“วันรพี” ตรงกบั วนั ท่ี ๗ สงิ หาคม ของทกุ ปี
วันระลึกถึง พระเจา้ บรมวงศเ์ ธอกรมหลวงราชบุรดี เิ รกฤทธ์ิ
ผู้ทรงได้รบั การยกยอ่ งให้เปน็ “พระบดิ าแหง่ กฎหมายไทย”
ห้องสมุดประชาชนอำเภอแสวงหา
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอแสวงหา
สำนกั งาน กศน.จังหวดั อา่ งทอง
วันรพีตรงกับวันที่ 7 สิงหาคมของทุกปี เป็นวันคล้ายวัน
ส้นิ พระชนม์ของพระเจา้ บรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดเิ รกฤทธิ์ ผูท้ รงได้รับการ
ยกย่องให้เป็น พระบิดาแห่งกฎหมายไทย เนื่องจากพระองค์ทรงเป็นนัก
นิติศาสตร์และทรงวางระบบแบบแผนศาลยุติธรรม รวมถึงทรงจัดตั้งโรงเรียน
ก ฎ ห ม า ย ข ึ ้ น เ ป ็ น ค ร ั ้ ง แ ร ก ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย อ ั น เ ป ็ น ป ร ะ โ ย ช น ์ ใ ห ญ ่ ยิ่ ง
แกป่ ระเทศชาติ
ห้องสมุดประชาชนอำเภอแสวงหา
พระประวัติ ของพระเจา้ บรมวงศ์เธอกรมหลวงราชบุรีดเิ รกฤทธิ์ หรอื
พระองคเ์ จ้ารพีพฒั นศกั ดิ์
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงเป็นเสนาบดี
กระทรวงยุติธรรม ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง
ดำเนินการปฏิรูปศาลไทย โดยปรับปรุงให้ศาลมีอิสระในการพิจารณาพิพากษา
คดี พระกรณียกิจในการปฏิรูประบบกฎหมายและการศาล ทำให้ทรงได้รับยก
ยอ่ งวา่ เปน็ “พระบิดาแห่งกฎหมายไทย” ทรงเปน็ ตน้ ราชสกุล รพพี ัฒน์
ห้องสมุดประชาชนอำเภอแสวงหา
พระประวัติ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ เป็นพระราชโอรส
ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และเจ้าจอมมารดาตลับ ประสูติ
เมื่อวันที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๑๗ มีพระนามเดิมว่าพระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์
พระองค์มีพระเชษฐภคินีร่วมพระชนนีเดียวกัน คือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
พระองคเ์ จ้าอจั ฉรพรรณรี ชั กญั ญา
เมื่อทรงพระเยาว์ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงได้รับการศึกษา
ชั้นต้นในพระบรมมหาราชวัง โดยทรงศึกษาวิชาภาษาไทยในสำนักพระยาศรี
สุนทรโวหาร(น้อย อาจารยางกูร)ร่วมกับ พระเจ้าลูกเธอในพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกลา้ เจ้าอย่หู ัวที่มพี ระชนมเ์ ป็นรนุ่ ใหญอ่ กี ๓ พระองค์ คอื
- พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ากิติยากรวรลักษณ์ (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมพระจนั ทบุรนี ฤนาถ)
- พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้าประวิตรวัฒโนดม (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมหลวงปราจิณกิติบด)ี
- พระเจ้าลูกยาเธอพระองค์เจ้าจิรประวัติวรเดช (พระเจ้าบรมวงศ์เธอ
กรมหลวงนครไชยศรีสรุ เดช)
ห้องสมุดประชาชนอำเภอแสวงหา
ด้านการศึกษา
เมื่อทรงศึกษาภาษาไทยในชั้นประถมแล้ว ได้ทรงศึกษา
ภาษาอังกฤษ ในสำนักของครูรามซามี ที่โรงทหารมหาดเล็กมุมตึกข้างประตู
พิมานชัยศรีต่อมาใน พ.ศ. ๒๔๒๖ ทรงศึกษาภาษาไทยในสำนักพระยา
โอวาทวรกิจ (แก่น) อีก ๑ ปีต่อมาทรงเข้าศึกษาในโรงเรียนพระตำหนักสวน
กุหลาบ ซ่งึ มีพระยาโอวาทวรกิจ (แกน่ ) เปน็ อาจารยแ์ ละเจา้ พระยายมราช(ป้ัน
สุขุม) ขณะมีบรรดาศักดิ์เป็นขุนวจิ ิตรวรสาส์น เป็นครทู ีส่ อนประจำพระเจ้าลกู
ยาเธอทง้ั ๔ พระองค์ เป็นเวลา ๒๐ วัน เพอื่ ทรงศกึ ษาพระธรรมวินัยในสำนัก
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ และสมเด็จพระมหา
สมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส พระเจา้ ลูกยาเธอทั้ง๔ พระองค์นี้ นับเป็น
พระเจ้าลูกยาเธอรุ่นแรกที่เสด็จไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ และต่อมาทั้ง ๔
พระองค์ได้ทรงเป็นกำลังสำคัญของสมเด็จพระบรมชนกนาถในการปฏิรูปการ
ปกครองและการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ
ห้องสมุดประชาชนอำเภอแสวงหา
ดา้ นการศึกษา
ขณะที่ทรงศึกษาอยู่ ณ ประเทศอังกฤษ ใน พ.ศ. ๒๔๓๐ สมเด็จ
พระราชินีนาถวิค-ตอเรียแห่งอังกฤษ ทรงจัดงานพระราชพิธีเนื่องในวโรกาสท่ี
ทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาเทวะ
วงศ์วโรปการ เสนาบดีกระทรวงการต่างประเทศเสด็จพระราชดำเนินแทน
พระองค์ เม่อื เสรจ็ ราชการท่ีอังกฤษแลว้ ไดเ้ สด็จประเทศฝรัง่ เศส เยอรมนั และ
สวเี ดน และทรงพาพระเจา้ ลูกยาเธอทง้ั ๔ พระองคโ์ ดยเสด็จเพ่ือทอดพระเนตร
บ้านเมืองเหล่านั้นด้วย และเมื่อเสด็จกลับกรุงเทพฯ พระเจ้าลูกยาเธอทั้ง ๔
พระองคก์ ็ไดโ้ ดยเสดจ็ นวิ ัตพิ ระนครด้วย
เมื่อเสด็จไปทรงศึกษาต่อที่กรุงลอนดอนจนกระทั่งทรงสำเร็จ
การศึกษาชั้นมัธยมแล้ว สมเด็จพระบรมชนกนาถทรงเลือกให้กรมหลวงราชบุรี
ดิเรกฤทธิ์ กรมหลวงปราจิณกิติบดี และกรมพระจันทบุรีนฤนาถทรงศึกษาวิชา
พลเรือน ส่วนกรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชทรงกำหนดให้ศึกษาวิชาทหาร กรม
หลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ทรงเลือกศึกษาวิชากฎหมายในวิทยาลัยไครสต์เชิส
มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด และทรงสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาตรี
(B.A.) แล้วเสด็จกลบั ประเทศไทย
ห้องสมุดประชาชนอำเภอแสวงหา
ด้านหน้าท่กี ารงาน
เมื่อเสด็จกลับประเทศไทยแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรม
หลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ทรงเข้ารับราชการในออฟฟิศราชเลขานุการ เนื่องจาก
กรมราชเลขานุการในสมัยนั้นเป็นหน่วยงานที่เป็นศูนย์รวมของราชการแผ่นดิน
ทั้งปวง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
ฯ ให้พระเจ้าลูกเธอที่ทรงสำเร็จการศึกษาจากตา่ งประเทศมาฝกึ ปฏิบัตริ าชการ
ก่อนที่จะให้ไปทรงรับราชการในกระทรวงต่าง ๆ ขณะเดียวกันก็ได้ทรงศึกษา
กฎหมายไทยด้วย เพราะเสด็จไปทรงศึกษาในต่างประเทศหลายปี จึงมิได้ทรง
ทราบเกี่ยวกับกฎหมายไทยนกั
ห้องสมุดประชาชนอำเภอแสวงหา
ดา้ นหน้าทก่ี ารงาน
ต่อมา มณฑลกรุงเก่า (มณฑลอยุธยา) มีคดีความคั่งค้างอยู่ตามโรง
ศาลมาก จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้งกองข้าหลวงพิเศษออกไปชำระ
ความที่มณฑลกรุงเก่าเป็นแห่งแรก โดยทรงแต่งตั้งกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธ์ิ
ขณะทรงดำรงพระยศพระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์เจ้ารพีพัฒน-ศักดิ์ ขุนหลวง
พระไกรสี (เปล่ง เวภาระ ต่อมาเป็น ขุนหลวงพระยาไกรสี) และมิสเตอร์ อาร์.
เจ. เกิกปาตริก เป็นข้าหลวงพิเศษสำหรับจัดการศาลยุติธรรมในมณฑลกรุงเก่า
กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์พร้อมทั้งข้าหลวงพิเศษอีก ๓ คนนี้ ได้ทรงชำระ
สะสางคดีความต่าง ๆ ที่คั่งค้าง โดยทรงนั่งชำระความวันละ ๕ ชั่วโมง ต่อมา
เมื่อเห็นว่าการพิจารณาอยู่ศาลเดียวทำให้เสียเวลา จึงแยกเป็นนั่งพิจารณาคดี
๒ ศาล โดยกรมหลวงราชบุรีดเิ รกฤทธิ์และพระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นมรุพงศ์
สริ พิ ฒั น์
(ต่อมาคือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมขนุ มรุพงศส์ ิริพัฒน์) ข้าหลวง
เทศาภิบาลมณฑลกรุงเก่า นัง่ พิจารณาคดีศาลหนึง่ ส่วนอกี ศาลหน่งึ นัน้ ขุนหลวง
พระไกรสีและมสิ เตอร์เกิดปาตรกิ และพระยาไชยวชิ ติ (นาค ณ ป้อมเพชร) เปน็
ผ้นู ่ังพจิ ารณา โดยศาลหนึ่งชำระความทค่ี า้ งในมณฑล ส่วนอีกศาลหนงึ่ ชำระ
ความท่คี า้ งในเมอื ง
ห้องสมุดประชาชนอำเภอแสวงหา
พระราชกรณียกิจ
ด้วยพระปรีชาสามารถอันเป็นอัจฉริยะประกอบกับพระวิริยะ
อุตสาหะของพระเจ้าบรมวงศ์ เธอกรมหลวง ราชบุรีดิเรกฤทธิ์ พระองค์ได้ทรง
ประกอบพระราชกรณียกิจ อันเป็นคุณประโยชน์แก่ประเทศไทยเป็นเอนก
ประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวงการกฎหมายไทย กล่าวคือทรงปรับปรุงศาล
ยุติธรรมสู่ระบบใหม่ทรงตรวจชำระสะสางกฎหมายทรงตั้งโรงเรียนกฎหมาย
เพื่อเปิดการสอนกฎหมาย ครั้งแรกทรงรวบรวม และแต่งตำราคำอธิบาย
กฎหมายลักษณะต่างๆ มากมายทรงเป็นกรรมการตรวจตัดสิน ความฎีกาซึง่ ทำ
หน้าที่ศาลสูงสุดของประเทศ ทรงตั้ง กองพิมพ์ลายมือขึ้น เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๓
สำหรับตรวจ ลายพิมพ์นิ้วมือผู้ต้องหาในคดีอาญา อันเป็นจุดเริ่มต้น ของการ
พสิ ูจน์ลายมือที่กรมตำรวจ
ในปจั จุบนั นอกจาก น้ันในขณะดำรงตำแหน่งเสนาบดีกระทรวงเกษ
ตราธริ าช ทรงปรับปรุงกจิ การกรมทะเบยี นที่ดินใหเ้ จริญก้าวหน้า เปน็ อนั มาก
ห้องสมุดประชาชนอำเภอแสวงหา
การรับราชการในตาแหน่งท่สี าคญั
- เร่ิมรับราชการในสานกั ราชเลขานุการ และไดร้ ับแตง่ ต้งั ใหเ้ ป็น
องคมนตรี
- เป็นสภานายกในกองขา้ หลวงพิเศษ เพื่อจดั การแกไ้ ขธรรมเนียมศาล
ยตุ ิธรรมหวั เมืองท้งั ปวง และสะสางคดีความทว่ั ราชอาณาจกั ร
- เป็นเสนาบดีกระทรวงยตุ ิธรรม
- เป็นประธานกรรมการตรวจชาระกฎหมาย
- เป็นกรรมการตรวจตดั สินความฎีกา
- เป็นกรรมการตรวจตาแหน่งพนกั งานในรัฐบาล
- เป็นกรรมการตรวจร่างกฎหมายลกั ษณะอาญา
- เป็นเสนาบดีกระทรวงเกษตราธิการ
ห้องสมุดประชาชนอำเภอแสวงหา
ขอบคุณแหลง่ ที่มา
หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอแสวงหา
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอแสวงหา
สำนกั งาน กศน.จังหวัดอา่ งทอง