บั ผูเรยี นในพ้นื ทช่ี ายแดน
เพ่ือพฒั นานวตั กรรมในการพฒั นาการอา นเขยี นภาษาไทยใหกับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 1 ในพ้นื ท่ี
ชายแดน ทั้งนี้กลุมเปา หมาย ไดแ ก โรงเรียนบา นรมเกลา สํานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษานา น เขต
1
และโรงเรยี นบา นปางแก สํานักงานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษานาน เขต 2
โดยมี นางณนั ศภรณ นลิ อรณุ ศึกษาธิการจงั หวดั นาน เปน ประธานในพธิ ีเปด และบรรยายพิเศษ
ระหวางวนั ที่ 11 – 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2564 ณ หองประชมุ สริ ิสาธร สํานักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดนาน
17. งบประมาณ
งบประมาณที่ 23
ไดรับทัง้ หมด
ผลการใชจ า ย ผลการใชจ า ย ผลการใชจ าย ผลการใชจ า ย ผลการใชจ า ย
73,800 บาท งบประมาณรวม งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ
(สะสม) ไตรมาสท่ี 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4
แหลงงบประมาณ ศธจ.นา น /สาํ นักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
18. ปญหา อปุ สรรค และแนวทางแกไ ข
18.1 ปญ หา อุปสรรค – มีหนวยงานทางการศกึ ษาและสถานศกึ ษาเปน สวนนอยท่ี
ขับเคลื่อนการดาํ เนนิ งานตามแผนฯ เน่ืองจากมงี บประมาณไมเพยี งพอ ประกอบกับปญหาของสถานการณข อง
โรคระบาด COVID – 19 ทาํ ใหการดําเนนิ งานมอี ปุ สรรค
18.2 แนวทางแกไข – หนวยงานทางการศกึ ษาและสถานศึกษามกี ารปรับเปลย่ี นวิธีการ
ดาํ เนินงานโดยผา นกระบวนการใชเทคโนโลยดี จิ ิทลั ระบบ Online มาจัดการเรียนการสอน ปอ งกนั ปญ หา
สถานการณของโรคระบาด COVID – 19
19. แผนท่จี ะดาํ เนนิ การตอ ไป – (ไมมแี ผนการดําเนนิ งานเนื่องจากเสรจ็ สน้ิ โครงการ)
20. ประโยชนท ่ีสาธารณชนไดรับ
20.1 สํานักงานศกึ ษาธิการจังหวัดนาน หนว ยงานทางการศกึ ษาและสถานศึกษา มีแผนเปน
เคร่ืองมือ และเปนกรอบทศิ ทางในการพฒั นาการศึกษาพนื้ ทชี่ ายแดนของจังหวดั นา น
20.2 สถานศึกษาขับเคล่ือนโครงการตามแผนปฏิบัติราชการดานพัฒนาการศึกษาพ้ืนที่
ชายแดนทําใหครู และผูเรียน ไดรับการเรียนรู และสงเสริมการจัดการเรียนการสอน ทักษะทางการเรียนรู
ทกั ษะชวี ิตใหก ับผูเรียน
21. ผรู ายงาน นางพสชณันค พรหมจรรย ตําแหนง นกั วเิ คราะหนโยบายและแผนชาํ นาญการ
หนว ยงาน สํานกั งานศึกษาธิการจงั หวัดนาน โทรศพั ท โทร. 054 710875 โทรสาร 054 710211
E-mail:[email protected]
22. วันทร่ี ายงาน ณ วันท่ี 30 กนั ยายน 2564
24
แบบรายงานผลการดาํ เนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตริ าชการ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564
ของสํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
******************************
1. ชื่อหนว ยงาน สํานักงานศึกษาธิการจงั หวัดนา น
2. ชื่อโครงการ สรางและสงเสริมความเปนพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาทดานการศึกษาสูการปฏิบัติ
3. หว งเวลารายงาน
ไตรมาสท่ี 1 : เดือน ต.ค. 63 - ธ.ค. 63 ไตรมาสท่ี 2 : เดือน ม.ค. 64 - มี.ค. 64
ไตรมาสท่ี 3 : เดือน เม.ย. 64 - มิ.ย. 64 ไตรมาสท่ี 4 : เดอื น ก.ค. 64 - ก.ย. 64
สถานะโครงการ ยงั ไมส ิ้นสดุ โครงการ สนิ้ สุดโครงการแลว
4. ความสอดคลองกบั แผนระดับตา ง ๆ
(โปรดระบขุ อ ความ และทําเครอ่ื งหมาย √ ในชอง ทมี่ ีความสอดคลองกับโครงการ)
√ 4.1 ยุทธศาสตรช าติ (ดา นที่ 3 การพฒั นาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย)
√ 4.2 แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรช าติ (ประเด็นที่ 1๑) การพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชวงชีวิต
11.3 การพัฒนาคนทกุ ชวงวยั (เรยี น/วยั รุน)
√ 4.3 แผนยอยภายใตแผนแมบ ท (12.1 การปฏริ ปู กระบวนการเรียนรทู ีต่ อบสนองตอการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21
√ 4.4 แผนปฏิรปู ประเทศ (ดา นการศึกษา)
4.5 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2565)
(ยุทธศาสตรท ่ี 1 การเสรมิ สรา งและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนษุ ย)
4.6 แผนความมัน่ คง (โปรดระบุ-)
4.7 นโยบายรัฐบาล
4.7.1 นโยบายหลกั การปฏิรูปกระบวนการเรียนรูและการพฒั นาศกั ยภาพของคนไทยทกุ ชวงวัย
4.7.2 นโยบายเรงดว น การเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21
4.8 ยทุ ธศาสตรตามแผนปฏบิ ัตริ าชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงศกึ ษาธิการ
ยุทธศาสตรท ี่ ๑ การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสงั คมและประเทศชาติ
ยุทธศาสตรท ่ี ๒ การผลติ และพัฒนากาํ ลงั คน การวจิ ยั และนวตั กรรมเพ่ือสรา งขีดความสามารถ
ในการแขง ขันของประเทศ
ยทุ ธศาสตรที่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัยและการสรางสงั คมแหงการเรยี นรู
ยุทธศาสตรท ่ี ๔ การสรางโอกาสความเสมอภาคและความเทา เทียมทางการศึกษา
ยทุ ธศาสตรท่ี ๕ การพฒั นาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจดั การศึกษา
4.9 ประเด็นยทุ ธศาสตรตามแผนปฏิบตั ริ าชการประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564
ของสํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร (ฉบบั จัดทําคําของบประมาณรายจายประจําป 2564)
ประเด็นยุทธศาสตรท ี่ ๑ พฒั นาการจัดการศึกษาเพอื่ ความม่ันคง
ประเดน็ ยทุ ธศาสตรที่ ๒ พฒั นากาํ ลงั คน การวิจยั และสรางความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ
ประเด็นยทุ ธศาสตรท ่ี ๓ พฒั นาและเสริมสรางศักยภาพทรพั ยากรมนุษยใหม คี ณุ ภาพ
ประเดน็ ยุทธศาสตรท ี่ ๔ สรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
ประเด็นยุทธศาสตรท ี่ ๕ พฒั นาระบบบริหารจัดการใหมปี ระสทิ ธภิ าพ
25
๔.9.1 แผนงานพนื้ ฐาน
ผลผลิตที่ 1 นโยบายและแผนดานการศกึ ษา ผลผลิตท่ี 5 ผรู ับบริการการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
ผลผลติ ท่ี 2 หนว ยงานในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผลผลติ ท่ี 6 มาตรฐานการบรหิ ารงานบคุ คล
ไดรับบรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา ของขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ผลผลติ ที่ 3 ผไู ดร ับการสง เสริมและพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ผลผลิตที่ 7 นักเรยี นโรงเรยี นเอกชนทไ่ี ดร บั การ
อดุ หนนุ
ผลผลิตท่ี 4 ผูรบั บริการการศกึ ษานอกระบบ ผลผลิตที่ 8 ผูอํานวยการครู และบุคลากรทางการ
ศึกษาไดรับการสงเคราะหตามกฏหมายโรงเรียนเอกชน
๔.9.2 แผนงานยทุ ธศาสตร
แผนงานยุทธศาสตรพฒั นาเศรษฐกิจดิจิทัล
แผนงานยทุ ธศาสตรก ารวจิ ยั และพฒั นานวตั กรรม
แผนงานยุทธศาสตรพัฒนาศักยภาพคนตลอดชว งวยั
แผนงานยทุ ธศาสตรเ พื่อสนับสนุนดานการพัฒนาและเสริมสรา งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย
แผนงานยทุ ธศาสตรสรางความเสมอภาคทางการศกึ ษา
๔.9.3 แผนงานบรู ณาการ
แผนงานบรู ณาการขบั เคล่ือนการแกไขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใต
แผนงานบรู ณาการปองกัน ปราบปราม และบําบดั รักษาผตู ิดยาเสพตดิ
แผนงานบูรณาการพฒั นาพนื้ ท่ีระดบั ภาค
แผนงานบูรณาการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรียนรู
แผนงานบรู ณาการตอตานการทุจริตและประพฤติมชิ อบ
แผนงานบูรณาการอ่ืน ๆ (โปรดระบุ.........................................................................................)
5. ความสอดคลองกับนโยบายการตรวจราชการและติดตามประเมินผลการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564 (ถามี)
(โปรดระบนุ โยบายขอ................................................................................................................................................)
6. ความสอดคลองกบั นโยบายของหนวยงาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
สํานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั นา น ยุทธศาสตรท ี่ ๑. การจัดการศึกษาเพือ่ ความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ
7. หลกั การและเหตผุ ล
ดวยยุทธศาสตรชาติ ๒๐ ป (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐) กําหนดวิสัยทัศน คือ “คนไทยทุกคนไดรับการศึกษา
และเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีคุณภาพ ดํารงชีวติ อยางเปนสุข สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ
การปฏริ ูปการเรียนรทู ีต่ อบสนองตอการเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑” โดยมีวตั ถุประสงคหลักคือการศกึ ษาเรียนรู
พระราชกรณยี กิจของพระราชวงศจกั รี มีเจตคตทิ ด่ี ีตอบานเมือง มีพ้ืนฐานชีวิตท่ีม่ันคง มีคณุ ธรรม มีงานทาํ มีอาชีพ
และเปน พลเมืองดี ไดศ กึ ษาเรียนรูนวัตวถิ ที อ งถ่ิน มีจิตสํานึกและภูมิใจในทองถิ่นและชมุ ชนของตนเอง
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยทุกฉบับ กําหนดรูปแบบการปกครองและประมุขแหงรัฐไววา
ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเ ปนประมุข เปนการเทิดทูนพระมหากษตั ริย
คือทรงดํารงอยูในฐานะอันเปนท่ีเคารพสักการะ ผูใดจะละเมิดมิได และพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู ไดท รงตอบรบั การขน้ึ ทรงราชย เปนพระมหากษตั ริยพ ระองคที่ ๑๐
แหง พระบรมราชจักรวี งศ เม่ือวนั ท่ี ๑ ธนั วาคม ๒๕๕๙ และมพี ระราชดํารัสตอบรบั การข้นึ ทรงราชย มคี วามวา...
“ตามท่ีประธานสภานติ ิบญั ญัติแหงชาติ ปฏิบตั ิหนาทป่ี ระธานรฐั สภา ไดกลา วในนามของปวงชนชาวไทยเชิญ
26
ขาพเจาข้ึนครองราชยเปนพระมหากษัตริย วาเปนไปตามพระราชประสงคของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพล
อดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร และเปนไปตามบทบัญญัติของกฏมณเทียรบาลวา ดวยการสืบราชสนั ตติวงศ กับ
รัฐธรรมนญู ของราชอาณาจกั รไทยนน้ั ขา พเจา ขอตอบรบั เพื่อสนองพระราชปณธิ าน และเพื่อประโยชนข อง
ประชาชนชาวไทยท้ังปวง” กอปรกับพระราชปณิธานดานการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพติ ร คอื การสรางคนดี ซง่ึ พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู ัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร
ทรงมีพระบรมราโชบาย เพ่ือสืบสานพระราชปณิธานแหงองคพ ระบรมชนกนาถในการสรางคนดี ใหแกบานเมือง
โดยทรงมุงใหการศกึ ษาตองสรา งพน้ื ฐานแกน ักเรียน ๔ ดา น ประกอบดว ย
(๑) การมที ศั นคติ ทีถ่ กู ตองตอ บา นเมอื ง (๒) การมีพ้นื ฐานชีวติ ท่ีมั่งคงมีคุณธรรม
(๓) การมีงานทํา-มอี าชพี (๔) การเปนพลเมืองดี
และตามบทบาทของกระทรวงศึกษาธิการท่ีมีหนาที่สงเสริมการศึกษาใหกับประชาชน อยางท่ัวถึงและเทาเทียม
สรางความเสมอภาคและโอกาสทางการศึกษา สงเสริมใหหนวยงานตาง ๆ ไดมีสว นรวมในการจัดการศกึ ษาทั้งใน
ระบบ และนอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัยและการเรียนรูตลอดชีวิต ใหบริการแกสังคม พัฒนาบุคลากรทาง
การศึกษา สงเสริมใหผูเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค โดยการนอมนําพระราโชบายดานการศึกษาใน
พระบาทสมเดจ็ พระวชิรเกลาเจา อยูห ัว ในหลวงรัชกาลที่ ๑๐ สูการปฏิบัติ และยดึ ม่ันปฏิบัติเปนหลักในการพัฒนา
การศกึ ษาของชาติ ใหเ จริญกา วหนาอยา งเปน รปู ธรรม
ดงั น้ัน กระทรวงศึกษาธิการ /สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน จึงปฏิบัติภารกิจดานการศกึ ษาใหเปนไป
ตามแผนการปฏิรูปประเทศ โดยมีเปาหมายเพื่อขับเคลื่อนการปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพ่ือตอบสนอง
การเปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ เพื่อใหสงเสริมใหนักเรียน ขาราชการครู บุคลากรทางการศึกษา ไดเรียนรู
พระราชกรณียกิจของพระราชวงศจักรี มีเจตคติท่ีดีตอบานเมือง มีโอกาสทําหนาท่ีเปนพลเมืองดี มีพื้นฐานชีวิต
ท่ีมั่นคงและมีคณุ ธรรม และไดเรียนรูถึงนวัตวถิ ีของทองถิ่นและชุมชน มจี ิตสํานึกรักและภูมิใจในทองถิ่นและชุมชน
ของตนเอง สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน จึงจัดทําโครงการสรางและสงเสริมความเปนพลเมืองดี
ตามรอยพระยคุ ลบาทดา นการศึกษาสูการปฏิบัติ ฉบับนขี้ ึน้
๘. วตั ถปุ ระสงค
๑. เพอื่ สงเสริมใหนักเรียน ไดศ ึกษาเรียนรูพระราชกรณยี กิจของพระราชวงศจักรี
๒. เพื่อสงเสริมใหนักเรียน มีเจตคติที่ดีตอบานเมือง มีโอกาสทําหนาท่ีเปนพลเมืองดี มีพื้นฐาน
ชีวติ ทีม่ นั่ คงและมคี ุณธรรม
3. เพ่ือสงเสริมใหค รู บุคลากรทางการศึกษา และนักเรียน ไดเรียนรูถึงนวัตวิถีของทองถิ่นและ
ชุมชน มจี ิตสํานึกรักและภูมิใจในทอ งถิ่นและชมุ ชนของตนเอง
๙. ตัวช้ีวัดของโครงการ
๙.1 ตวั ชีว้ ดั เชงิ ปริมาณ
นักเรยี นระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน,ตอนปลาย ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สงั กัด
สพม.นา น จํานวน ๑,๒๐๗ คน เขารวมกิจกรรม การอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร “คายพลเมืองดตี ามรอยพระยุคลบาท”
๑) โรงเรยี นเชียงกลาง “ประชาพัฒนา” จาํ นวน ๑๗๓ คน
๒) โรงเรยี นทาวงั ผาพทิ ยาคม จาํ นวน ๒๖๐ คน
๓) โรงเรยี นนันทบรุ ีวทิ ยาในพระบรมราชานเุ คราะห จํานวน ๑๘๓ คน
๔) โรงเรยี นนานอย จาํ นวน ๑๗๙ คน
๕) โรงเรียนราชประชานเุ คราะห ๕๖ จาํ นวน ๒๓๐ คน
๖) โรงเรยี นมัธยมพระราชทานเฉลมิ พระเกียรติ จาํ นวน ๑๘๒ คน
27
รวมท้ังส้ิน ๑,๒๐๗ คน
๙.2 ตัวชวี้ ดั เชิงคุณภาพ
กิจกรรมท่ี ๓ -๔ รอยละ ๑๐๐ ของนกั เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน,ตอนปลาย ครูสังกัด
สพม.นาน มีความรักสถาบันหลักของชาตแิ ละยึดมั่นการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรง
เปน ประมขุ และ มีจิตสํานกึ ในการนอมนาํ จติ อาสารกั ษบา น รักษถน่ิ เพือ่ ความเปนพลเมืองดีของสงั คม
๑) นักเรยี นมคี วามรูไ มต า่ํ กวา รอ ยละ ๘๐ จํานวน ๒๙๑ คน คดิ เปน รอ ยละ ๒๗.๖๔
๒) นักเรยี นผา นการฝก อบรมตามเกณฑท ่กี ําหนด จาํ นวน ๑,๐๔๕ คน คิดเปน รอยละ ๑๐๐
๓) ผลการสาํ รวจความพึงพอใจตอ การจัดกิจกรรมอยใู นระดบั มาก จาํ นวน ๗๒๐ คน คดิ เปนรอยละ
๖๘.๓๘
๑๐. กลุมเปาหมายโครงการ
กิจกรรมที่ ๓ -๔ นักเรียนระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนตน ขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการ
ศกึ ษา สงั กดั สพม.นา นจํานวน ๑,๒๐๗ คน เขา รวมกิจกรรม การอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร “คายพลเมืองดีตามรอย
พระยคุ ลบาท”
๑๑. ระยะเวลาดําเนินการ กจิ กรรมท่ี ๓ – ๔ ระหวาง กรกฎาคม ๒๕๖๔- กันยายน 2564
๑๒. สถานทีด่ าํ เนินการ ๑. โรงเรยี นเชยี งกลาง “ประชาพัฒนา” อําเภอเชยี งกลาง จังหวดั นาน
๒. โรงเรียนทาวงั ผาพิทยาคม อําเภอทาวังผา จังหวัดนา น
๓. โรงเรยี นนันทบรุ วี ทิ ยา ในพระบรมราชานุเคราะห อาํ เภอเมืองนาน จังหวดั นา น
๔. โรงเรียนนานอ ย อําเภอนานอย จังหวัดนาน
๕. โรงเรยี นราชประชานุเคราะห ๕๖ อาํ เภอเวยี งสา จังหวดั นาน
๖. โรงเรียนมัธยมพระราชทานเฉลิมพระเกยี รติ อาํ เภอเฉลมิ พระเกียรติ จังหวัดนา น
13. กิจกรรมทีว่ างแผนดําเนินการ
๑. กิจกรรมที่ ๑ ประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคล่ือนการดําเนินงานโครงการสรางและ สงเสริมความ
เปนพลเมืองดีตามรอยพระยุคลบาทดานการศึกษาสูการปฏิบัติ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ณ โรงแรมรอยลั ซติ ี้ ปน เกลา กรงุ เทพมหานคร
๒. กิจกรรมที่ ๒ การขับเคล่ือนสถานศึกษาพอเพียงและการประเมินโรงเรียนที่ขอรบั การประเมิน
เปน สถานศกึ ษาพอเพียงในระดบั จังหวดั
๓. กิจกรรมท่ี ๓ ประชุมคณะวทิ ยากร จิตอาสา ๙๐๔
๔. กิจกรรมท่ี ๔ อบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ
๕. กจิ กรรมท่ี ๕ ประชุมสรุปโครงการ
๖. กิจกรรมที่ ๖ สรปุ และรายงานผลการดาํ เนินการ
14. ผลการดําเนนิ งานของกิจกรรม (จากขอ13)
๑. กิจกรรมที่ ๑ ประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ ารขับเคลื่อนการดําเนินงานโครงการสรางและ สงเสริมความเปนพลเมือง
ดตี ามรอยพระยุคลบาทดา นการศึกษาสูการปฏิบตั ิ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ณ โรงแรมรอยัล ซิต้ี
ปนเกลา กรุงเทพมหานคร มีผูเขารวมประชุมเชิงปฏิบัติการ จํานวน ๒ คน จากกลุมลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการ
นักเรยี น สาํ นกั งานศึกษาธกิ ารจังหวดั นาน
28
๒. กจิ กรรมท่ี ๒ การขบั เคล่ือนสถานศึกษาพอเพียงและการประเมินโรงเรยี นทข่ี อรับการประเมินเปน
สถานศกึ ษาพอเพียงในระดับจังหวัด โดยกลุมนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผล เปนผดู าํ เนินการ
๓.กิจกรรมที่ ๓ ประชมุ คณะวิทยากร จิตอาสา ๙๐๔ ไดรบั ความรวมมือจากคณะวทิ ยากรจิตอาสา ๙๐๔ เปน
วทิ ยากรบรรยายและทํากิจกรรม ภายใตห วขอ “ใตรมพระบารมีจักรีวงศ”
๔. กจิ กรรมที่ ๔ อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร “คา ยพลเมอื งดีตามรอยพระยคุ ลบาท” จํานวน ๖ รนุ ๖ อําเภอ
๔.๑ ผลทไี่ ดจ ากการดาํ เนินงาน ผเู ขา รว มกิจกรรมคา ยจํานวน ๑,๒๐๗ คน
๔.๑.๒ นกั เรยี น จาํ นวน ๑,๐๔๕ คน
๔.๑.๓ วิทยากร ,บคุ ลากรครู ,คณะกรรมการดําเนินงาน จาํ นวน ๑๖๒ คน
๔.๑.๔ โรงเรยี นทเ่ี ขารว มกจิ กรรม จาํ นวน ๖ โรงเรยี น จาก ๖ อาํ เภอ
๔.๒ ผลการใชจ า ยงบประมาณ
๔.๒.๑ ไดรบั จาํ นวน ๓๔๙,๖๙๐ บาท
๔.๒.๒ ใชจา ยไปจํานวน ๓๒๑,๓๘๖ บาท
๔.๒.๓ คงเหลือทั้งสน้ิ ๒๘,๓๐๔ บาท
๔.๓ ผลการเก็บขอมูล สอบถามความพึงพอใจตอ การใหบริการดานตางๆ โดยหาคาเฉลี่ย หรือคา
รอยละและการแจงนับ จากความพึงพอใจอ่ืน ๆ หรือขอเสนอแนะของผูเขารวมกิจกรรม ความพึงพอใจของ
นักเรียนที่มีตอ การเขาคา ย “พลเมืองดี ตามรอยพระยคุ ลบาท”
๔.๓.๑ ความพึงพอใจตอ กระบวนการ/ขัน้ ตอนการดาํ เนนิ การ
๑. ข้นั ตอนการดําเนินการไมยงุ ยาก ซบั ซอ น เขาใจงาย อยใู นระดบั พอใจปานกลาง
๒. การดาํ เนินการมคี วามถูกตอง รวดเรว็ อยใู นระดบั พอใจมาก
๓. ระยะเวลาในการดาํ เนนิ การเหมาะสมกับกจิ กรรม อยใู นระดบั พอใจปานกลาง
๔. ความชดั เจนในการอธิบาย ชีแ้ จง อยูในระดบั พอใจปานกลาง
๕. การใหบ รกิ ารเปน ไปตามลาํ ดับอยา งยตุ ธิ รรม อยใู นระดับพอใจมาก
ภาพรวม ความพึงพอใจตอ กระบวนการ/ขน้ั ตอนการดาํ เนินการ อยใู นระดบั พอใจ
ปานกลาง
๔.๓.๒. ความพึงพอใจตอ เจาหนา ท่ีผูด าํ เนินโครงการ
๑. เจา หนาท่ีมีความสุภาพ เปน มติ ร อยูในระดับพอใจมากท่สี ดุ
๒. เจา หนาที่ใหบ รกิ ารดว ยความสะดวก รวดเรว็ อยูในระดับพอใจมาก
๓. เจาหนา ทีด่ แู ลเอาใจใส กระตอื รือรน เตม็ ใจใหบริการ อยูใ นระดบั พอใจมาก
๔. เจาหนา ท่ีใหคาํ แนะนาํ หรือตอบขอซกั ถามไดเปน อยา งดี อยใู นระดับพอใจปานกลาง
๕. เจา หนาทใี่ หคาํ อธิบายและตอบขอสงสยั ไดตรงประเดน็ อยใู นระดบั พอใจมาก
ภาพรวม ความพงึ พอใจตอกระบวนการ/ขัน้ ตอนการดําเนินการ อยูใ นระดบั พอใจมาก
๔.๓.๓ ความพงึ พอใจตอ สิง่ อํานวยความสะดวก
๑. สถานทเ่ี หมาะสมกบั จาํ นวนผเู ขา รับการอบรม อยใู นระดบั พอใจมาก
๒. วสั ดุ /อปุ กรณ/ เหมาะสม เพียงพอ อยใู นระดบั พอใจปานกลาง
29
๓. อาหาร - อาหารวางและเครอื่ งดืม่ เหมาะสม เพียงพอ อยูในระดบั พอใจมาก
๔. เครื่องเสียง / เครอ่ื งฉาย ทีเ่ หมาะสม อยูในระดับพอใจมาก
ภาพรวม ความพงึ พอใจตอกระบวนการ/ขัน้ ตอนการดําเนินการ อยูใ นระดบั พอใจมาก
๔.๓.๔ ความพึงพอใจตอ คณุ ภาพของการใหบ ริการ
๑. ไดร บั บริการที่ตรงตามความตอ งการ อยใู นระดับพอใจมาก
๒. ไดร ับบรกิ ารทคี่ รบถวน ถกู ตอง อยูใ นระดับพอใจมาก
๓. มคี วามชดั เจนในการใหค ําแนะนาํ ที่เปน ประโยชน อยใู นระดับพอใจมากท่ีสดุ
ภาพรวม ความพึงพอใจตอ กระบวนการ/ข้นั ตอนการดําเนนิ การ อยูใ นระดบั พอใจมาก
ผลการดําเนินงาน เมื่อพิจารณาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอ การเขาคาย “พลเมืองดี
ตามรอย พระยุคลบาท” ในภาพรวมพบวา นักเรียนมีความพึงพอใจตอการเขาคาย “พลเมืองดี ตามรอย
พระยคุ ลบาท” อยใู นระดบั พอใจมาก
ขอ เสนอแนะ และขอคดิ เห็นเพิม่ เตมิ
๑. เวลาในแตละรายวิชาควรมมี ากกวา นี้ เพอื่ จะไดท าํ กิจกรรมไดมากข้นึ
๒. กระบวนการนําเสนอ/กจิ กรรม ไมน าสนใจ ไมต ่นื เตน
๓. ควรมรี างวลั ในกจิ กรรม ถาม-ตอบ เพือ่ กระตุนความสนใจ
๔. ลําดบั ข้นั ตอนการจดั กิจกรรมไมกระชับ
๕. อาหารและอาหารวา ง บางพนื้ ท่ี ไมเพยี งพอ
๖. ควรมกี จิ กรรมการเลน เกม สันทนาการสลับเปน บางชว งเวลา จะทาํ ใหน กั เรียนไมง วง,เบ่ือ
๗. สถานทใ่ี นการฝกอบรมบางพน้ื ที่ ไมเอ้อื ตอ การจดั กิจกรรมบางกิจกรรม สอ่ื ไมช ัดเจน
หองประชุมสวา งมากทาํ ใหมองสอ่ื ท่ีนาํ เสนอไมรูเรือ่ ง ไมชัดเจน
๘. บางพื้นที่ ระบบเสยี งติดขดั
๙. อากาศรอ นไมเ อือ้ ตอ การจัดกิจกรรมและการเรยี นรู
15. ผลการดําเนินงานตามตวั ชว้ี ดั
ตวั ช้วี ดั คา เปาหมาย ผลการดําเนินงาน
จํานวน ผลการดาํ เนินงาน รอยละ
เปา หมาย
๑,๒๐๗ คน นกั เรียนระดบั ช้ันมัธยมศึกษาตอนตน,ตอนปลาย ขาราชการครแู ละ
เชงิ ปรมิ าณ ๑,๒๐๗ คน บุคลากรทางการศกึ ษา สงั กัด สพม.นาน จํานวน ๑,๒๐๗ คน เขา รว ม ๑๐๐
กจิ กรรม การอบรมเชิงปฏิบัตกิ าร “คายพลเมืองดีตามรอยพระยคุ ล
บาท”
๑) โรงเรียนเชียงกลาง “ประชาพฒั นา”จาํ นวน ๑๗๓ คน
๒) โรงเรียนทา วงั ผาพทิ ยาคม จํานวน ๒๖๐ คน
๓) โรงเรียนนนั ทบรุ ีวทิ ยาในพระบรม ราชานเุ คราะหจํานวน ๑๘๓ คน
๔) โรงเรียนนานอ ยจาํ นวน ๑๗๙ คน
๕) โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห ๕๖ จํานวน ๒๓๐ คน
๖) โรงเรียนมธั ยมพระราชทานเฉลิมพระเกียรติจํานวน ๑๘๒ คน
รวมทง้ั สิน้ ๑,๒๐๗ คน
30
เชงิ คณุ ภาพ รอ ยละ ๑๐๐ รอ ยละ รอยละ ๑๐๐ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน,ตอนปลาย ครู ๑๐๐
๑๐๐ สังกัด สพม.นานมีความรักสถาบันหลักของชาติและยึดมั่นการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และ มี
จิตสาํ นกึ ในการนอมนาํ จติ อาสารักษบา น รักษถ ิ่น เพื่อความเปนพลเมือง
ดีของสังคม
๑) นักเรยี นมคี วามรไู มตา่ํ กวา รอ ยละ ๘๐ จํานวน ๒๙๑ คน คดิ เปนรอย
ละ ๒๗.๖๔
๒) นักเรียนผานการฝกอบรมตามเกณฑที่กําหนดจํานวน ๑,๐๔๕ คน
คดิ เปน รอยละ ๑๐๐
๓) ผลการสํารวจความพึงพอใจตอการจัดกิจกรรมอยูในระดับ มาก
จํานวน ๗๒๐ คน คดิ เปน รอยละ ๖๘.๓๘
๑6. ภาพกิจกรรมทีเ่ กิดข้นึ ภายในโครงการ / กิจกรรม (ท่ีส่ือถงึ การดาํ เนินการสูความสําเรจ็ จํานวน 5 ภาพ)
17. งบประมาณ
งบประมาณทไี่ ดร ับ ผลการใชจ าย ผลการใชจาย ผลการใชจาย ผลการใชจาย ผลการใชจาย
ทง้ั หมด งบประมาณรวม งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ
(สะสม) ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
๓๔๙,๖๙๐ ๓๒๑,๓๘๖ ๕,๖๕๔ 40,000 - ๒๗๕,๗๓๒
แหลง งบประมาณ สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
18. ปญ หา อุปสรรค และแนวทางแกไ ข
๑๘.๑ ปญ หา อุปสรรค
๑. สภาพแวดลอมมีธรรมชาตทิ ี่ไมเ ออื้ ตอ การจัดกิจกรรม เชนอากาศรอน
๒. กิจกรรมบางกจิ กรรมตองปรับเวลา ตามสภาพความสนใจของผูเ ขา รับการฝก อบรม
๓. ตองเพ่ิมความระวงั ตามมาตรการ การแพรระบาดของเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควทิ - ๑๙)
๔. การเดินทางของคณะกรรมการดําเนินงาน วิทยากร ในการปฏิบัติงาน เนื่องจากสถานศึกษาบางแหงไกล การ
เดนิ ทางตอ งใชเ วลา
๕. สภาพสถานที่ท่จี ัดการฝกอบรมของสถานศกึ ษาบางแหงไมเอ้ืออํานวยตอการใชร ะบบโสตทัศนปู กรณในการเรียนรู
๖. บริบทและความสนใจของผูเขารับการฝกอบรมเปนไปตามวฒุ ิภาวะของนักเรียน ซ่ึงถาเปน นักเรียนระดับช้ัน
มธั ยมศึกษาตอนตน จะมวี ฒุ ภิ าวะในการเรยี นรนู อ ยกวา นกั เรยี นระดับช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย
31
๗. เนื้อหาสาระในการเรียนรูบางรายวิชาหนักเกินไปสําหรับการเรียนรูตามวุฒิภาวะของนักเรียนในระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนตน
๘. ขาดกระบวนการกลุม การระดมสมอง การแลกเปล่ียนเรียนรู เนื่องจากตองรักษามาตรการ การแพรระบาดของ
เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควทิ - ๑๙) ของสาธารณสขุ อยา งเครงครดั
๙. ไมมีความหลากหลายของสถานศกึ ษา ทําใหไมเกิดกระบวนแลกเปลี่ยนประสบการณ การเรียนรู บริบท ของแต
ละพนื้ ท่ี เนอ่ื งจากเปน นักเรียนในโรงเรียนท่ีจดั การฝก อบรมเทานนั้
18.2 แนวทางแกไ ข
๑. ความหลากหลายของผเู ขารบั การฝกอบรม จากหลายสถานท่ี/โรงเรยี น
๒. ความเหมาะสมของสถานทท่ี ําใหเกิดกระบวนการเรียนรูท ีบ่ รรลุถึง เปาหมาย และวัตถปุ ระสงค
๓. ความเหมาะสมของวฒุ ภิ าวะ ตลอดถึงเนือ้ หาสาระในการเรยี นรู ทีจ่ ัดใหก บั ผูเ ขา รับการฝก อบรม
๔. สภาพพ้นื ท่ี ธรรมชาติ ของสถานท่ี และการเดินทางในการฝก อบรมฯ
๕. กระบวนการกลมุ ยงั เปน เปา หมายในการแลกเปลยี่ นเรียนรู ท่ีถือเปนหวั ใจของการฝกอบรมฯ
๖. สถานการณการแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา น ๒๐๑๙ (โควิท – ๑๙) ทําใหไมส ามารถจัดกระบวนการเรียนรู
ใหบ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงคแ ละเปา หมายไดเ ปน บางกิจกรรม
19. แผนทีจ่ ะดําเนินการตอไป
-ส้ินสุดโครงการ-
20. ประโยชนที่สาธารณชนไดร บั
เกิดการศึกษาเรียนรูพระราชกรณียกิจของพระราชวงศจักรี ท่ีมีคุณานุประโยชนตอ
ปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริยทรงเปนมิ่งขวัญ และหลักชัยใหกับพสกนิกรชาวไทยท่ีอยูใตพระบรมโพธิสมภาร
ทรงประพฤตปิ ฏบิ ตั ิ ตามหลักทศพธิ ราชธรรมเพอ่ื กอใหเกิดประโยชนสูงสุดของปวงชนชาวไทยเสมอมา เปนเสมือน
ส่ิงยืนยันวาพระมหากษัตริยจะทรงผสานผกู พนั เปนเนอ้ื เดียวกันกับคนไทยทัง้ ชาตินับจากน้ีและตลอดไป เกิดความ
ตระหนัก หวงแหนและภูมิใจในความเปนคนไทย มีเจตคติท่ีดีตอบานเมือง มีโอกาสทําหนาที่เปนพลเมืองดี มี
พืน้ ฐานชีวิตท่ีม่ันคงและมีคณุ ธรรม การเปนพลเมืองดมี ีคณุ ภาพ คือการมีรางกายแข็งแรง จิตใจดี คิดเปน ทําเปน
แกไ ขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพเปน กําลังสาํ คัญในการพัฒนาความเจริญกาวหนา ความม่ันคงใหกับประเทศชาติ
ปฏิบตั ติ ามบรรทดั ฐานและขนบธรรมเนยี มประเพณขี องสงั คม มคี ณุ ธรรมเปนแนวปฏบิ ตั ิในการดําเนินชีวติ เพือ่ การ
พัฒนาสงั คมใหยง่ั ยนื สบื ไป
ดา นสงั คม ๑. ชว ยสงั คมใหม คี วามสงบเรยี บรอ ย
๒. สงั คมมกี ารพัฒนาไดอ ยางรวดเร็ว
๓. มีการแกไ ขปญหา โดยใชห ลกั เหตผุ ล
๔. ลดความขัดแยง และการใชความรนุ แรงในสงั คม
๕. มจี ติ สาธารณะ
ดา นเศรษฐกิจ ๑. ประกอบสมั มาอาชีพสุจรติ
๒. ดําเนินชีวิตประจําวนั บนพื้นฐานของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
๓. ประหยัด อดออม ไมใ ชจายเกนิ ตวั ไมก อ หนี้
๔. รวมมอื ในการสรา งความเขมแขง็ ทางเศรษฐกจิ ทั้งระดับครอบครวั ชมุ ชน
ประเทศ
32
ดา นการเมอื งการปกครอง
๑. เคารพกฎหมาย
๒. ปฏบิ ัตติ นตามวถิ ปี ระชาธปิ ไตย
๓. รูจกั สทิ ธแิ ละหนาทข่ี องตนเอง
21. ผรู ายงาน นางพสชณันค พรหมจรรย ตาํ แหนง นักวเิ คราะหนโยบายและแผนชํานาญการ
หนวยงาน สํานักงานศึกษาธิการจังหวดั นาน โทรศพั ท โทร. 054 710875 โทรสาร 054 710211
E-mail:[email protected]
22. วนั ทีร่ ายงาน ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน 2564
33
แบบรายงานผลการดําเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร
******************************
1. ช่ือหนวยงาน สํานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนาน
2. ช่ือโครงการ ขับเคลื่อนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและประสทิ ธิภาพการศึกษาจังหวัด
ผานกลไกของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด(กศจ.)
3. หว งเวลารายงาน
ไตรมาสที่ 1 : เดือนต.ค. 63-ธ.ค. 63ไตรมาสที่ 2 : เดือนม.ค. 64-มี.ค. 64
ไตรมาสที่ 3 : เดือนเม.ย. 64-ม.ิ ย. 64 ไตรมาสที่ 4 : เดือนก.ค. 64-ก.ย. 64
สถานะโครงการ ยงั ไมสน้ิ สุดโครงการ ส้ินสดุ โครงการแลว
4. ความสอดคลองกับแผนระดับตา ง ๆ
(โปรดระบุขอ ความ และทาํ เคร่อื งหมาย √ ในชอ ง ท่มี คี วามสอดคลอ งกับโครงการ)
4.1 ยุทธศาสตรชาติ (ดา นท่ี 3 การพัฒนาและเสริมสรา งศักยภาพทรัพยากรมนุษย)
4.2 แผนแมบ ทภายใตย ทุ ธศาสตรช าติ (ประเด็นที่ 12) การพัฒนาการเรยี นรู
4.3 แผนยอยภายใตแผนแมบ ท(12.1 การปฏริ ปู กระบวนการเรียนรทู ีต่ อบสนองตอการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21
4.4 แผนปฏิรูปประเทศ (ดา นการศึกษา)
4.5 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2565)
(ยุทธศาสตรที่ 1 การเสรมิ สรางและพฒั นาศกั ยภาพทนุ มนุษย)
4.6 แผนความมัน่ คง (โปรดระบุ-)
4.7 นโยบายรัฐบาล
4.7.1 นโยบายหลกั การปฏิรูปกระบวนการเรียนรูและการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกชว งวยั
4.7.2 นโยบายเรงดว น การเตรียมคนไทยสูศตวรรษท่ี 21
4.8ยทุ ธศาสตรต ามแผนปฏบิ ตั ิราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงศึกษาธกิ าร
ยุทธศาสตรท่ี ๑ การจดั การศึกษาเพื่อความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ
ยุทธศาสตรท ี่ ๒ การผลติ และพัฒนากําลังคน การวิจยั และนวตั กรรมเพื่อสรางขดี ความสามารถ
ในการแขงขันของประเทศ
ยุทธศาสตรท ่ี ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชวงวยั และการสรา งสงั คมแหงการเรียนรู
ยุทธศาสตรท่ี ๔ การสรางโอกาสความเสมอภาคและความเทาเทียมทางการศึกษา
ยุทธศาสตรท ี่ ๕ การพัฒนาประสทิ ธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา
4.9ประเดน็ ยุทธศาสตรต ามแผนปฏิบัตริ าชการประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564
ของสํานักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ (ฉบบั จัดทําคําของบประมาณรายจายประจําป 2564)
ประเด็นยทุ ธศาสตรท่ี ๑ พฒั นาการจดั การศึกษาเพือ่ ความมั่นคง
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ พัฒนากําลงั คน การวจิ ัย และสรางความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ
ประเด็นยทุ ธศาสตรท ่ี ๓ พฒั นาและเสริมสรา งศักยภาพทรพั ยากรมนุษยใ หมีคณุ ภาพ
ประเด็นยทุ ธศาสตรท ี่ ๔ สรางโอกาสและความเสมอภาคทางการศกึ ษา
ประเด็นยทุ ธศาสตรท่ี ๕ พัฒนาระบบบริหารจัดการใหมปี ระสทิ ธิภาพ
34
๔.9.1 แผนงานพืน้ ฐาน
ผลผลิตที่ 1 นโยบายและแผนดานการศึกษา ผลผลิตที่ 5 ผรู ับบรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศัย
ผลผลิตท่ี 2 หนวยงานในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการ ผลผลิตท่ี 6 มาตรฐานการบรหิ ารงานบคุ คล
ไดร ับบริการเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา ของขา ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
ผลผลติ ที่ 3 ผูไดร ับการสงเสริมและพฒั นาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ผลผลิตที่ 7 นกั เรียนโรงเรียนเอกชนที่ไดร บั การ
อดุ หนุน
ผลผลิตท่ี 4 ผูร ับบรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ ผลผลิตท่ี 8 ผอู ํานวยการครู และบคุ ลากรทางการ
ศึกษาไดรบั การสงเคราะหตามกฎหมายโรงเรยี นเอกชน
๔.9.2 แผนงานยทุ ธศาสตร
แผนงานยุทธศาสตรพ ฒั นาเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั
แผนงานยทุ ธศาสตรก ารวจิ ัยและพฒั นานวตั กรรม
แผนงานยุทธศาสตรพัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชวงวยั
แผนงานยุทธศาสตรเ พ่ือสนบั สนุนดา นการพฒั นาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย
แผนงานยุทธศาสตรสรางความเสมอภาคทางการศึกษา
๔.9.3 แผนงานบรู ณาการ
แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแกไขปญหาจังหวัดชายแดนภาคใต
แผนงานบูรณาการปองกัน ปราบปราม และบําบัดรักษาผตู ดิ ยาเสพตดิ
แผนงานบรู ณาการพฒั นาพ้ืนที่ระดับภาค
แผนงานบรู ณาการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรู
แผนงานบรู ณาการตอตา นการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ
แผนงานบูรณาการอื่น ๆ (โปรดระบ.ุ ................-........................................................................)
5. ความสอดคลองกบั นโยบายการตรวจราชการและตดิ ตามประเมินผลการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศึกษาธิการ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ถามี)
(โปรดระบุนโยบายขอ.............................................-...................................................................................................)
6. ความสอดคลองกับนโยบายของหนว ยงาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
(สํานักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดนา น ยุทธศาสตรท ่ี 6 การพฒั นาประสทิ ธภิ าพของระบบการบริหารจดั การศึกษา)
7. หลกั การและเหตุผล
ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 ใน หมวด 16 การปฏิรปู ประเทศมาตรา (4)
ปรับปรงุ การจดั การเรียนการสอนทุกระดบั เพื่อใหผเู รียนสามารถเรียนไดตามความถนัดและปรับปรุงโครงสรางของ
หนวยงานที่เก่ียวของเพื่อบรรลุเปาหมายดังกลาว โดยสอดคลองกันทั้งในระดับชาติและระดับพ้ืนที่ (รัฐธรรมนูญ
แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 : 77-80) นอกจากนี้ยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ.2561-2580)
ตามรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทยเพื่อใหประเทศไทยบรรลุวิสัยทัศน “ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน
เปน ประเทศพฒั นาแลวดวยการพฒั นาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” โดยยทุ ธศาสตรที่ 3 ดา นการพัฒนา
และเสรมิ สรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ที่ 12 การพัฒนาการเรียนรูแผนยอ ย 12.1
การปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรทู ี่ตอบสนองตอ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษ ที่ 21 มีเปาหมายการพัฒนาท่ีสําคัญเพ่ือพัฒนา
คนในทกุ มิติและในทุกชวงวยั ใหเปนคนดี เกงและมีคุณภาพ มีทักษะท่ีจําเปนในศตวรรษที่ 21 โดยมุงเนนผูเรียนให
มที ักษะการเรียนรแู ละมีใจใฝเรยี นรตู ลอดเวลา มกี ารออกแบบระบบการเรยี นรใู หมก ารเปล่ียนบทบาทครู การเพิม่
ประสทิ ธภิ าพระบบบรหิ ารจัดการศึกษา และการพัฒนาระบบการเรยี นรตู ลอดชีวิต การสรางความต่ืนตัวใหคนไทย
ตระหนักถงึ บทบาทความรับผิดชอบ และการวางตําแหนงของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียอาคเนยและประชาคม
โลก การวางพนื้ ฐานระบบรองรับการเรยี นรโู ดยใชดิจิทลั แพลตฟอรม และการสรางระบบการศึกษาเพื่อเปนเลิศทาง
35
วิชาการระดับนานาชาติและตามแผนการปฏิรูปประเทศ ดานการศึกษาเรื่องและประเด็นการปฏิรูปที่ ๖ การปรับ
โครงสรางของหนวยงานในระบบการศึกษาเพ่อื บรรลเุ ปา หมายในการปรับปรงุ การจดั การเรยี นการสอน
คําสั่งหัวหนา คณะรักษาความสงบแหงชาติ ท่ี 19/2560 กําหนดใหในแตละจังหวัด ใหมีคณะกรรมการ
ศึกษาธิการจังหวัด (กศจ.) มีอํานาจหนาที่ในสวนของการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูใหมีคุณภาพ
เทา เทียมและทว่ั ถึงในพน้ื ทจ่ี ังหวัด โดยการกาํ หนดยุทธศาสตร แนวทางการจดั การศึกษา และการสงเสริมสนับสนุน
การจัดการศึกษาทุกระดับและทุกประเภทประสานและสงเสริมการบริหารและการจัดการศึกษาขององคกร
ปกครองสวนทองถ่ิน รวมท้ังสงเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องคกรชุมชน องคกร
เอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นที่จัดการศึกษาในรูปแบบท่ี
หลากหลาย ใหความเห็นชอบกรอบการประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานและตัวช้ีวัดในการดําเนินงานในลักษณะตัวชว้ี ัด
รวมของสวนราชการหรือหนวยงาน และสถานศึกษา และกํากับ เรงรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏบิ ัติงานของ
สวนราชการหรือหนวยงานและสถานศึกษา โดยมีสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดรับผิดชอบงานธุรการของ
คณะกรรมการศกึ ษาธิการจงั หวัด
สํานกั งานศึกษาธิการจังหวดั นา น ไดจัดทาํ แผนปฏิบัติราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563
(ฉบับปรับปรุงประมาณตามที่ไดรับจัดสรร) ภายใตย ุทธศาสตรท่ี 6 การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบการบริหาร
จัดการศึกษา กลยุทธท ี่ 6 สง เสริมสนับสนุนนประสานงานการบริหารจัดการศึกษา โดยการมีสวนรว มทุกภาคสวน
ในการจดั การศึกษา และพฒั นาระบบบรหิ ารงานบุคคลใหมีประสิทธิภาพและตามยุทธศาสตรชาติและอํานาจหนาท่ี
ของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวดั เนนมมี ปี ระสาน และบรูณาการดํานเนินงานตามภารกิจของแตละหนวยงาน
ท่ีมีภารกิจจัดการศึกษา หนวยงานที่เก่ียวขององคกรภาครัฐและเอกชนในจังหวัดใหตอบสนองความตองการเชิง
พื้นที่ เพื่อใหสอดคลองกับแผนกลยุทธดั้งกลาวขางตน กลุมนิเทศติดตามและประเมินผล จึงไดจัดทํา
โ ครง ก าร ขับ เ ค ลื ่อ น ก า ร ย ก ร ะ ด ับ คุณ ภ า พ ก า ร ศึก ษ า แ ล ะ ป ร ะ สิท ธ ิภ า พ ก า ร ศ ึก ษ า จ ัง ห วัด ผา น ก ล ไ ก ข อ ง
คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด(กศจ.) ในการพัฒนาประสิทธิภาพขอวระบบการบริหารจัดการศึกษา เพื่อ
รว มกนั กาํ หนดรวมกันขบั เคล่ือน รวมกนั ประเมนิ และรว มกนั นาํ เสนอปรบั ปรุงพัฒนา ใหม ีประสทิ ธิภาพตอไป
8. วัตถปุ ระสงค
2.1 เพื่อศึกษา วิเคราะหปญหา ขอจํากัดและความตองการยกระดับคุณภาพการศึกษา ในการกําหนด
แนวทางและตัวชีว้ ัดการดําเนินการในการขับเคล่ือนการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูใหมีคณุ ภาพเทา
เทยี ม และทัว่ ถงึ ตามบริบทของจังหวัดโดยผา นกระบวนการมีสวนรว มของหนวยงานทางการศึกษาและหนวยงานท่ี
เกี่ยวของในจังหวัดนาน
2.2 เพ่ือพัฒนาครู และบุคลากรทางการศกึ ษาในสถานศึกษาและหนวยงานทางการศึกษาในจังหวัดนาน
ใหมีความรูความเขาใจและสามารถนําความรูที่ไดไปใชในการจัดการเรียนการสอนและการปฏิบัติงานไดอยางมี
ประสทิ ธภิ าพ
2.3เพื่อนเิ ทศ ตดิ ตามการขับเคลอื่ นการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูใหมีคุณภาพ เทาเทียม
และท่วั ถงึ ตามบรบิ ทของจงั หวัด
9. ตวั ช้ีวดั ของโครงการ
9.1 ตัวช้วี ัดเชงิ ปริมาณ
1.สถานศกึ ษาและหนว ยงานทางการศึกษาในจงั หวัดนา น จํานวน 12 โรง ไดเ ขา รว มศกึ ษา วเิ คราะห
ปญหา ขอจํากัดและความตองการยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและการเรียนรูใหมีคุณภาพเทาเทียมและท่ัวถึงตาม
บรบิ ทของจังหวดั
36
2 ครูและบุคลากรท่เี กี่ยวของ จํานวน 80 คน ไดร ับการพัฒนาใหมคี วามรูความเขาใจและสามารถนํา
ความรทู ไ่ี ดไ ปใชในการจัดการเรียนการสอนและการปฏบิ ัตงิ านไดอยางมีประสิทธภิ าพ
3. สถานศกึ ษา จํานวน 12 โรง ไดรบั การนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล การขับเคล่ือนคุณภาพการศึกษา
รว มกับหนวยงานทางการศึกษาและหนวยงานท่ีเกี่ยวของในจงั หวดั นา น
9.2 ตวั ช้วี ัดเชงิ คุณภาพ
1.รอ ยละ 100 ของผูบรหิ าร ครแู ละผเู กี่ยวของไดเ ขา รว มศึกษา วิเคราะหป ญ หา ขอ จํากัดและความ
ตองการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาและการเรยี นรใู หม ีคุณภาพเทา เทยี มและทวั่ ถึงตามบริบทของจังหวดั
2. รอ ยละ100 ของครูและบุคลากรที่เกี่ยวขอ ง ไดรบั การพัฒนาใหมคี วามรูความเขา ใจและสามารถนํา
ความรทู ไ่ี ดไปใชในการจดั การเรยี นการสอนและการปฏบิ ตั ิงานไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ
3. รอยละ 80 ของสถานศึกษา ไดร บั การนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการขับเคลอื่ นคุณภาพการศกึ ษา
รว มกบั หนวยงานทางการศึกษาและหนวยงานท่เี กีย่ วของในจังหวดั นา น
10. กลุมเปาหมายโครงการ สํานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัดนานและหนว ยงานทางการศึกษาและหนวยงานท่ี
เกี่ยวของในจงั หวดั นาน
11. ระยะเวลาดําเนนิ การ ตุลาคม 2563 - กันยายน 2564
12.สถานทีด่ าํ เนนิ การ หนวยงานการศกึ ษาในพนื้ ทจี่ งั หวัดนาน
13.กจิ กรรมทว่ี างแผนดาํ เนนิ การ
กจิ กรรมที่ 1 การวิเคราะหสภาพปญ หา ความตอ งการจาํ เปน และแนวทางการขบั เคล่ือนในการยกระดบั
คุณภาพการศึกษาจังหวัดนาน
กจิ กรรมที่ 2 การยกระดับคุณภาพการศึกษาเพ่ือพฒั นาครูปฐมวยั สกู ารจัดประสบการณการเรียนรใู นชน้ั เรียน
กิจกรรมที่ 3การพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการเสริมสรางทักษะการสอนภาษาอังกฤษเพือ่ การทอ งเที่ยวและการ
ประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษาในจงั หวดั นาน
กจิ กรรมท่ี 4การนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดาํ เนนิ งานการพัฒนาการศกึ ษาของจงั หวดั นา น
14. ผลการดําเนินงานของกิจกรรม(จากขอ13)
กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรสูยกระดับคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานสูการ
ประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษาในจงั หวดั นา น
กจิ กรรมยอยที่ 3.1 การประชุมเชิงปฏบิ ัติการ “การพัฒนาคูมือครูในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
เพอ่ื การทองเที่ยวของจังหวัดนา น”จํานวน 2 วัน (กลุมเปาหมายผูเชี่ยวชาญ และศึกษานิเทศกสํานักงานศึกษาธิการ
จังหวัดนาน จํานวน 20 คน) โดยดําเนินการจัดการประชุมเชิงปฏบิ ัติการในวันอังคารท่ี 14 กันยายน 2564 และ
วันพุธท่ี 15 กันยายน 2564 ตั้งแตเวลา 09.00 น.-16.30 น. ณ หองประชุมสิริศึกษา สํานักงานศึกษาธิการ
จงั หวดั นา น มีผูเขา รวมทง้ั หมด 20 คน ผลการดําเนนิ งานของกจิ กรรมยอยที่ 3.1 มีดงั น้ี
การพัฒนาคูมือครูในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการทองเท่ียวของจังหวัดนาน พัฒนาข้ึน
ตามสภาพพื้นท่ีบริบทของจังหวัดนานท่ีเปนเมืองทองเที่ยวประกอบดวยสถานท่ีทองเที่ยวท่ีสําคัญและมีความ
หลากหลายทางวัฒนธรรมข้ึนอยูกับริบทพ้ืนที่ตาง ๆในจังหวัดนาน สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนานไดเล็งเห็น
37
ความสําคัญในการพัฒนาการการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการทองเทยี่ ว เพื่อใหการจัดการเรียนการ
สอนภาษาอังกฤษมีประสิทธภิ าพมากขน้ึ สอดคลองกบั การประชุมวเิ คราะหสภาพปญหา ความตองการจําเปน และ
แนวทางการขับเคลื่อนในการยกระดับคุณภาพและในที่ประชมุ มีมติใหพัฒนาทกั ษะการสอนของครูเพ่ือใหสามารถ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษใหสอดคลองกับสถานที่ทองเที่ยวของจัวหวัดนาน โดยมีกลุมเปาหมาย
ทัง้ หมด 25 โรงเรียน แตด ว ยงบประมาณไตรมาสที่ 4 มคี วามลา ชาประกอบดวยเกิดการแพรระบาดของเชื้อไวรัสส
โคโรนา (COVID-19)จึงมีการปรับกิจกรรมเปนการพัฒนาคูมือฯ เพ่ือใหครูสามารถนําไปใชในการจัดการเรยี นการสอนได
อยา งมปี ระสทิ ธิภาพโดยคูมือฯท่ีไดมีการกล่ันกรองจากผเู ชี่ยวชาญในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษจํานวน
6 ทา น เน้ือหามที ้งั หมด5 หนวยการเรียนรู จาํ นวน 20 ช่ัวโมง ดงั นี้
Unit 1 :Introductions to Nan Tourism
Unit 2 :Nan Attractions
Unit 3 :Accommodations
Unit 4 :Food and Beverage
Unit 5 :Souvenir
สําหรับเน้ือหา และโครงรางไดปรับแกตามความเห็นของผูเชี่ยวชาญเปนทเ่ี รียบรอย จะไดดาํ เนินการจัดพิมพ
รูปเลมเพื่อจัดสงไปยังโรงเรียนกลมุ เปาหมาย และจะมีการนิเทศ ติดตามในปงบประมาณตอไป เพ่ือคูมือมีประสทิ ธิผล
มากข้นึ
กิจกรรมที่ 4สรุปผลการดําเนินงาน การนิเทศ ติดตามและประเมินผลการดําเนินโครงการฯ(ประชุม
ออนไลน)โดยไดดําเนินการตามกิจกรรม ดงั นี้
กจิ กรรมยอยที่ 4.1 นเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผล
ในการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล ไดด าํ เนนิ การจัดกิจกรรมประชมุ ออนไลน เพ่ือตดิ ตามผลการ
ดําเนินงานของโครงการ ซ่ึงมีผูเขารวมในการประชุมออนไลนกับโรงเรียนเอกชนในจังหวัดนาน จํานวน 12 โรง
โดยแตละที่เขารวมประชุมออนไลนในวันที่ 1 กนั ยายน 2564 โดยมีศึกษาธิการจังหวัดนานเปนประธานในการ
ประชุมรวมกันในการขับเคล่ือนและพัฒนาการจัดการศึกษาของจังหวัดนาน และเปนการนิเทศ ติดตาม
การดําเนินงานของโครงการกับหนวยงานทางการศึกษาของจังหวัดนาน และโรงเรียนเอกชน เพ่ือใหมีแนวทางใน
การดําเนินการขับเคลอื่ นพัฒนาการจดั การศกึ ษาใหเปนไปในทศิ ทางเดยี วกัน
กิจกรรมยอ ยที่ 4.2 จัดทํารายงานผลการนิเทศและเสนอเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งกิจกรรมที่ 4.1
ไดดําเนนิ การเรียบรอยแลวแตไมไดใชง บประมาณ เน่อื งจากใชการนิเทศแบบออนไลน เพื่อใหการดําเนนิ งานเปนไป
ดวยความเรียบรอย และเกิดประสิทธิภาพในการดําเนินงาน จึงดําเนินการปรับรายละเอียดการใชงบประมาณ
กิจกรรมท่ี 4 นิเทศ ติดตามและประเมินผลการดาํ เนินงานการพัฒนาการศึกษาของจงั หวัดนานโดยขอจัดสรรเปน
คาใชสอยในการดําเนินการจัดทํารายงานผลการนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลโครงการขับเคลื่อนการยกระดับ
คุณภาพการศึกษาและประสิทธิภาพการศึกษาจังหวัดผานกลไกของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด(กศจ.)
38
15. ผลการดําเนินงานตามตัวชว้ี ดั
ตวั ชวี้ ดั คา เปา หมาย จํานวนเปาหมาย ผลการดําเนนิ งาน รอยละ
เชิงปริมาณ 20 คน ผลการดําเนินงาน 100
กจิ กรรมท่ี 3.1 1. ศกึ ษานิเทศกแ ละ
วทิ ยาการผูเ ช่ยี วชาญ 20 คน 100
กจิ กรรมที่ 4 จาํ นวน 20 คน
1.โรงเรยี นเอกชน 12 โรง 12 โรง
กิจกรรมที่ 3.1 ศึกษานิเทศกและ วทิ ยาการ รอ ยละ 100 รอ ยละ 100 100
กิจกรรมที่ 4 ผูเชยี่ วชาญ รอ ยละ 80 รอยละ 100 100
โรงเรียนเอกชน
๑6. ภาพกิจกรรมทีเ่ กดิ ขน้ึ ภายในโครงการ / กิจกรรม (ท่ีสื่อถึงการดาํ เนินการสคู วามสําเรจ็ จํานวน 5 ภาพ)
กิจกรรมที่ 3การพฒั นาศักยภาพบคุ ลากรในการเสริมสรางทักษะการสอนภาษาองั กฤษเพื่อการทองเท่ียว
และการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาในจังหวดั นาน
กจิ กรรมยอยท่ี 3.1 การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการ “การพฒั นาคูมอื ครใู นการจัดการเรยี นการสอน
ภาษาอังกฤษเพือ่ การทองเทย่ี วของจังหวัดนาน”
กิจกรรมท่ี 4สรปุ ผลการดําเนินงาน การนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดําเนินโครงการฯ
(ประชุมออนไลน)
39
17. งบประมาณ
งบประมาณที่ ผลการใชจาย ผลการใชจาย ผลการใชจาย ผลการใชจาย ผลการใชจาย
งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ
ไดรบั ทัง้ หมด งบประมาณรวม งบประมาณ ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4
(สะสม) ไตรมาสที่ 1 5,400 59,778 32,760
100,000 65,178 -
แหลงงบประมาณ สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
18. ปญ หา อุปสรรค และแนวทางแกไ ข
18.1 ปญ หา อุปสรรค
18.1.1 กจิ กรรมท่ี 3 กิจกรรมยอยท่ี 3.1งบประมาณในไตรมาสท่ี 4 ลาชา เน่ืองจากสถานการณการ
แพรร ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID 19) สง ผลใหการจดั อบรมพัฒนาครไู มเปนไปตามที่กาํ หนดในโครงการ
18.1.2 กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลโครงการฯ เนื่องจากสถานการณ
การแพรระบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา (COVID 19) สงผลใหการจัดอบรมพัฒนาครูไมเปนไปตามที่กําหนดใน
โครงการ
18.2 แนวทางแกไข
18.2.1 กจิ กรรมท่ี 3 กิจกรรมยอ ยท่ี 3.1 ขอเปลีย่ นแปลงการดาํ เนินงานเปนการพฒั นาคูมือในการจดั การเรยี น
การสอนภาษาองั กฤษเพ่อื การทองเที่ยวของจังหวดั นาน
18.2.2 กิจกรรมที่ 4 ขอเปลี่ยนแปลงการดาํ เนินงานเปนการประชุมออนไลนและการจดั ทํารายงาน
ผลการดําเนนิ การตามโครงการฯ
19. แผนที่จะดําเนนิ การตอ ไป(กจิ กรรมท่ีจะดาํ เนนิ การในไตรมาสตอ ไป)
รายงานผลการประเมินผลการดําเนินงานการพัฒนาการศึกษาของจังหวัดนาน ในรูปแบออนไลนหรือ
อบรมกับวทิ ยากร ข้ึนอยกู บั สถานการณก ารระบาดของเชื้อโรคไวรสั โควดิ 19 ตามประกาศของจงั หวดั นาน
20. ประโยชนทส่ี าธารณชนไดรบั
1. ครูไดรับคมู ือในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการทองเที่ยวของจังหวัดนาน สามารถนําไป
บรู ณาการในการจดั การเรยี นการสอนในโรงเรียนกลมุ เปา หมาย
2. ครูไดร ับความรู การจดั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษเพอื่ การทอ งเทยี่ วของจงั หวดั นาน
21. ผูรายงาน นางพสชณนั ค พรหมจรรย ตาํ แหนง นักวเิ คราะหนโยบายและแผนชํานาญการ
หนว ยงาน สาํ นักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน โทรศพั ท โทร. 054 710875 โทรสาร 054 710211
E-mail:[email protected]
22. วนั ที่รายงาน ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2564
40
แบบรายงานผลการดําเนนิ งานตามแผนปฏิบัตริ าชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ
******************************
1. ชื่อหนว ยงาน สํานักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดนาน
2. ชื่อโครงการ คดั เลือกผูมีผลงานดีเดน ตอ การพัฒนากิจกรรมลูกเสือของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
3. หวงเวลารายงาน
ไตรมาสท่ี 1 : เดอื น ต.ค. 63 - ธ.ค. 63 ไตรมาสที่ 2 : เดือน ม.ค. 64 - มี.ค. 64
ไตรมาสท่ี 3 : เดอื น เม.ย. 64 - มิ.ย. 64 ไตรมาสท่ี 4 : เดอื น ก.ค. 64 - ก.ย. 64
สถานะโครงการ ยังไมส ิ้นสดุ โครงการ สน้ิ สุดโครงการแลว
4. ความสอดคลองกับแผนระดับตาง ๆ
(โปรดระบขุ อ ความ และทําเครอ่ื งหมาย √ ในชอง ที่มคี วามสอดคลอ งกับโครงการ)
√ 4.1 ยุทธศาสตรช าติ (ดานที่ 3 การพฒั นาและเสรมิ สรางศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย)
√ 4.2 แผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรชาติ (1๒) การพฒั นาการเรยี นรู
√ 4.3 แผนยอยภายใตแผนแมบ ท (12.1 การปฏิรูปกระบวนการเรียนรทู ี่ตอบสนองตอการเปลยี่ นแปลงในศตวรรษท่ี 21
√ 4.4 แผนปฏริ ูปประเทศ (ดานการศึกษา)
4.5 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2565)
(ยุทธศาสตรท่ี 1 การเสรมิ สรางและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย)
4.6 แผนความมัน่ คง (โปรดระบุ-)
4.7 นโยบายรัฐบาล
4.7.1 นโยบายหลัก การปฏิรูปกระบวนการเรียนรูและการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทกุ ชว งวยั
4.7.2 นโยบายเรงดว น การเตรียมคนไทยสูศตวรรษที่ 21
4.8 ยุทธศาสตรตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
ยุทธศาสตรที่ ๑ การจัดการศึกษาเพอื่ ความม่นั คงของสงั คมและประเทศชาติ
ยุทธศาสตรท ี่ ๒ การผลิตและพฒั นากําลงั คน การวจิ ัย และนวตั กรรมเพื่อสรางขดี ความสามารถ
ในการแขงขันของประเทศ
ยุทธศาสตรท่ี ๓ การพัฒนาศกั ยภาพคนทุกชวงวยั และการสรางสังคมแหงการเรยี นรู
ยทุ ธศาสตรท่ี ๔ การสรา งโอกาสความเสมอภาคและความเทาเทยี มทางการศึกษา
ยุทธศาสตรท ี่ ๕ การพฒั นาประสทิ ธภิ าพของระบบบริหารจดั การศึกษา
4.9 ประเดน็ ยทุ ธศาสตรตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการประจําปง บประมาณ พ.ศ. 2564
ของสํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ (ฉบบั จัดทําคาํ ของบประมาณรายจายประจําป 2564)
ประเดน็ ยุทธศาสตรท ี่ ๑ พัฒนาการจดั การศึกษาเพ่อื ความมน่ั คง
ประเดน็ ยุทธศาสตรท ี่ ๒ พัฒนากําลังคน การวจิ ยั และสรางความสามารถในการแขง ขนั ของประเทศ
ประเด็นยทุ ธศาสตรท่ี ๓ พฒั นาและเสริมสรา งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ยใหม คี ุณภาพ
ประเด็นยุทธศาสตรท ี่ ๔ สรางโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
ประเด็นยทุ ธศาสตรท ี่ ๕ พัฒนาระบบบริหารจดั การใหมีประสทิ ธภิ าพ
41
๔.9.1 แผนงานพน้ื ฐาน
ผลผลิตที่ 1 นโยบายและแผนดา นการศึกษา
ผลผลติ ท่ี 2 หนวยงานในสงั กัดกระทรวงศึกษาธกิ าร ไดร บั บรกิ ารเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ทางการศกึ ษา
ผลผลติ ท่ี 3 ผูไดรบั การสงเสรมิ และพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
ผลผลติ ที่ 4 ผูร ับบรกิ ารการศึกษานอกระบบ
ผลผลติ ที่ 5 ผูร บั บริการการศกึ ษาตามอัธยาศยั
ผลผลติ ท่ี 6 มาตรฐานการบริหารงานบุคคล ของขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
ผลผลติ ท่ี 7 นักเรียนโรงเรียนเอกชนที่ไดร บั การอุดหนุน
ผลผลติ ที่ 8 ผอู ํานวยการครู และบคุ ลากรทางการศึกษาไดร ับการสงเคราะหตามกฎหมาย
โรงเรียนเอกชน
๔.9.2 แผนงานยุทธศาสตร
แผนงานยุทธศาสตรพ ฒั นาเศรษฐกิจดจิ ิทลั
แผนงานยทุ ธศาสตรการวจิ ัยและพฒั นานวตั กรรม
แผนงานยทุ ธศาสตรพ ฒั นาศกั ยภาพคนตลอดชวงวยั
แผนงานยทุ ธศาสตรเ พอ่ื สนับสนุนดา นการพัฒนาและเสรมิ สรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย
แผนงานยทุ ธศาสตรสรางความเสมอภาคทางการศกึ ษา
๔.9.3 แผนงานบรู ณาการ
แผนงานบรู ณาการขบั เคล่ือนการแกไขปญ หาจังหวดั ชายแดนภาคใต
แผนงานบูรณาการปองกัน ปราบปราม และบําบดั รกั ษาผตู ดิ ยาเสพติด
แผนงานบูรณาการพฒั นาพืน้ ทรี่ ะดบั ภาค
แผนงานบูรณาการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรยี นรู
แผนงานบรู ณาการตอ ตานการทจุ ริตและประพฤติมิชอบ
แผนงานบูรณาการอื่น ๆ (โปรดระบุ.........................................................................................)
5. ความสอดคลองกับนโยบายการตรวจราชการและตดิ ตามประเมนิ ผลการจัดการศึกษาของ
กระทรวงศกึ ษาธิการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ถามี)
(โปรดระบนุ โยบายขอ................................................................................................................................................)
6. ความสอดคลองกบั นโยบายของหนวยงาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
สาํ นกั งานศึกษาธิการจงั หวัดนา น ยุทธศาสตรท ่ี ๑ การจัดการศกึ ษาเพ่อื ความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
7. หลกั การและเหตผุ ล
ดว ยยทุ ธศาสตรแหง ชาติ ๒๐ ป (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐) ยทุ ธศาสตรแ หงชาตทิ ี่ ๓ การพัฒนาและเสริมสราง
ศักยภาพทรัพยากรมนุษย ภายใตแผนแมบทยุทธศาสตรชาติ การพัฒนาการเรียนรู การปฏริ ูปกระบวนการเรียนรู
ที่ตอบสนองตอ การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ แผนปฏริ ูปประเทศ ดานการศกึ ษา เร่ืองและประเด็นการปฏิรปู
ท่ี ๕ การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพื่อตอบสนอง การเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ ยุทธศาสตร
กระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ี ๑ การจัดการศกึ ษาเพ่ือความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ ขบวนการลูกเสอื เปนการ
ฝกอบรมและพัฒนาเยาวชนใหเปนพลเมืองดี มีคุณธรรม จริยธรรม มีความจงรักภักดีตอชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย มีระเบียบวินัย รูจักการชวยเหลือผูอื่นและมีจิตอาสา ซ่ึงเปนไปตามคําปฏิญาณและกฎของ
ลูกเสือ ๑๐ ขอ เพื่อใหสามารถดํารงชีวิตอยูในครอบครัว ชุมชน และสังคมไดอยางมีความสุข โดยมีผูบริหาร
สถานศกึ ษา ครแู ละบุคลากรทางการลกู เสือ เยาวชนลูกเสือ เนตรนารี และผูใหการสนับสนุนหรือผทู ่ีมสี วน
42
เกี่ยวของในทุกภาคสวน ลว นทําหนาที่ในการขับเคลื่อนขบวนการลูกเสือไปสูการปฏิบัตแิ ละการจัดกิจกรรมตางๆ
เพ่ือบรรลุวัตถุประสงคของการพัฒนาใหเยาวชน เปนพลเมืองดี โดยนอมนํา พระบรมราโชวาทของ
สมเด็จพระเจาอยูหัวรัชกาลที่ ๑๐ มาสูการปฏิบัติ รวมทั้งแผนยุทธศาสตรชาติ แผนการศึกษาชาติ ที่มุงจัด
การศกึ ษาเพ่ือความมั่นคงของสงั คมและประเทศชาติ สงเสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสือ เนตรนารีในสถานศึกษาให
มีคณุ ภาพและมาตรฐาน
ดงั น้นั สาํ นักงานศึกษาธิการจงั หวัดนา น ซ่ึงเปนหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการซึ่งมีภารกิจหนาที่
รับผิดชอบในการสนับสนุน สงเสริมและประสานการดําเนินงาน ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของบุคคลผูมีสวน
ผลักดัน ใหกิจกรรมลูกเสือเจริญกาวหนารุงเรือง และมีผลงานดีเดนในการปฏิบัติงานดานการลูกเสือดวยความ
มานะพยายาม มุงพัฒนากิจกรรมลูกเสือสูเยาวชนใหเปนพลเมืองดี มีคุณธรรม จริยธรรม ดวยความเสียสละ /
จิตอาสา/ จิตสาธารณะ จึงไดจัดโครงการยกยองผูมีผลงานดีเดนตอการพัฒนากิจกรรมลูกเสือของ
กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเปนการยกยองผูท่ีใหการสนบั สนุนกิจกรรมลูกเสือของ สํานักงานศกึ ษาธิการจังหวดั นาน
กระทรวงศึกษาธิการ มาโดยตลอดซง่ึ จะเปนการผลักดันใหผูที่มีความสนใจและใสใจในกิจการลูกเสือมุงทําความดี
และถายทอดความรู ประสบการณ ดานการลูกเสอื เพื่อพัฒนาใหเยาวชน เปน พลเมืองดตี อ ไป
8. วตั ถปุ ระสงค
๘.๑ เพื่อยกยองเชิดชูเกียรติ สรางขวัญและกําลังใจสําหรับผูมีผลงานดีเดนเปนที่ประจักษ และเปน
แบบอยาง ทดี่ ที างการลกู เสือ
๘.๒ เพื่อสงเสริมใหผูมีสวนเกี่ยวของท้ังภาครัฐและเอกชนใหการสนับสนุนกิจกรรมลูกเสือของ
กระทรวงศึกษาธิการ
๘.๓ เพื่อใหผูท่ีมีสวนเก่ียวของท้ังภาครัฐและเอกชนเกิดความภาคภูมิใจและมีเจตคติที่ดีตอการพัฒนา
กจิ กรรมลกู เสอื
9. ตวั ช้ีวัดของโครงการ
9.1 ตวั ช้วี ดั เชิงปริมาณ
ผูท มี่ ีผลงานดเี ดน ตอ การพัฒนากจิ กรรมลูกเสือในระดับจงั หวัด จาํ นวน ๓ ประเภทๆละ๑ รางวลั
ไดแก ประเภทผูบ ริหารสถานศกึ ษา ประเภทครผู สู อน และประเภทผใู หก ารสนับสนุน รวมจํานวน ๓ คน
9.2 ตวั ช้ีวดั เชิงคุณภาพ
สถานศึกษา คณะบุคคล ครูผูสอน บุคลากรทางการลูกเสือ ลูกเสือ เนตรนารี และผูใหการ
สนับสนุนกิจการลูกเสือ ใหความสําคัญและใสใจในกิจกรรมลูกเสือของกระทรวงศึกษาธิการและมีจิตอาสา ดวย
ความเตม็ ใจอยางสมํา่ เสมอมากขึ้น รอยละ ๘๐
10. กลุมเปาหมายโครงการ
ผูบ รหิ ารสถานศึกษา ครูผสู อน / ผูบังคับบัญชาลูกเสือ บุคลากรผูใหการสนบั สนุน จากโรงเรียน
ตางๆ ทกุ สงั กดั /หนว ยงาน ในจงั หวดั นาน จํานวน ๓ คน
11. ระยะเวลาดําเนนิ การ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔
43
12. สถานที่ดาํ เนนิ การ หองประชุมสิริสาธร สํานักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั นาน อําเภอเมอื งนาน จังหวัดนาน
13. กิจกรรมทีว่ างแผนดําเนนิ การ (นํากิจกรรมทั้งหมดในโครงการมาเติม)
กิจกรรม ประชุมคณะกรรมการพิจารณาผมู ผี ลงานดีเดนตอการพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ของ
กระทรวงศึกษาธิการ
14. ผลการดําเนนิ งานของกิจกรรม (จากขอ13)
มีผสู ง ผลงานไมครบตามประเภท
๑. ประเภทผบู ริหาร มีผสู ง ผลงานเขารับการพิจารณาคดั เลือกตามเกณทฯ จาํ นวน ๑ คน
๒. ประเภทครูผสู อน ไมมีผสู งผลงาน
๓. ประเภทผสู นบั สนุน มผี ูสง ผลงานเขา รับการพิจารณาคดั เลอื กตามเกณฑ จาํ นวน ๒ คน
คณะกรรมการฯ พจิ ารณาคดั เลือก ใหเ หลือเพยี ง ๑ คน
15. ผลการดําเนินงานตามตัวชีว้ ัด
ตัวชว้ี ดั คา ผลการดําเนินงาน
เปา หมาย จํานวนเปาหมาย ผลการดาํ เนนิ งาน รอ ยละ
เชิงปริมาณ ๓ คน ๓ คน มผี ูสง ผลงานไมครบตามประเภท ๘๐
๑. ประเภทผบู รหิ าร จํานวน ๑ คน
๒. ประเภทครผู สู อน ไมมีผูสง ผลงาน ๘๐
๓. ประเภทผสู นับสนุน จาํ นวน ๒ คน คดั เลือก เพยี ง ๑ คน
เชงิ คุณภาพ รอ ยละ รอยละ ๘๐ สถานศึกษา คณะบุคคล ครูผูสอน บุคลากรทางการลูกเสือ
๘๐ ลูกเสือ เนตรนารี และผูใหการสนับสนุนกิจการลูกเสือ ให
ค ว า ม สํ า คั ญ แ ล ะ ใ ส ใ จ ใ น กิ จ ก ร ร ม ลู ก เ สื อ ข อ ง
กระทรวงศึกษาธิการและมีจิตอาสา ดวยความเต็มใจอยาง
สมาํ่ เสมอ
๑6. ภาพกจิ กรรมทีเ่ กิดขนึ้ ภายในโครงการ / กิจกรรม (ที่สอื่ ถงึ การดาํ เนินการสูความสําเร็จ จํานวน 5 ภาพ)
44
17. งบประมาณ
งบประมาณทีไ่ ดรับ ผลการใชจ าย ผลการใชจาย ผลการใชจ าย ผลการใชจาย ผลการใชจาย
ท้งั หมด งบประมาณรวม งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ
(สะสม) ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสท่ี 4
๙,๖๐๐ ๙,๖๐๐ ๙,๖๐๐
แหลงงบประมาณ สํานกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
18. ปญหา อุปสรรค และแนวทางแกไ ข
๑๘.๑ ปญ หา อปุ สรรค
๑. มผี สู งผลงานเขา รบั การคดั เลือก แตละประเภทจํานวนนอย บางประเภทไมม ีผสู ง ผลงาน
๒. ผูสง ผลงานไมศ กึ ษาและทําความเขาใจ เกณฑก ารพิจารณาคัดเลือก ทาํ ใหการสง เอกสาร
เขา รบั การพิจารณาไมต รงประเดน็ ตามหลักเกณฑการพจิ ารณา
18.2 แนวทางแกไ ข
๑. ควรมกี ารประชาสัมพนั ธโ ครงการอยา งทั่วถงึ
๒. สง เกณฑการพจิ ารณาคัดเลอื กไปยงั สถานศกึ ษา/หนว ยงาน เพ่อื ทาํ ความเขา ใจ และสามารถ
จัดทาํ เอกสารไดต รงตามเกณฑพ ิจารณาคดั เลอื ก
19. แผนที่จะดําเนนิ การตอ ไป
ไดดําเนินการ ประชุมพิจารณาคัดเลือกผูท่ีมีผลงานดีเดนตอการพัฒนากิจกรรมลูกเสือในระดับจังหวัด
จํานวน ๓ ประเภทๆ ละ ๑ รางวัล ไดแก ประเภทผูบริหารสถานศึกษา ประเภทครูผูสอน และประเภทผูใหการ
สนับสนุน รวมจํานวน ๓ คน ในวันที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔ และสงผลการพิจารณาไปยังสํานักการลูกเสือ
ยวุ กาชาดและกจิ การนักเรียน ภายในวนั ที่ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๖๔
20. ประโยชนท ่ีสาธารณชนไดรบั
ผูบรหิ ารโรงเรียน ครูผูสอน และผูสนบั สนุน ทม่ี ผี ลงานดีเดนเปนที่ประจักษ และเปนแบบอยางที่ดที างการ
ลกู เสอื ไดร ับการยกยอง เชดิ ชเู กยี รติ เกิดขวญั และกําลงั ใจ แนวรว มทัง้ ภาครัฐและเอกชน มคี วามภาคภมู ิใจและมี
เจตคติทีด่ ีตอการพัฒนากิจกรรมลูกเสือ ในการสนับสนุนกจิ กรรมลูกเสือของกระทรวงศึกษาธิการ
21. ผรู ายงาน นางพสชณนั ค พรหมจรรย ตาํ แหนง นักวเิ คราะหนโยบายและแผนชํานาญการ
หนวยงาน สาํ นักงานศึกษาธิการจงั หวัดนาน โทรศพั ท โทร. 054 710875 โทรสาร 054 710211
E-mail:[email protected]
22. วนั ทีร่ ายงาน ณ วันท่ี 30 กันยายน 2564
45
แบบรายงานผลการดาํ เนนิ งานตามแผนปฏบิ ัตริ าชการ ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร
******************************
1. ช่ือหนวยงาน สาํ นักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดนาน
2. ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนดีวิถลี กู เสือประจาํ ป ๒๕๖4
3. หว งเวลารายงาน
ไตรมาสที่ 1 : เดือนต.ค. 63-ธ.ค. 63ไตรมาสท่ี 2 : เดือนม.ค. 64-ม.ี ค. 64
ไตรมาสท่ี 3 : เดอื นเม.ย. 64-ม.ิ ย. 64 ไตรมาสท่ี 4 : เดือนก.ค. 64-ก.ย. 64
สถานะโครงการยงั ไมสนิ้ สุดโครงการ สน้ิ สุดโครงการแลว
4. ความสอดคลองกับแผนระดบั ตา ง ๆ
(โปรดระบุขอความ และทําเครื่องหมาย √ ในชอง ทมี่ ีความสอดคลองกบั โครงการ)
4.1 ยุทธศาสตรช าติ (ดานท่ี 3 การพฒั นาและเสริมสรา งศักยภาพทรพั ยากรมนุษย)
4.2 แผนแมบทภายใตย ทุ ธศาสตรช าติ (ประเด็นท่ี 12) การพัฒนาการเรียนรู
4.3 แผนยอ ยภายใตแผนแมบท(12.1 การปฏริ ปู กระบวนการเรียนรูที่ตอบสนองตอการเปลีย่ นแปลงในศตวรรษที่ 21
4.4 แผนปฏริ ูปประเทศ (ดา นการศึกษา)
4.5 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2565)
(ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การเสริมสรางและพัฒนาศักยภาพทนุ มนุษย)
4.6 แผนความมัน่ คง (โปรดระบุ-)
4.7 นโยบายรัฐบาล
4.7.1 นโยบายหลัก การปฏิรปู กระบวนการเรียนรูและการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกชว งวัย
4.7.2 นโยบายเรงดวน การเตรียมคนไทยสศู ตวรรษที่ 21
4.8ยุทธศาสตรตามแผนปฏิบตั ิราชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของกระทรวงศึกษาธิการ
ยทุ ธศาสตรท ่ี ๑ การจดั การศกึ ษาเพือ่ ความม่ันคงของสงั คมและประเทศชาติ
ยุทธศาสตรท่ี ๒ การผลติ และพัฒนากําลงั คน การวจิ ยั และนวตั กรรมเพ่อื สรา งขีดความสามารถ
ในการแขง ขันของประเทศ
ยุทธศาสตรท ี่ ๓ การพัฒนาศักยภาพคนทกุ ชวงวยั และการสรา งสงั คมแหงการเรียนรู
ยุทธศาสตรที่ ๔ การสรา งโอกาสความเสมอภาคและความเทาเทยี มทางการศกึ ษา
ยทุ ธศาสตรที่ ๕ การพัฒนาประสทิ ธิภาพของระบบบรหิ ารจัดการศึกษา
4.9ประเด็นยุทธศาสตรต ามแผนปฏิบตั ริ าชการประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564
ของสํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ฉบบั จัดทําคําของบประมาณรายจายประจําป 2564)
ประเด็นยทุ ธศาสตรท ่ี ๑ พฒั นาการจัดการศึกษาเพือ่ ความมัน่ คง
ประเด็นยุทธศาสตรท ่ี ๒ พัฒนากาํ ลงั คน การวจิ ยั และสรา งความสามารถในการแขงขันของประเทศ
ประเด็นยุทธศาสตรท่ี ๓ พฒั นาและเสริมสรา งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ยใ หม ีคณุ ภาพ
ประเด็นยทุ ธศาสตรท ี่ ๔ สรา งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา
ประเด็นยทุ ธศาสตรท่ี ๕ พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การใหมปี ระสทิ ธภิ าพ
46
๔.9.1 แผนงานพ้ืนฐาน
ผลผลติ ที่ 1 นโยบายและแผนดา นการศกึ ษา ผลผลิตที่ 5 ผรู บั บรกิ ารการศกึ ษาตามอธั ยาศยั
ผลผลติ ท่ี 2 หนวยงานในสังกดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผลผลติ ที่ 6 มาตรฐานการบรหิ ารงานบุคคล
ไดร บั บรกิ ารเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศกึ ษา ของขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
ผลผลติ ที่ 3 ผไู ดร บั การสง เสรมิ และพัฒนาคณุ ธรรมจริยธรรม ผลผลติ ที่ 7 นกั เรียนโรงเรียนเอกชนทีไ่ ดร บั การ
อุดหนนุ
ผลผลติ ที่ 4 ผูร บั บรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ ผลผลิตท่ี 8 ผอู าํ นวยการครู และบคุ ลากรทางการ
ศึกษาไดร บั การสงเคราะหต ามกฎหมายโรงเรียนเอกชน
๔.9.2 แผนงานยทุ ธศาสตร
แผนงานยทุ ธศาสตรพฒั นาเศรษฐกจิ ดิจิทลั
แผนงานยุทธศาสตรก ารวิจัยและพัฒนานวตั กรรม
แผนงานยทุ ธศาสตรพ ัฒนาศกั ยภาพคนตลอดชวงวยั
แผนงานยุทธศาสตรเ พอื่ สนบั สนุนดา นการพัฒนาและเสริมสรา งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย
แผนงานยุทธศาสตรส รางความเสมอภาคทางการศึกษา
๔.9.3 แผนงานบรู ณาการ
แผนงานบรู ณาการขับเคล่ือนการแกไ ขปญหาจังหวดั ชายแดนภาคใต
แผนงานบรู ณาการปอ งกัน ปราบปราม และบําบดั รักษาผตู ดิ ยาเสพตดิ
แผนงานบูรณาการพฒั นาพืน้ ท่รี ะดบั ภาค
แผนงานบูรณาการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาและการเรียนรู
แผนงานบูรณาการตอ ตา นการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ
แผนงานบูรณาการอ่ืน ๆ (โปรดระบ.ุ ................-........................................................................)
6. ความสอดคลองกับนโยบายของหนวยงาน ปงบประมาณ พ.ศ. 2564
(สํานักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดนาน ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชวงวัย และการสรา งสงั คมแหง การ
เรยี นร)ู
7. หลกั การและเหตผุ ล
ดวยยทุ ธศาสตรแหงชาติ ๒๐ ป (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐) ยุทธศาสตรแหงชาติที่ ๓ การพัฒนาและ
เสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย ภายใตแผนแมบทยุทธศาสตรชาติ การพัฒนาการเรียนรู การปฏิรูป
กระบวนการเรียนรทู ี่ตอบสนองตอ การเปลยี่ นแปลงในศตวรรษที่ ๒๑ แผนปฏิรูปประเทศ ดานการศึกษา เร่ืองและ
ประเด็นการปฏิรูปที่ ๕ การปฏิรูปการจัดการเรียนการสอนเพ่ือตอบสนอง การเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
ยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ ที่ ๑ การจัดการศึกษาเพื่อความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ
กระทรวงศึกษาธกิ ารกําหนดนโยบายในการเสริมสรางทักษะการดํารงชีวติ ของผูเรียนใหมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค
ผานการจัดกิจกรรมลูกเสือเนตรนารี ซ่ึงขบวนการลูกเสือเปนการฝกอบรมและพัฒนาเยาวชนใหเปนพลเมืองดี มี
คณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีความจงรักภกั ดีตอ ชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย มีระเบียบวินยั รูจักชวยเหลือผูอ่ืนและมี
จิตอาสา ซึ่งเปนไปตามคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือ ๑๐ ขอ โดยมีผูบรหิ ารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการ
ลูกเสือ ผใู หการสนบั สนุนและผูที่มีสวนเกี่ยวของในทุกภาคสวนรวมกันทําหนาท่ีในการขับเคลือ่ นขบวนการลูกเสือ
ไปสูการปฏิบัติและการจัดกิจกรรมตาง ๆ รวมทั้งแผนยุทธศาสตรชาติ แผนการศึกษาชาติ ที่มุงจัดการศึกษาเพื่อ
ความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ สงเสริมและพัฒนากิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ในสถานศึกษาใหมีคุณภาพ
และมาตรฐาน
ดังนั้น สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดนาน ซ่ึงเปนหนวยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการซึ่งมี
ภารกิจหนาที่รับผิดชอบในการสนับสนุน สงเสริมและประสานการดําเนินงาน ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของ
47
กระบวนการดานการลกู เสอื ทสี่ รา งบุคลกิ ภาพ และพัฒนาการทางสงั คมใหเยาวชนเปนพลเมืองดีของประเทศ โดย
สงเสริมการพัฒนาเยาวชนท้ังทางกาย สติปญญา และจิตใจ ใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ ไมมีการแบงแยก
กีดกนั ในเร่ืองเชือ้ ชาติ ผวิ พรรณ วรรณะ ลัทธทิ างศาสนา ไมอยูภายใตอ ิทธิพลหรือเก่ียวของกับการเมือง ตลอดจน
สงเสริมใหสถานศึกษานําหลักการดานลูกเสือ ปลูกฝงหลักคิดท่ีถูกตองแกเยาวชน ลูกเสือ เนตรนารี ดานคุณธรรม
จริยธรรมใหเ ปนผมู คี วามพอเพียง มีระเบียบวินยั มคี วามสุจรติ มจี ิตอาสา มคี วามรับผิดชอบ และมีความจงรักภักดี
ตอ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ จึงไดจดั โครงการโรงเรียนดีวถิ ลี กู เสอื ขึ้น
8. วตั ถปุ ระสงค
๒.๑เพ่อื ใชก ระบวนการดานการลูกเสอื สรางบุคลกิ ภาพ และพัฒนาการทางสังคมใหเยาวชนเปนพลเมืองดี
ของประเทศ
๒.๒ เพื่อสงเสริมการพัฒนาเยาวชนท้ังทางกาย สติปญญา และจิตใจ ใหเปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ
ไมมกี ารแบงแยกกีดกนั ในเร่ืองเช้ือชาติ ผิวพรรณ วรรณะ ลัทธิทางศาสนา ไมอยูภ ายใตอิทธิพลหรอื เกี่ยวของกับ
การเมือง
๒.๓ เพ่ือสงเสริมใหสถานศึกษานําหลักการดา นลูกเสือ ปลูกฝงหลักคิดที่ถูกตองแกเยาวชน ลูกเสือ เนตร
นารี ดานคุณธรรม จริยธรรมใหเปนผูมีความพอเพียง มีระเบียบวินัย มีความสุจริต มีจิตอาสา มีความรับผิดชอบ
และมคี วามจงรกั ภักดีตอชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ
9. ตัวชวี้ ดั ของโครงการ
9.1 ตัวชว้ี ัดเชงิ ปริมาณ
มโี รงเรียน/สถานศึกษา เขารวมโครงการโรงเรียนดีวถิ ีลูกเสือ จังหวดั นาน สงผลงานเขารับการพิจารณา
คดั เลอื ก ตามกาํ หนดการและหลกั เกณฑพ จิ ารณาคดั เลอื ก จํานวน ๓ โรงเรยี น
9.2 ตวั ช้วี ดั เชงิ คณุ ภาพ
โรงเรยี นที่ไดร ับการพจิ ารณาคดั เลือก โรงเรียนดีวิถีลกู เสือ จังหวดั นาน มีผลงานตรงตามหลักเกณฑก าร
พิจารณาคดั เลือก และไดรบั การคัดเลือกเปนโรงเรยี นดีวถิ ีลกู เสือของจงั หวดั นาน ผา นเกณฑก ารคดั เลอื กรอยละ ๑๐๐
10. กลุมเปา หมายโครงการสถานศกึ ษาในจังหวัดนา น ทกุ สงั กัด
11. ระยะเวลาดําเนนิ การระหวางเดือน กรกฎาคม - สงิ หาคม 2564
12.สถานท่ดี ําเนินการสํานักงานศึกษาธิการจังหวดั นาน
13. กิจกรรมทีว่ างแผนดําเนินการ
พจิ ารณาคัดเลอื กโรงเรยี นดีวถิ ีลูกเสอื ตามหลักเกณฑต ามโครงการทก่ี ําหนด 4 ดา น คือ
๑.ดานผูบริหารสถานศึกษา
๒. ดา นครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๓. ดานการจดั การเรียนรูแ ละคณุ ลกั ษณะของผูเรยี น
๔. ดานการจัดกิจกรรมลูกเสือ
โดยกาํ หนดออกประเมินผลงาน ณ สถานศึกษาตามกําหนดการทก่ี ําหนดมสี ถานศกึ ษาสง ผลงานเขารวม
โครงการ จํานวน 3 โรงเรยี น ดังนี้
1โรงเรียนบา นหลวง อําเภอบานหลวง จังหวดั นาน
2 โรงเรยี นมัธยมปากลาง อําเภอปว จงั หวัดนาน
3 โรงเรยี นบานสบมาง อาํ เภอบอ เกลอื จังหวัดนา น
แตเน่อื งจากสถานการณการแพรร ะบาดของเชอื้ ไวรัสโคโรนา 2019(COVID-19) จึงปรับเปลีย่ นเปน
พจิ ารณาผลงาน ณ สาํ นักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั นาน ในวนั ที่ 2 สงิ หาคม 2564