The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารประกอบหลักสูตรกลุ่มสาระการงานอาชีพ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tanawich.s, 2022-07-11 00:53:41

เอกสารประกอบหลักสูตรกลุ่มสาระการงานอาชีพ

เอกสารประกอบหลักสูตรกลุ่มสาระการงานอาชีพ

51

คำอธบิ ายรายวิชาเพม่ิ เตมิ
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาตอนปลาย

52

คำอธิบายรายวชิ า

รายวชิ า ขนมอบ รหสั วชิ า ง30201 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ

ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต เวลา 20 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น

ศึกษา วิเคราะห์ จำแนก อาหารอบประเภทต่าง ๆ ศัพท์ที่ใช้ในการทำอาหารอบ เครื่องใช้ วัสดุ

อปุ กรณ์ การใชแ้ ละการเก็บรักษา มาตราชง่ั ตวง วัด การใช้เตาอบ เพื่อสำรวจความตอ้ งการของตลาดและ
แหล่งวัสดุ ฝึกชั่ง ตวง ผสม และประกอบอาหารอบ ปฏิบัติการทำอาหารอบประเภทต่าง ๆ เช่น คุ้กกี้
พาย เค้ก และแต่งหน้าเค้กอย่างง่าย เก็บรักษา และบรรจุภาชนะทีเ่ หมาะสม คำนวณค่าใช้จ่าย กำหนด

ราคาขาย จัดจำหนา่ ย จดบนั ทกึ การปฏบิ ัตงิ าน ทำบัญชรี ายรับ-รายจา่ ย และประเมินผล
โดยใช้กระบวนการปฏบิ ัติ นำเสนอ คน้ หา ทำงานเปน็ ทมี วเิ คราะห์ปญั หา

เพอ่ื ให้เกดิ ทักษะในการทำงานประกอบอาชีพ เลือกใช้เทคโนโลยใี นการทำงานอย่างมีกลยุทธ์ มีความ
รับผดิ ชอบ ซอ่ื สตั ย์ ขยัน อดทน รักการทำงาน ประหยดั อดออม มวี นิ ยั ในการทำงาน โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภัยในการทำงาน เห็นคณุ ค่าของงาน และอาชีพสจุ รติ ตระหนักถึงสำคัญของการอนุรักษ์

ทรพั ยากรธรรมชาติส่งิ แวดล้อม และพลงั งาน

ผลการเรยี นรู้
1. เข้าใจความหมายความสำคัญและประโยชน์ของอาหารอบ
2. เข้าใจหลักการวธิ กี ารและข้ันตอนในการเลอื กใช้อปุ กรณ์ทใี่ ชใ้ นการประกอบอาหารอบ

3. เข้าใจหลักการวธิ กี ารและข้นั ตอนในการเลือกใชว้ สั ดุชนดิ ต่างๆที่ใชใ้ นการประกอบอาหารอบ
4. เข้าใจหลกั การวิธีการและข้ันตอนในการเลือกเทคนิคท่ีใชใ้ นการประกอบอาหารอบ

5. เข้าใจวธิ ีการและขั้นตอนในการทำบญั ชรี ายรับ-รายจา่ ย
6. สามารถคิดตน้ ทนุ กำไร และราคาขายได้
7. ศึกษาคน้ ควา้ จัดทำรายงานเกยี่ วกบั อาหารอบ และทำแผน่ พบั เพ่ือเผยแพร่ผลงานได้

8. ปฎบิ ัตปิ ระกอบอาหารอบได้ตามแผนและขั้นตอน ทกี่ ำหนดประเมินผลและแก้ปัญหาระหว่างการ
ทำงาน

53

โครงสรา้ งรายวชิ า กลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชีพ
รายวิชา ขนมอบ รหัสวชิ า ง30201 เวลา 20 ชั่วโมง /ภาคเรียน
ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 4 - 6 จำนวน 0.5 หนวยกติ

หนว่ ย ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ ผลการ เวลา น้ำหนัก
ท่ี เรียนรู้ (ช่ัวโมง) คะแนน

1 ความรู้ทวั่ ไปเกยี่ วกบั ความหมาย ประเภท ศัพท์ท่ีเก่ยี วกบั 1 1 5
2 5
ขนมอบ ขนมอบ และแนวทางในการประกอบ
4 5
อาชพี
1 20
2 วสั ดุอปุ กรณ์ เครอ่ื งมือ -วัตถดุ บิ วัสดุอุปกรณ์ เคร่อื งมือและ 2,3,4 4 5

และการ เกบ็ รกั ษา การเกบ็ รักษา -การชง่ั ตวงส่วนผสม 7 10

และอา่ น มาตราส่วนวสั ดุทีใ่ ช้ในการ

ชั่ง ตวง การเก็บรกั ษาบรรจภุ ัณฑ์

ขนมอบ การใชแ้ ละการดูแล รักษา

เตาอบ

3 กาสำรวจความ ตอ้ งการ มกี ารสำรวจความตอ้ งการ สินค้าของ 5,6
สนิ คา้ ของ ตลาด แหล่ง ตลาด แหลง่ วสั ดุ การบนั ทึกการ

วัสดุ การบนั ทึกการ ปฏบิ ตั ิงานและ การประเมนิ ผล การ

ปฏิบตั ิงานและการ ทำบญั ชีรายรับ-รายจา่ ย การคำนวณ

ประเมนิ ผล คา่ ใช้จา่ ย กำหนดราคาขายและ

จำหน่าย

คะแนนสอบกลางภาค

4 ขนมอบสรา้ งรายได้ การวางแผนเตรยี มวสั ดุ เคร่อื งใชใน
การทาํ ขนมแตละชนิด และการบรรจุ
เกบ็ รกั ษา

5 โครงงานเพือ่ อาชพี - โครงงานขนมอบ 7,8
- ปฎิบตั ิทำขนมตามโครงงาน

คะแนนสอบปลายภาค 1 20

คะแนนระหว่าภาคเรยี น 18 60
คะแนนสอบปลายภาค 20

รวมคะแนนตลอดภาคเรียน 20 100

54

คำอธิบายรายวชิ า

รายวชิ า การผูกผา รหัสวิชา ง30202 กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี

ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 - 6 จำนวน 1.0 หน่วยกิต เวลา 40 ช่ัวโมง/ภาคเรียน

ศึกษาเทคนคิ การผูกผาประกอบพธิ ตี างๆ ซง่ึ ใชประดับตกแตงมุมตางๆ โครงสรางอาคารในพิธี ใหดู
หรหู รา สวยงามแตใชงบประมาณในการจดั นอย เพราะผืนผาเมือ่ เสรจ็ ส้ินงานพิธีสามารถนําไปใชไดอีก การ

เตรียม การใชและการเก็บรกั ษาเคร่อื งมอื และเครอ่ื งใช ในการผูกผา การออกแบบการผูกผาใน แบบตางๆ
ฝกการปฏบิ ตั ิ โดยเนนขน้ั ตอน กระบวนการและนสิ ัยในการทํางาน สังเกตการปฏิบัติงานและผลงานแลว
อภปิ รายหาขอบกพรองและวิธีแกไข

เพื่อใหมคี วามรู ความเขาใจ การดาํ เนนิ งานเชิงการคา มที กั ษะในการใชมอื เครอื่ งมือ และสามารถ
เสรมิ สวยตามข้ันตอน กระบวนการ ปรับปรงุ งานอยูเสมอ เห็นคุณคาของการทํางานและ มนี ิสยั รักงาน

ผลการเรยี นรู
1. ใชเตรยี มเคร่อื งมือ วสั ดุ อุปกรณตามมาตรฐานในการผูกผา และเก็บรกั ษา

2. มีความรูความเขาใจและมีทักษะในการผกู ผา ในโอกาสและพธิ ีตาง ๆ
3. ออกแบบและการวางแผนปฏิบตั ิงานไดถูกตองตามขั้นตอนกระบวนการ

4. ปฏิบัตกิ ารผูกผาไดตามแผนทวี่ างไว อยางสวยงาม
5. รูและเขาใจในการกาํ หนดราคา การคาํ นวณคาใชจายใหเหมาะสมโดยยึดหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง
การทาํ บญั ชรี ายรบั -รายจาย จดบันทึกและประเมินผล

6. ใหบริการการผกู ผาอยางเหน็ คุณคา

55

โครงสรา้ งรายวิชา

รายวชิ า การผูกผา รหสั วิชา ง30202 กลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชีพ

ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 4 - 6 จำนวน 1.0 หนวยกิต เวลา 40 ช่ัวโมง /ภาคเรียน

หนว่ ย ช่อื หนว่ ยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ผลการ เวลา น้ำหนัก
ท่ี เรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน

1 ความร้พู ื้นฐานการผกู ผ้า การผูกผาและการจบั จีบผา - 1 2 5

ความหมาย รูปแบบการผกู ผาและ 4 5

การจับจบี ผา 5 5
2 20
2 โอกาสและการใหบ้ รกิ าร โอกาสทใ่ี ชในการผูกผาและจับจบี ผา 2 4 5

- งานพระราชพธิ ี 4 10

-งานพิธี 20 30
2 20
-การจดั งานทางธุรกจิ 36 60
40 20
3 เทคนิคการสรา้ งลวดลาย ประโยชนของการผูกผาและการจับ 3 100
จีบ ผา

คะแนนสอบกลางภาค

4 กระบวนการทำงาน การวางแผนเตรยี มวัสดุ เครอื่ งใชใน 4

การผกู ผาและจบั จีบผาแตละชนดิ
และการดแู ลและจดั เกบ็ รกั ษา

5 การจัดการ การกาํ หนดราคา การคำนวน 2
6 ปฏบิ ตั งิ านการผกู ผา้
ค่าใช้จ่ายใหเหมาะสม กบั ตนทนุ การ

ทาํ บัญชีรายรับ-รายจาย

ปฏิบตั ิตามกระบวนการ การบริการ 9
ผกู ผา

คะแนนสอบปลายภาค

คะแนนระหวา่ ภาคเรยี น
คะแนนสอบปลายภาค

รวมคะแนนตลอดภาคเรยี น

56

คำอธบิ ายรายวิชา

รายวิชา การปลกู ไมดอกไมประดับ รหสั วชิ า ง30203 กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ
ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต เวลา 20 ช่ัวโมง/ภาคเรียน

ศกึ ษาความหมาย ความสําคัญ และประโยชนของไมดอกประดับทเ่ี หมาะสมกบั สภาพ ทองถิ่น
ประเภทของไมดอกประดับ สภาพดนิ ฟาอากาศ พันธแุ ละการขยายพนั ธุ การเตรยี มดนิ อปุ กรณท่ีใช ในการปลกู
การปลูก การปฏิบัติดแู ลรกั ษาในเรือนเพาะชําในแปลงปลกู และในภาชนะปลูก การปองกันโรค และแมลง การ
กําจดั ศัตรู การเตรียมไมดอกประดบั ใหมีคุณภาพ วเิ คราะหขอมลู ความตองการของตลาด เลือกปลกู ไมดอก
ประดับอยางนอย สามชนดิ ปฏบิ ัตงิ านเตรยี มดินปลูก เลอื กและใชวัสดุปลูก เลอื กและใช วธิ กี ารปลูกท่ี
เหมาะสมกบั ชนดิ ของพชื ดแู ลรกั ษาจัดเตรยี มผลผลิตสงจาํ หนาย คาํ นวณคาใชจายกําหนด ราคาขาย
จัดจาํ หนาย จดบนั ทกึ การปฏบิ ตั งิ าน ทําบญั ชีรายรบั รายจาย

โดยใชทกั ษะกระบวนการ การทํางานเปนกลุม ทกั ษะการคดิ ทักษะการแกปญหา ตลอดจน ทักษะใน
การทาํ งานอยางเปนขน้ั ตอน มุงมั่นแสวงหาความรู มีคุณธรรม จรยิ ธรรมในการดาํ รงชวี ติ และ การทาํ งาน มี
ความเปนประชาธิปไตย มเี จตคตทิ ดี่ ีตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพียง

ผลการเรียนรู
1.บอกความหมาย ความสําคญั และประโยชนของไมดอกประดบั ได
2. จาํ แนกประเภทของไมดอกประดับได
3. อธบิ ายสภาพดิน ฟา อากาศท่ีเหมาะสมในการปลกู ไมดอกประดบั ได
4. วิเคราะหขอมูลความตองการของตลาดได
5. สามารถคัดเลอื กพันธุและขยายพันธุไมดอกประดับไดอยางนอย 3 วธิ ี
6. สามารถเตรียมดนิ ปลกู ปลูกและใชอุปกรณท่ีเหมาะสม
7. ปฏบิ ัตดิ ูแลรักษา ไมดอกประดับ ในเรือนเพาะชาํ ในภาชนะปลกู และในแปลงปลูก
8. สามารถจดบนั ทกึ การปฏบิ ัติงาน และทําบัญชี รายรับ - รายจาย ได้

57

โครงสรา้ งรายวิชา

รายวชิ า การปลกู ไม้ดอกไมป้ ระดับ รหัสวชิ า ง20203 กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 – 6 จำนวน 0.5 หน่วยกติ เวลา 20 ชั่วโมง/ภาคเรยี น

หน่วยท่ี ชื่อหน่วยการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ ผลการ เวลา นำ้ หนัก
เรยี นรู้ (ช่วั โมง) คะแนน
1 ความรูท้ ่วั ไปของไม้ บอกความหมาย ความสําคญั และ 1
ดอกไม้ประดับ ประโยชนของไมดอกไมป้ ระดบั 1 5
จาํ แนกประเภทของไมดอกประดับ 2
2 การจำแนกประเภท 2 5

3 สภาพแวดล้อมท่ี อธิบายสภาพดนิ ฟา อากาศที่ 3 2 10
2 10
เหมาะสม เหมาะสมในการปลกู ไมดอกไม้ 1 20
2 10
ประดบั 8 30

4 ตลาดและความต้องการ วิเคราะหขอมลู ความตองการของ 4 2 10

ไมด้ อกไม้ประดับ ตลาดได้

คะแนนสอบกลางภาค

5 พันธ์แุ ละการขยายพนั ธุ์ สามารถคัดเลอื กพันธุและขยาย 5
พันธไุ มดอกไม้ประดบั ได อยางนอย
3 วิธี

6 การปลกู ไมด้ อกไม้ สามารถเตรียมดินปลูก ปลกู 6
ประดับ และใชอุปกรณท่ี เหมาะสม ปฏิบัติ
ดูแลรกั ษา ไมดอกไมป้ ระดับ

7 บันทกึ การทำงาน สามารถจดบนั ทกึ การปฏิบตั งิ าน
และทาํ บญั ชี รายรับ - รายจายได้

คะแนนสอบปลายภาค 1 20

คะแนนระหว่าภาคเรยี น 18 60
คะแนนสอบปลายภาค 20

รวมคะแนนตลอดภาคเรยี น 20 100

58

คำอธบิ ายรายวิชา

รายวชิ า ขนมไทย รหสั วชิ า ง30204 กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชพี

ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 - 6 จำนวน 1.0 หน่วยกติ เวลา 40 ช่วั โมง/ภาคเรียน

ศกึ ษาความหมาย ความสำคญั ประวัตคิ วามเป็นมา ประโยชน์ ของขนมไทยแต่ละชนิด เขา้ ใจ

วิธกี าร ขน้ั ตอนกระบวนในการทำขนมไทย การเตรยี มเครอ่ื งมอื เคร่อื งใช้ การเลือกชนิดของวัสดุที่ใชท้ ำขนม
ไทย และปฏบิ ตั ิการทำขนมไทย มีแนวคิดใหมๆ่ ในการทำขนมไทย การคำนวณค่าใช้จ่าย และประเมินผล
งานการทำขนมไทยมีความรู้ความเขา้ ใจและมีทกั ษะในการทำขนมไทยขัน้ ตอนทถี่ กู ต้อง สามารถทำขนมไทย

และจำหน่ายไดต้ ามความต้องการของตลาดและท้องถิน่
โดยใช้กระบวนการการทำงาน กระบวนการสบื คน้ กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวเิ คราะห์

มีระเบยี บวินัย ตรงต่อเวลา มีความรบั ผิดชอบมีความซื่อสัตย์ ใฝ่รใู้ ฝเ่ รยี น กระตอื รือร้น
มีความมุ่งมนั่ ในการทำงาน สามารถทำงานรว่ มกับผ้อู ืน่ ได้อยา่ งมคี วามสขุ และนำทักษะปฏิบตั ิงานไปใช้
ในชวี ติ ประจำวนั ได้

ผลการเรียนรู้

1. บอกความหมาย ความสำคญั ประวตั ิ ประโยชน์ ของขนมไทย
2. มีความรู้ความเข้าใจวิธีการ ขั้นตอนกระบวนในการทำขนมไทย
3. อธิบายวัสดอุ ุปกรณ์ การดูแลรักษา เครื่องมอื เครอื่ งใช้ใน การทำขนมไทย

4. อธิบายและสามารถทำขนมไทยอยา่ งน้อย 3 ชนิด
5. สามารถปรับเปล่ียนแนวคดิ ใหม่ ๆ ในการทำขนมไทย

6. สามารถคำนวณคา่ ใช้จา่ ยและประเมนิ ผลการทำขนมไทย
7. สามารถทำขนมไทยและจำหน่ายไดต้ ามความต้องการของตลาดและทอ้ งถิ่นได้

59

โครงสรา้ งรายวิชา

รายวิชา ขนมไทย รหสั วิชา ง20204 กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ

ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 1 – 6 จำนวน 1.0 หน่วยกิต เวลา 40 ช่ัวโมง/ภาคเรียน

หน่วยที่ ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้ ผลการ เวลา นำ้ หนัก
1 เรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน
2 ความรูพ้ ื้นฐานเก่ยี วกบั ความหมาย ความสำคัญ 1
3 ขนมไทย ประวัติ ประโยชน์ ของขนมไทย 4 5
2
4 วธิ กี าร ข้นั ตอนและ วิธกี าร ข้ันตอนกระบวนในการทำ 2 4 5
กระบวนการทำงาน ขนมไทย 4 10
วัสดอุ ุปกรณ์ การดูแล วัสดุอปุ กรณ์ การดูแลรกั ษา 4
รักษา เครือ่ งมือเครื่องใช้ เคร่อื งมือเครอ่ื งใชใ้ น 10 10
ในการทำขนมไทย การทำขนมไทย
วธิ กี ารทำขนมไทยชนิดต่าง ๆ 2 20
การทำขนมไทยชนดิ 4 10
ต่างๆ

5 การปรับเปลย่ี น การปรบั เปลย่ี นแนวคดิ ใหม่ ๆ 5
แนวคิดใหม่ ในการทำขนมไทย

6 การคำนวณคา่ ใช้จ่าย การคำนวณค่าใช้จ่ายและ 6-7 10 30

และประเมนิ ผล ประเมนิ ผลการทำขนมไทยการทำ 2 20
36 60
ขนมไทยและจำหน่วยตาม
20
ทอ้ งตลาด 40 100

คะแนนสอบปลายภาค

คะแนนระหวา่ ภาคเรยี น
คะแนนสอบปลายภาค

รวมคะแนนตลอดภาคเรียน

60

คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา โครงงานอาชีพ รหสั วชิ า ง30205 กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 - 6
จำนวน 0.5 หนว่ ยกติ เวลา 20 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น

ศึกษา สืบคน้ ข้อมูล วิเคราะห์ ฝึกปฏิบตั ิ และอธิบายเก่ียวกบั การประกอบอาชีพ สภาพการ ประกอบ

อาชีพในชุมชน การเลือกอาชีพเพ่ือการปฏิบัตงิ าน เทคนคิ อาชีพ การหาแหล่งทรัพยากรและเงนิ ทุน ข้นั ตอน
การปฏบิ ัตงิ าน กระบวนการผลติ และจัดจำหนา่ ยหรอื ใหบ้ รกิ ารในโรงเรยี น บันทกึ การปฏิบัตงิ าน ทำบัญชี
รายรับ-รายจ่าย ประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน ปรับปรงุ การปฏิบัตงิ าน และการนำเสนอโครงงาน

เพือ่ ให้ผ้เู รยี นเขา้ ใจและมที ักษะเกยี่ วกับการประกอบอาชพี ธุรกิจ เลือกและจัดการโครงงานอาชีพที่
สุจริต มีคุณธรรม ทำโครงงานอาชพี เพ่ือใหไ้ ด้งานทมี่ ีประสิทธภิ าพถูกต้องตามกระบวนการ มีเจตคตทิ ี่ดตี ่อ งาน

อาชพี มีการทำงานเป็นกล่มุ ร่วมคดิ รว่ มทำ แกป้ ัญหาและจัดการ มีคณุ ธรรม มจี ิตสำนึกในการใชพ้ ลังงาน วัสดุ
ตามท้องถ่นิ และวัสดุตามธรรมชาติ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพ่อื ดำรงชีวติ ประจำวนั และครอบครวั
ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ

ผลการเรียนรู้

1. บอกความหมายของโครงงานอาชพี ความจำเป็นและประเภทอาชพี อสิ ระได้
2. บอกจุดประสงค์ของการปฏบิ ตั งิ านอาชีพ วิธีการข้นั ตอน กระบวนการอาชพี ได้
3. สำรวจวิเคราะหต์ ัดสินใจเขยี นโครงการละวางแผนได้

4. บอกทักษะในการทำงานอยา่ งครบกระบวนการได้
5. สืบคน้ ข้อมูล ศึกษา สำรวจ วเิ คราะห์ และอธบิ ายเก่ียวกับลักษณะ ประเภท และการเขียน

โครงงานอาชีพได้
6. มที กั ษะในการทำโครงงานอาชีพด้วยกระบวนการกลมุ่ มีคุณธรรม มจี ิตสำนกึ ในการใชพ้ ลังงาน

วสั ดุ ในทอ้ งถนิ่ และตามธรรมชาตติ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง

7. สามารถนำเสนอโครงงาน ปรบั ปรุง แกไ้ ขและพฒั นาโครงงานได้
8. มีระเบียบวินยั ความรับผดิ ชอบ เสยี สละ อดทน และมเี จตคติทีด่ ีต่ออาชีพสุจรติ

รวมทั้งหมด 7 ผลการเรียนรู้

61

โครงสร้างรายวิชา

รายวชิ า โครงงานอาชพี รหสั วิชา ง20205 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ

ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 – 6 จำนวน 0.5 หนว่ ยกิต เวลา 20 ชัว่ โมง/ภาคเรยี น

หนว่ ยท่ี ช่อื หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ผลการ เวลา น้ำหนกั
เรียนรู้ (ชั่วโมง) คะแนน
1 ความรูเ้ บื้องต้นเกยี่ วกับ 1. ความหมายของโครงงาน
โครงงาน 2. ความสำคญั โครงงาน 1, 2 2 5
3. ขอบข่ายของโครงงาน
4. ประเภทของโครงงาน

2 สำรวจและวิเคราะห์ 1. หลกั การสำรวจโครงงานตาม 2,3,4,, 2 5

ข้อมูลเพ่อื หาทางเลอื ก ความสนใจ 2 10

โครงงาน ตามความ 2. การสำรวจหาทางเลอื ก 4 10
2 20
สนใจของตนเอง โครงงาน 4 10

3. องคป์ ระกอบในการตดั สินใจ

เลอื กโครงงาน

4. วิเคราะห์เหตุผลในการตดั สนิ ใจ

เลือกโครงงาน

3 วเิ คราะหว์ างแผนการ 1. กำหนดรายการวสั ดุ อุปกรณ์ 2,3,4
จดั ทำโครงงาน และเครอื่ งมือทใี่ ชป้ ฏิบตั งิ าน

โครงงาน

2. การวางแผนปฏิบัตโิ ครงงาน

3. ศกึ ษาขน้ั ตอนการจัดทำ

โครงงานตามความสนใจ

4 เขียนเค้าโครงของ 1. องค์ประกอบของการเขยี นเคา้ 5

โครงงานตามลกั ษณะ โครงของโครงงาน 2. วธิ ีการเขียน

งาน ที่ตนเองเลอื ก เคา้ โครงของ โครงงานและปฏทิ ิน

ปฏิบัติ โครงงาน

5 ปฏิบัติงานตามโครงงาน ปฏบิ ตั ิงานตามโครงการ 6

62

6 การนำเสนอโครงงาน นำเสนอผลการปฏิบัติงานตาม 7,8 4 20
โครงงานทเี่ ลอื ก
2 10
7 ประเมินผล ปรับปรุง ประเมินผล ปรับปรุงและแกไ้ ข 7,8
และแกไ้ ข 2 20
18 60
คะแนนสอบปลายภาค
20
คะแนนระหว่าภาคเรยี น 20 100
คะแนนสอบปลายภาค

รวมคะแนนตลอดภาคเรียน

63

ง20206 ดอกไมประดษิ ฐ คำอธบิ ายรายวชิ าเพ่มิ เติม
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 1 – 3 กลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชีพ
เวลา 40 ชวั่ โมง 1.0 หนวยกติ

ศึกษาและฝกปฏิบัติเกีย่ วกบั เรื่องทกั ษะกระบวนการเปนขั้นตอนในการประดษิ ฐดอกไม การ
ออกแบบตกแตง วธิ ีการสราง การแสดงช้นิ งาน การนาํ เสนอผลงานและการรกั ษางานประดิษฐ การ จัดการ

ผลผลิต เพ่อื ใหเกดิ ความเขาใจในการทาํ งาน มีความคิดสรางสรรค มที ักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการ
แกป้ ัญหา ทักษะงานรวมกนั ทกั ษะการแสวงหาความรู มคี ณุ ธรรมและลกั ษณะนิสัยในการ ทํางาน มจี ิตสาํ นกึ
ในการทรัพยากรและสงิ่ แวดลอมเพ่อื การดาํ รงชีวิตและครอบครัวตามหลกั ปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง

ผลการเรยี นรู

1. นักเรยี นสามารถอธิบายกระบวนการสรางดอกไมประดษิ ฐได
2. นักเรียนสามารถประดิษฐดอกไมประดษิ ฐตามกระบวนการได
3. นักเรียนสามารถนําเสนอวิธกี ารประดษิ ฐดอกไมประดิษฐได

4. นักเรยี นสามารถใชทกั ษะกระบวนการแกปญหาในการทํางานได
5. นักเรยี นสามารถเลือกใชเทคนคิ การสรางงานประดิษฐอยางสรางสรรค
6. นักเรยี นสามารถมีจิตสํานกึ ในการปฏิบตั ิงานอยางประหยดั และคุมคา

64

โครงสรา้ งรายวิชา

รายวิชา ดอกไม้ประดิษฐ์ รหัสวิชา ง20206 กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ

ระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 – 6 จำนวน 0.5 หน่วยกิต เวลา 20 ชัว่ โมง/ภาคเรยี น

หนว่ ยท่ี ช่อื หนว่ ยการเรยี นรู้ สาระการเรียนรู้ ผลการ เวลา น้ำหนัก
เรยี นรู้ (ชว่ั โมง) คะแนน
1 ความรทู้ ่วั ไปเกย่ี วกับงาน กระบวนการสรางดอกไมประดษิ ฐ์ 1
ดอกไมป้ ระดษิ ฐ์ 2 5
3
2 ประดิษฐดอกไมประดษิ ฐ ประดิษฐดอกไมประดิษฐ 8 5
2 10
3 ปฏิบตั ิงาน นําเสนอวธิ กี ารประดษิ ฐดอกไม 4
ประดษิ ฐ์ 2 20
2 10
5 ทักษะกระบวนการ ทักษะกระบวนการแกปญหาในการ 5
ทำงาน ทาํ งาน

6 เทคนิคการสรางงาน เทคนิคการสรางงานประดิษฐ์ 6 2 10
ประดษิ ฐ์
2 20
คะแนนสอบปลายภาค 18 60

คะแนนระหว่าภาคเรยี น 20
คะแนนสอบปลายภาค 20 100

รวมคะแนนตลอดภาคเรยี น

65

การจัดการเรียนรู้

การจัดการเรยี นรเู้ ปน็ กระบวนการสำคัญในการนำหลกั สูตรสูก่ ารปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา
ขั้นพน้ื ฐาน เป็นหลักสตู รที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ของผเู้ รยี น
เปน็ เปา้ หมายสำหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชน

ในการพฒั นาผู้เรยี นใหม้ ีคณุ สมบัตติ ามเป้าหมายหลักสตู ร ผู้สอนพยายามคัดสรร กระบวนการเรยี นรู้
จัดการเรียนรโู้ ดยช่วยใหผ้ ู้เรยี นเรยี นรูผ้ า่ นสาระทก่ี ำหนดไวใ้ นหลักสตู ร ๘ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝงั
เสรมิ สร้างคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่าง ๆ อนั เปน็ สมรรถนะสำคัญให้ผู้เรยี นบรรลตุ ามเป้าหมาย

1. หลักการจัดการเรยี นรู้
การจดั การเรียนรูเ้ พือ่ ให้ผูเ้ รียนมคี วามรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรยี นรู้ สมรรถนะสำคัญ

และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ตามท่ีกำหนดไวใ้ นหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษา
ข้นั พ้ืนฐาน โดยยดึ หลักวา่ ผเู้ รยี นมีความสำคญั ท่ีสุด เชื่อว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้
ยึดประโยชนท์ ่ีเกิดกบั ผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรตู้ อ้ งสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียน สามารถพฒั นาตามธรรมชาติและ
เต็มตามศักยภาพ คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพฒั นาการทางสมอง เนน้ ให้ความสำคัญทัง้ ความรู้
และคณุ ธรรม

2. กระบวนการเรยี นรู้
การจดั การเรยี นรทู้ เี่ น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรยี นจะตอ้ งอาศัยกระบวนการเรยี นรทู้ ่หี ลากหลาย

เป็นเครือ่ งมือท่จี ะนำพาตนเองไปสู่เปา้ หมายของหลักสูตร กระบวนการเรยี นร้ทู ีจ่ ำเป็นสำหรบั ผู้เรียน อาทิ
กระบวนการเรียนรูแ้ บบบูรณาการ กระบวนการสรา้ งความรู้ กระบวนการคดิ กระบวนการทางสงั คม
กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณจ์ รงิ กระบวนการปฏบิ ัติ ลง
มือทำจรงิ กระบวนการจดั การ กระบวนการวิจยั กระบวนการเรยี นรกู้ ารเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพฒั นา
ลกั ษณะนสิ ัย

กระบวนการเหล่านี้เป็นแนวทางในการจดั การเรียนรู้ท่ีผ้เู รียนควรได้รับการฝึกฝน พฒั นา เพราะ
จะสามารถชว่ ยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนร้ไู ดด้ ี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดงั นั้น ผสู้ อนจึงจำเป็นตอ้ งศกึ ษาทำ
ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ตา่ ง ๆ เพื่อใหส้ ามารถเลอื กใชใ้ นการจดั กระบวนการเรยี นรูไ้ ดอ้ ยา่ งมี
ประสทิ ธิภาพ

3. การออกแบบการจดั การเรียนรู้
ผู้สอนต้องศกึ ษาหลักสูตรสถานศกึ ษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชี้วดั สมรรถนะสำคญั

ของผเู้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรยี นรู้ท่ีเหมาะสมกับผู้เรียน แลว้ จงึ พิจารณาออกแบบ
การจัดการเรยี นรโู้ ดยเลือกใช้วธิ ีสอนและเทคนิคการสอน ส่อื /แหล่งเรียนรู้ การวดั และประเมินผล เพ่อื ให้
ผู้เรียนได้พฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพและบรรลุตามเป้าหมายทีก่ ำหนด

4. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
การจัดการเรยี นรูเ้ พ่อื ให้ผ้เู รยี นมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสตู ร ท้งั ผู้สอนและผู้เรยี นควรมี

บทบาท ดังนี้
4.1 บทบาทของผสู้ อน

66

1) ศกึ ษาวิเคราะห์ผู้เรียนเปน็ รายบุคคล แล้วนำข้อมลู มาใช้ในการวางแผน
การจัดการเรียนรู้ ท่ีท้าทายความสามารถของผู้เรียน

2) กำหนดเปา้ หมายท่ีต้องการให้เกดิ ขน้ึ กับผู้เรียน ด้านความร้แู ละทักษะ
กระบวนการ ท่ีเปน็ ความคดิ รวบยอด หลักการ และความสัมพนั ธ์ รวมทั้งคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์

3) ออกแบบการเรยี นรแู้ ละจัดการเรยี นรู้ท่ีตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและ
พัฒนาการทางสมอง เพ่ือนำผ้เู รียนไปสเู่ ป้าหมาย

4) จัดบรรยากาศท่เี ออื้ ต่อการเรยี นรู้ และดแู ลชว่ ยเหลือผเู้ รียนให้เกิดการเรยี นรู้
5) จัดเตรียมและเลอื กใช้สอ่ื ให้เหมาะสมกับกิจกรรม นำภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่น
เทคโนโลยีที่เหมาะสมมาประยกุ ตใ์ ช้ในการจดั การเรยี นการสอน
6) ประเมินความก้าวหน้าของผเู้ รยี นดว้ ยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับ
ธรรมชาตขิ องวชิ าและระดบั พัฒนาการของผเู้ รยี น
7) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใชใ้ นการซ่อมเสรมิ และพัฒนาผเู้ รยี น รวมท้งั
ปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นการสอนของตนเอง
4.2 บทบาทของผู้เรียน
1) กำหนดเป้าหมาย วางแผน และรบั ผิดชอบการเรยี นรู้ของตนเอง
2) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถงึ แหล่งการเรยี นรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ขอ้ ความรู้
ตัง้ คำถาม คดิ หาคำตอบหรอื หาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวธิ ีการตา่ ง ๆ
3) ลงมอื ปฏิบัตจิ ริง สรุปสิ่งทไ่ี ด้เรียนรู้ด้วยตนเอง และนำความรู้ไปประยุกตใ์ ช้
ในสถานการณต์ า่ ง ๆ
4) มีปฏสิ ัมพันธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมรว่ มกบั กลมุ่ และครู
5) ประเมนิ และพฒั นากระบวนการเรยี นรู้ของตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง

ส่ือและแหล่งการเรียนรู้

สอื่ การเรยี นรู้เปน็ เครื่องมอื สง่ เสรมิ สนบั สนุนการจัดการกระบวนการเรยี นรู้ ให้ผ้เู รยี นเข้าถึงความรู้
ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลกั สูตรไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ส่อื การเรยี นรู้มี
หลากหลายประเภท ทง้ั สอื่ ธรรมชาติ สอ่ื ส่งิ พมิ พ์ สื่อเทคโนโลยี และเครอื ข่ายการเรียนรูต้ ่างๆ ทม่ี ใี นท้องถ่นิ
การเลือกใช้สื่อควรเลอื กใหม้ คี วามเหมาะสมกับระดบั พัฒนาการ และลีลาการเรยี นรทู้ ห่ี ลากหลายของผูเ้ รียน

การจดั หาสือ่ การเรียนรู้ ผู้เรยี นและผู้สอนสามารถจดั ทำและพัฒนาขนึ้ เอง หรอื ปรับปรุงเลือกใช้อย่าง
มคี ณุ ภาพจากสือ่ ตา่ งๆ ทม่ี ีอยรู่ อบตัวเพอ่ื นำมาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรูท้ ีส่ ามารถสง่ เสริมและสอ่ื สารให้
ผเู้ รียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจดั ให้มีอย่างพอเพียง เพอื่ พฒั นาให้ผ้เู รยี น เกิดการเรียนรู้อยา่ ง
แท้จรงิ สถานศึกษา เขตพ้ืนทกี่ ารศึกษา หน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ งและผู้มีหน้าท่ีจัดการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน ควร
ดำเนินการดงั นี้

1. จัดให้มีแหลง่ การเรยี นรู้ ศูนย์ส่ือการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครอื ขา่ ย
การเรยี นร้ทู ม่ี ปี ระสิทธิภาพท้ังในสถานศึกษาและในชุมชน เพ่อื การศึกษาคน้ คว้าและการแลกเปลย่ี น
ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ระหว่างสถานศกึ ษา ทอ้ งถิ่น ชมุ ชน สังคมโลก

2. จดั ทำและจัดหาส่อื การเรียนรสู้ ำหรับการศึกษาคน้ ควา้ ของผู้เรยี น เสรมิ ความร้ใู ห้ผูส้ อน รวมทง้ั
จัดหาส่งิ ท่ีมอี ยูใ่ นทอ้ งถ่นิ มาประยกุ ต์ใช้เป็นสือ่ การเรยี นรู้

67

3. เลอื กและใชส้ ือ่ การเรียนรทู้ ่มี ีคุณภาพ มคี วามเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคลอ้ ง
กบั วธิ ีการเรยี นรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลของผู้เรยี น

4. ประเมนิ คณุ ภาพของสือ่ การเรยี นรู้ท่เี ลอื กใช้อยา่ งเปน็ ระบบ
5. ศึกษาค้นคว้า วิจยั เพื่อพฒั นาส่ือการเรียนรใู้ หส้ อดคล้องกบั กระบวนการเรียนรขู้ องผู้เรียน
6. จัดให้มกี ารกำกับ ติดตาม ประเมินคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพเกี่ยวกับสอ่ื และการใช้สือ่
การเรียนรู้เปน็ ระยะๆ และสมำ่ เสมอ
ในการจดั ทำ การเลือกใช้ และการประเมนิ คณุ ภาพสอื่ การเรยี นรู้ทใ่ี ช้ในสถานศึกษา ควรคำนงึ
ถึงหลักการสำคัญของส่ือการเรยี นรู้ เชน่ ความสอดคลอ้ งกับหลักสตู ร วตั ถุประสงค์การเรยี นรู้ การออกแบบ
กิจกรรมการเรยี นรู้ การจัดประสบการณใ์ ห้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกตอ้ งและทันสมยั ไม่กระทบความมนั่ คง
ของชาติ ไม่ขัดตอ่ ศีลธรรม มกี ารใช้ภาษาที่ถูกตอ้ ง รูปแบบการนำเสนอทเ่ี ข้าใจงา่ ย และนา่ สนใจ

การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผู้เรียนตอ้ งอยูบ่ นหลกั การพนื้ ฐานสองประการ คือการประเมิน
เพ่อื พัฒนาผู้เรยี นและเพื่อตัดสินผลการเรยี น ในการพฒั นาคณุ ภาพการเรยี นรู้ของผูเ้ รยี น ใหป้ ระสบผลสำเร็จ
น้ัน ผเู้ รยี นจะต้องไดร้ ับการพฒั นาและประเมินตามตัวช้ีวดั เพือ่ ให้บรรลุตามมาตรฐานการเรยี นรู้ สะท้อน
สมรรถนะสำคญั และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของผเู้ รียนซ่งึ เป็นเปา้ หมายหลกั ในการวัดและประเมินผลการ
เรยี นรู้ในทกุ ระดับไม่ว่าจะเปน็ ระดับช้นั เรียน ระดบั สถานศึกษา ระดบั เขตพืน้ ท่กี ารศึกษา และระดบั ชาติ การ
วดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ เป็นกระบวนการพฒั นาคุณภาพผ้เู รยี นโดยใช้ผลการประเมนิ เปน็ ขอ้ มูลและ
สารสนเทศทแี่ สดงพฒั นาการ ความก้าวหน้า และความสำเร็จทางการเรียนของผเู้ รียน ตลอดจนข้อมลู ที่เปน็
ประโยชนต์ ่อการสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนร้อู ยา่ งเตม็ ตามศักยภาพ

การวดั ผลและประเมินผล

การวัดผลและประเมินผลการเรยี นรกู้ ลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี

เพือ่ ท่ีจะทราบว่าการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนทำใหผ้ เู้ รยี นเกิดการเรยี นรูห้ รือไม่
เพยี งใด จำเป็นต้องมีการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรขู้ องผู้เรยี น ในอดีตการวดั และประเมินผลสว่ นใหญใ่ ห้
ความสำคญั กบั การใชข้ ้อสอบซึ่งไม่สามารถสนองเจตนารมณก์ ารเรียนการสอนท่ีเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นคดิ ลงมอื ปฏิบตั ิ
ดว้ ยกระบวนการหลากหลาย เพอ่ื สร้างองค์ความรู้ ดงั นนั้ ผ้สู อนตอ้ งตระหนกั วา่ การเรยี นการสอนและการ
วัดผลประเมนิ ผลเปน็ กระบวนการเดยี วกนั และจะตอ้ งวางแผนไปพรอ้ ม ๆ กัน

แนวทางการวดั ผลและประเมนิ ผล

การวดั และประเมนิ ผลการเรียนร้จู ะบรรลผุ ลตามเป้าหมายของการเรยี นการสอนที่วางไวไ้ ด้ ควรมี
แนวดังต่อไปน้ี

1. ตอ้ งวัดและประเมินผลทงั้ ความรู้ความคดิ ความสามรถ ทกั ษะและกระบวนการ เจตคติ
คุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นยิ มในวทิ ยาศาสตร์ รวมทั้งโอกาสในการเรยี นของผู้เรยี น

2. วิธีการวัดและประเมินผลตอ้ งสอดคล้องกบั มาตรฐานการเรียนรูท้ ก่ี ำหนดไว้

68

3. ตอ้ งเก็บข้อมูลท่ไี ดจ้ ากการวดั และประเมนิ ผลอยา่ งตรงไปตรงมา และตอ้ งประเมนิ ผลภายใต้
ขอ้ มลู ทมี่ อี ยู่

4. ผลการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรูข้ องผ้เู รียนตอ้ งนำไปส่กู ารแปลผลและลงขอ้ สรปุ ท่ี
สมเหตุสมผล

5. การวัดและประเมนิ ผลต้องมีความเทย่ี งตรงและเปน็ ธรรม ท้งั ในดา้ นของวธิ ีการวดั โอกาส
ของการประเมิน
จดุ ม่งุ หมายของการวัดผลและประเมินผล

1. เพื่อวินิจฉัยความรู้ความสามารถ ทกั ษะและกระบวนการ เจตคติ คุณธรรม จริยธรรมและ
คา่ นิยมของผู้เรียน และเพ่อื ซอ่ มเสริมผ้เู รยี นใหพ้ ัฒนาความร้คู วามสามารถและทักษะได้เต็มตาม
ศกั ยภาพ

2. เพอื่ ใช้เปน็ ข้อมลู ปอ้ นกลับใหแ้ กต่ ัวผู้เรียนเองวา่ บรรลตุ ามมาตรฐานการเรียนรูเ้ พยี งใด
3. เพือ่ ใช้ขอ้ มลู ในการสรปุ ผลการเรยี นรแู้ ละเปรยี บเทียบถึงระดบั พัฒนาการของการเรยี นรู้

การวัดและประเมนิ ผลจงึ มีความสำคญั เป็นอย่างย่ิงต่อกระบวนการเรียนการสอน วิธีการวัด
และประเมินผลทีส่ ามารถสะท้อนผลการเรยี นรู้อย่างแทจ้ ริงของผ้เู รยี นและครอบคลมุ กระบวนการ
เรยี นรูแ้ ละผลการเรยี นรู้ทงั้ 3 ด้านตามทีก่ ล่าวมาแล้วจงึ ต้องวัดและประเมินผลจากสภาพ
จริง (Authentic assessment)

การวัดและประเมินผลจากสภาพจริง
กิจกรรมการเรียนรขู้ องผเู้ รยี นมีหลากหลาย เช่น กิจกรรมสำรวจภาคสนาม กิจกรรมการสำรวจ

ตรวจสอบ การทดลอง กจิ กรรมศกึ ษาค้นควา้ กิจกรรมศกึ ษาปัญหาพิเศษหรือโครงงาน อย่างไรก็ตาม
ในการทำกิจกรรมเหล่าน้ตี อ้ งคำนงึ ว่าผู้เรียนแต่ละคนมีศักยภาพแตกตา่ งกนั ผเู้ รียนแต่ละคนจงึ อาจทำงานชิ้น
เดยี วกนั ไดเ้ สรจ็ ในเวลาท่ีแตกตา่ งกัน และผลงานทไี่ ด้กอ็ าจแตกต่างกัน เม่อื ผู้เรยี นทำกิจกรรมเหล่านแี้ ล้วก็
จะตอ้ งเก็บรวบรวมผลงาน เชน่ รายงาน ช้ินงาน บันทกึ และรวบถงึ ทกั ษะปฏบิ ตั ิตา่ ง ๆ เจตคติตอ่ การเรียนการ
งานอาชพี ความรกั ความซาบซงึ้ กจิ กรรมที่ผู้เรียนได้ทำและผลงานเหลา่ น้ตี อ้ งใชว้ ธิ ีประเมินทมี่ ีความเหมาะสม
และแตกต่างกัน เพอ่ื ช่วยให้สามารถประเมินความรู้ความสามารถและความรู้สกึ นกึ คดิ ทีแ่ ท้จริงของผเู้ รยี นได้
การวดั และประเมนิ ผลจากสภาพจรงิ จะมปี ระสทิ ธภิ าพก็ตอ่ เมอ่ื มกี ารประเมนิ หลาย ๆ ด้าน หลากหลายวธิ ี ใน
สถานการณต์ ่าง ๆ ท่ีสอดคล้องกับชีวิตจริง และต้องประเมินอยา่ งต่อเนื่อง เพือ่ จะได้ขอ้ มลู ท่มี ากพอที่จะ
สะทอ้ นความสามารถท่แี ท้จรงิ ของผเู้ รียนได้

69

ลกั ษณะสำคญั ของการวัดและประเมนิ ผลจากสภาพจริง
1. การวัดและประเมินผลจากสภาพจริง มลี ักษณะที่สำคญั คอื ใช้วธิ กี ารประเมนิ

กระบวนการที่ซบั ซอ้ น ความสามารถในการปฏบิ ัตงิ าน ศกั ยภาพของเรยี นในด้านของผู้ผลติ และ
กระบวนการทีไ่ ดผ้ ลผลติ มากกว่าทีจ่ ะประเมินว่าผเู้ รยี นสามารถจดจำความรอู้ ะไรได้บ้าง

2. เปน็ การประเมนิ ความสามารถของผูเ้ รียน เพ่ือวินจิ ฉยั ผู้เรยี นในส่วนที่ควรสง่ เสริมและ
สว่ นทีค่ วรจะแกไ้ ขปรับปรุง เพอ่ื ให้ผู้เรยี นไดพ้ ัฒนาอย่างเตม็ ศกั ยภาพตามความสามารถ ความสนใจ
และความตอ้ งการของแต่ละบคุ คล

3. เป็นการประเมนิ ทเี่ ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนได้มสี ว่ นร่วมประเมนิ ผลงานของทั้งตนเองและ
ของเพอ่ื นร่วมห้อง เพอื่ สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นรูจ้ ักตัวเอง เชอ่ื มั่นในตนเอง สามารถพฒั นาตนเองได้

4. ข้อมูลท่ีได้จากการประเมินจะสะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงกระบวนการเรียนการสอนและการวาง
แผนการสอนของผู้สอนว่าสามารถตอบสนองความสามารถ ความสนใจและความตอ้ งการของผเู้ รยี น
แต่ละบคุ คลไดห้ รือไม่

5. ประเมนิ ความสามารถของผู้เรยี นในการถ่ายโอนการเรยี นรไู้ ปสู่ชวี ิตจริงได้
6. ประเมนิ ด้านตา่ ง ๆ ด้วยวธิ ีทห่ี ลากหลายในสถานการณต์ ่าง ๆ อย่างต่อเนอ่ื ง
วิธกี ารและแหล่งขอ้ มลู ทใ่ี ช้
เพือ่ ให้การวดั และประเมินผลไดส้ ะท้อนความสามารถท่ีแท้จริงของผ้เู รียน ผลการ
ประเมนิ อาจจะไดม้ าจากแหล่งข้อมูลและวะการตา่ ง ๆ ดงั ต่อไปน้ี
1. สังเกตการแสดงออกเป็นรายบุคคลหรือรายกลมุ่
2. ชนิ้ งาน ผลงาน รายงาน
3. การสมั ภาษณ์
4. บันทึกของผู้เรยี น
5. การประชมุ ปรึกษาหารือร่วมกันระหวา่ งผู้เรยี นและครู
6. การวัดและประเมนิ ผลภาคปฏบิ ัติ
7. การวัดและประเมินผลดา้ นความสามารถ
8. การวัดและประเมินผลการเรยี นรโู้ ดยแฟม้ ผลงาน
การวดั และประเมนิ ผลดา้ นความสามารถ (Performance Assessment)
ความสามารถของผูเ้ รยี นประเมนิ ได้จากการแสดงออกโดยตรงจากการทำงานตา่ ง ๆ เปน็ สถานการณ์ที่
กำหนดให้ ซงึ่ เป็นของจริงหรอื ใกล้เคยี งกับสภาพจริง และเปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นได้แกป้ ัญหาหรือปฏบิ ัตงิ านได้จริง
โดยประเมินจากกระบวนการทำงาน กระบวนการคดิ โดยเฉพาะความคิดข้นั สูงและผลงานทไ่ี ด้
ลักษณะสำคญั ของการประเมนิ ความสามารถ คือ กำหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องงาน วธิ ีการ
ทำงาน ผลสำเรจ็ ของงาน มคี ำสง่ั ควบคุมสถานการณใ์ นการปฏบิ ตั งิ าน และมีเกณฑ์การให้คะแนนท่ี
ชัดเจน การประเมินความสามารถทแ่ี สดงออกของผเู้ รียนทำไดห้ ลายแนวทางตา่ ง ๆ กนั ขึ้นอยู่กับ
สภาพแวดล้อม สภาวการณ์ และความสนใจของผู้เรียน ดงั ตัวอย่างตอ่ ไปนี้

70

1. มอบหมายงานให้ทำ งานทีม่ อบให้ทำต้องมีความหมาย มีความสำคัญ มีความสมั พันธก์ ับ
หลักสตู ร เนอ้ื หาวชิ า และชวี ติ จรงิ ของผ้เู รียน ผ้เู รยี นตอ้ งใช้ความร้หู ลายด้านในการปฏิบตั ิงานที่
สามารถสะทอ้ นให้เห็นถงึ กระบวนการทำงาน และการใช้ความคิดอย่างลกึ ซ้งึ

2. การกำหนดช้ินงาน หรอื อุปกรณ์ หรือสิ่งประดิษฐใ์ หผ้ เู้ รียนวิเคราะหอ์ งคป์ ระกอบและ
กระบวนการทำงาน และเสนอแนวทางเพอื่ พฒั นาให้มปี ระสิทธภิ าพดีข้นึ

3. กำหนดตวั อย่างชิ้นงานให้ แลว้ ใหผ้ ู้เรียนศึกษาชิน้ งานนัน้ และสร้างชิ้นงานทีม่ ีลักษณะของ
การทำงานได้เหมอื นหรือดีกวา่ เดิม

4. สร้างสถานการณ์จำลองท่สี มั พนั ธ์กับชีวิตจรงิ ของผเู้ รยี น โดยกำหนดสถานการณแ์ ลว้ ให้
ผูเ้ รยี นลงมอื ปฏิบตั ิเพอ่ื แก้ปัญหา

การประเมนิ ผลการเรียนรโู้ ดยใชแ้ ฟ้มผลงาน (Portfolio Assessment)

แฟ้มผลงาน คืออะไร

เมอ่ื ผเู้ รยี นทำกจิ กรรมต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งกบั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ทั้งในหอ้ งเรยี น
หรอื นอกหอ้ งเรยี นก็ตาม ก็จะมผี ลงานท่ีได้จากการทำกิจกรรมเหล่าน้ันปรากฏอยูเ่ สมอ ซึ่งสามารถ
จำแนกผลงานออกตามกจิ กรรมต่าง ๆ ดงั น้ี

1. การฟังบรรยาย เมอื่ ผ้เู รียนฟังการบรรยายก็จะมีสมดุ จดคำบรรยาย ซึง่ อาจอยู่ในรปู
ของบันทกึ อยา่ งละเอียดหรือบันทึกแบบยอ่ ทั้งนข้ี น้ึ อยู่กบั ลักษณะของความชอบและความเคยชนิ
ของผเู้ รยี นในการบนั ทึกคำบรรยาย

2. การทำการทดลอง ผลงานของผู้เรยี นท่ีเกี่ยวข้องกบั การทดลอง อาจประกอบดว้ ย
การวางแผนการทดลองท้ังในรปู ของบันทกึ อยา่ งเป็นระบบหรือบนั ทกึ อย่างยอ่ การบันทึกวิธีการ
ทดลอง ผลการทดลองและปญั หาท่ีพบขณะทำการทดลอง การแปรผล สรุปผลและอภปิ รายผลการ
ทดลอง และผลงานสุดทา้ ยท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การทดลอง คอื การรายงานผลการทดลองทผี่ ู้เรียนอาจทำ
เปน็ กล่มุ หรอื เดย่ี วก็ได้

3. การอภปิ ราย ผลงานของผเู้ รียนที่เกย่ี วข้องกบั การอภปิ ราย คือ วางหัวขอ้ และ
ข้อมลู ทจ่ี ะนำมาใชใ้ นการอภปิ ราย ผลทีไ่ ดจ้ ากการอภปิ รายรวมทัง้ ขอ้ สรุปตา่ ง ๆ

4. การศึกษาคน้ คว้าเพิ่มเตมิ จดั เปน็ ผลงานท่สี ำคัญประการหนงึ่ ของผู้เรียนทีเ่ กิดจาก
การไดร้ ับมอบหมายจากครูผ้สู อนใหไ้ ปคน้ ควา้ หาความรใู้ นเร่ืองตา่ ง ๆ ท่เี กีย่ วขอ้ งกับหัวข้อหรอื
ประเด็นที่กำลงั ศึกษา ผลงานทีไ่ ด้จากการคน้ คว้าเพ่มิ เติมอาจอยใู่ นรปู ของรายงาน การทำวจิ ัยเชงิ
เอกสารหรือบันทกึ ประเด็นสำคญั ซงึ่ อาจนำมาใชป้ ระกอบการอภิปรายในชวั่ โมงเรยี นกไ็ ด้

5. การศกึ ษานอกสถานท่ี การศึกษานอกสถานท่ีจดั เปน็ วิธกี ารท่ีเปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นได้มี
ประสบการณต์ รงกับเร่ืองท่ีกำลังศึกษา ผลงานท่ีไดอ้ าจประกอบดว้ ยการบนั ทกึ การสังเกต การตอบ
คำถามหรอื ปญั หาจากใบงาน การเขียนรายงานส่งิ ทีค่ น้ พบ

71

6. การบนั ทึกรายวัน เป็นผลงานประการหนงึ่ ของผเู้ รียนที่อย่นู อกเหนอื จากผลงานที่
แสดงถงึ การเรียนรู้โดยตรง แตจ่ ะช่วยใหผ้ เู้ รียนหรือผู้ประเมินไดเ้ ขา้ ใจในประเดน็ หรือส่งิ ที่ผเู้ รยี นนกึ คิด
เก่ยี วกบั การเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์ด้วย

นอกจากกจิ กรรมที่ได้กล่าวมาแล้ว ยังอาจมกี ิจกรรมอนื่ ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การเรียนการ
สอน ซึง่ ผูเ้ รียนสามารถแสดงออกถึงความสามรถอน่ื ๆ อกี ดว้ ย เช่น การสื่อสาร ผลงานเหล่านถ้ี า้
ไดร้ ับการเกบ็ รวบรวมอยา่ งมีระบบดว้ ยตัวผเู้ รียนเองตามชว่ งเวลา ท้ังก่อนและหลังทำกิจกรรม
เหล่าน้ี โดยไดร้ บั คำแนะนำจากครผู ู้สอน และผู้เรียนฝึกทำจนเคยชินแลว้ จะถอื เปน็ ผลงานที่สำคญั ย่งิ
ทใ่ี ช้ในการประเมนิ ผลการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นต่อไป

การประเมนิ ผลการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี

สัดส่วนคะแนน ระหว่างภาค : ปลายภาค

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น ตดั สนิ ผลการเรียนรายภาค

กลุ่มสาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ แบง่ คะแนนออกเปน็ 80:20 โดยมีรายละเอียดดงั น้ี

ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

ประเมินระหว่างเรียน 80 ประเมินสอบปลายภาค 20 ประเมินระหวา่ งเรียน 80 ประเมนิ สอบปลายภาค

20

1.ประเมนิ สภาพจรงิ 30 สอบปลายภาค 20 1.ประเมนิ สภาพจริง 30 สอบปลายภาค 20

2.ทดสอบยอ่ ย 20 2. ทดสอบย่อย 20

3. สอบกลางภาค 20 3.สอบกลางภาค 20

4. คุณลักษณะ ฯ 10 4.คณุ ลกั ษณะ ฯ 10

72

ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ตัดสนิ ผลการเรียนรายภาค

กลมุ่ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ แบง่ คะแนนออกเปน็ 80:20 โดยมีรายละเอยี ดดงั น้ี

ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2

ประเมินระหวา่ งเรยี น 80 ประเมนิ สอบปลายภาค 20 ประเมินระหวา่ งเรียน 80 ประเมนิ สอบปลายภาค 20

1.ประเมนิ สภาพจริง 30 สอบปลายภาค 20 1.ประเมินสภาพจริง 30 สอบปลายภาค 20

2.ทดสอบยอ่ ย 20 2. ทดสอบยอ่ ย 20

3. สอบกลางภาค 20 3.สอบกลางภาค 20

4. คณุ ลกั ษณะ ฯ 10 4.คณุ ลักษณะ ฯ 10

หมายเหตุ นำคะแนนท่ีได้ในแตล่ ะภาคเรียน 100 คะแนน มาตดั สนิ ผลการเรยี นเป็นรายภาค
วิธกี ารประเมนิ ประเมนิ อยา่ งต่อเนอื่ งดว้ ยวิธีการทีห่ ลากหลาย เช่น การสงั เกต การสอบถาม การ
ปฏบิ ัติ การทำใบงาน การทำแบบฝกึ หัด การทำโครงงาน และการประเมนิ ด้วยแฟ้มสะสมงาน เปน็ ตน้

สัดส่วนของวิธีการประเมิน ทางโรงเรยี นกำหนดให้มวี ิธกี ารประเมิน ดังนี้ กลมุ่ สาระการงานอาชีพ เปน็ การ
วัดโดยใช้แบบทดสอบและการปฏิบตั ิจรงิ การประเมนิ จากสภาพจริง

เวลาเรยี น ผู้เรยี นต้องเข้าเรียนอยา่ งนอ้ ย 80% ของเวลาเรียนท้ังหมด จงึ จะไดร้ ับการตัดสนิ ผลการ
เรยี น สำหรบั ผู้เรยี นทมี่ ีเวลาเรยี นไม่ถงึ 80% จะไมม่ สี ทิ ธ์เิ ขา้ รับการประเมินผลปลายภาค

การตัดสินผลการเรียน โรงเรยี นกำหนดเกณฑก์ ารตดั สิน 8 ระดบั คือ

ช่วงคะแนนเปน็ รอ้ ยละ ระดบั ผลการเรียน ความหมายของผลการเรียน
0-49 0 ตำ่ กว่าเกณฑ์ขน้ั ตำ่
50-54 1 ผ่านเกณฑ์ข้ันตำ่

55-59 1.5 พอใช้
60-64 2 น่าพอใช้

65-69 2.5 ค่อนข้างดี
70-74 3 ดี
75-79 3.5 ดมี าก

80 ขนึ้ ไป 4 ดเี ยี่ยม

หมายเหตุ การตดั สินผลการเรยี น จะตดั สนิ ไดเ้ ม่ือผเู้ รียน ไดร้ ับการประเมิน “ ผ่าน ” ทุกตวั ชว้ี ัด/ผลการ
เรยี นรู้

73

การประเมินสมรรถนะของผูเ้ รียน
แบบประเมนิ สมรรถนะผเู้ รยี น 5 ดา้ น

คำช้แี จง : ให้สังเกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ ลงในชอ่ งท่ีตรง
กับระดับคะแนน

สมรรถนะท่ีประเมิน ระดับคะแนน
321
1. ความสามารถในการสือ่ สาร
1.1 มีความสามารถในการรับ – ส่งสาร
1.2 มคี วามสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเขา้ ใจของตนเอง
โดยใชภ้ าษาอย่างเหมาะสม
1.3 ใช้วธิ ีการสอ่ื สารท่เี หมาะสม

2. ความสามารถในการคิด
2.1 มีความสามารถในการคดิ วิเคราะหเ์ พ่ือการสร้างองค์ความรู้
2.2 มีความสามารถในการคิดเป็นระบบเพอื่ การสรา้ งองค์ความรู้

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
3.1 แก้ปัญหาโดยใช้เหตุผล
3.2 แสวงหาความรู้มาใชใ้ นการแกป้ ญั หา
3.3 ตัดสินใจโดยคำนึงถงึ ผลกระทบต่อตนเองและผ้อู ่นื

4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต
4.1 ทำงานและอยู่รว่ มกับผอู้ ่ืนดว้ ยความสมั พนั ธอ์ ันดี
4.2 มีวธิ ีแกไ้ ขความขดั แย้งอย่างเหมาะสม

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5.1 เลือกใช้ข้อมลู ในการพฒั นาตนเองอยา่ งเหมาะสม
5.2 เลอื กใช้ขอ้ มูลในการทำงานและอยูร่ ่วมกบั ผู้อืน่ อยา่ งเหมาะสม

ลงช่ือ
................................................................................. ผู้ประเมิน

......................../........................./.............................

เกณฑ์การให้คะแนน: ให้ 3 คะแนน
ให้ 2 คะแนน
- พฤตกิ รรมทปี่ ฏบิ ัติชัดเจนและสม่ำเสมอ ให้ 1 คะแนน
- พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ตั ิชัดเจนและบ่อยคร้งั
- พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบตั บิ างครั้ง

74

การประเมนิ คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องผเู้ รียน
แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ วิชา……………………………………..

ภาคเรยี นท.ี่ .......... ปีการศกึ ษา................
ช่ือ...................................................................................................ชัน้ ม........./...........เลขท.ี่ .............

คำชี้แจง 1. ใหน้ ักเรียนประเมินตนเองแลว้ ทำเคร่อื งหมาย ลงในชอ่ งระดับคะแนน
2. ใหผ้ สู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี น แล้วทำเคร่ืองหมาย ลงในช่องระดับคะแนน

คณุ ลกั ษณะ นกั เรียน สรุ ครูผสู้ อน สรปุ สรปุ
อันพงึ ประสงค์
รายการประเมนิ ประเมนิ ป ประเมนิ รวม

ระดับ ระดบั

คะแนน คะแนน

321 32

1

1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 มคี วามรักและภมู ใิ จในความเป็นชาติ
กษตั รยิ ์ 1.2 ปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ธรรมของศาสนา
1.3 แสดงออกถึงความจงรักภกั ดีต่อสถาบนั
2. ความซ่อื สตั ย์ พระมหากษตั รยิ ์
สจุ รติ 2.1 ปฏิบัติตามระเบียบการสอนและไม่ลอกการบ้าน
3. มวี ินัย 2.2 ประพฤติ ปฏิบตั ิ ตรงต่อความเปน็ จริงตอ่ ตนเอง
2.3 ประพฤติ ปฏบิ ตั ิ ตรงต่อความเปน็ จรงิ ต่อผู้อื่น
4. ใฝ่เรียนรู้ 3.1 เข้าเรียนตรงเวลา
3.2 แตง่ กายเรียบร้อยเหมาะสมกบั กาลเทศะ
5. อยู่อย่าง 3.3 ปฏิบัติตามกฎระเบยี บของหอ้ ง
พอเพยี ง 4.1 แสวงหาข้อมูลจากแหลง่ เรียนรู้ตา่ ง ๆ
6. ม่งุ มั่นในการ 4.2 มกี ารจดบนั ทกึ ความรูอ้ ย่างเปน็ ระบบ
ทำงาน 4.3 สรุปความรไู้ ด้อย่างมีเหตุผล
5.1 ใช้ทรัพยแ์ ละสง่ิ ของของโรงเรียนอยา่ งประหยัด
7. รกั ความ 5.2 ใช้อปุ กรณ์การเรยี นอย่างประหยัดและรู้คุณค่า
เปน็ ไทย 5.3 ใช้จ่ายอยา่ งประหยัดและมีการเกบ็ ออมเงนิ
6.1 มีความตัง้ ใจและพยายามในการทำงานทีไ่ ด้รบั
มอบหมาย
6.2 มีความอดทนและไม่ทอ้ แท้ต่ออปุ สรรคเพอ่ื
ความสำเรจ็
7.1 มจี ติ สำนึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมไทยและภูมิ
ปญั ญาไทย

75

7.2 เห็นคุณคา่ และปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย
8. มจี ติ สาธารณะ 8.1 รู้จกั การให้เพ่อื ส่วนรวมและเพ่ือผู้อน่ื

8.2 แสดงออกถงึ การมนี ้ำใจหรือการให้ความชว่ ยเหลือ
ผอู้ ่ืน
8.3 เข้าร่วมกจิ กรรมบำเพญ็ ตนเพ่ือสว่ นรวมเมอ่ื มี
โอกาส

สรุปผลการประเมิน

ลงชอื่ .................................................................นกั เรยี น ลงชอ่ื ------------------------------------------------

ครูผู้สอน ()
()
คะแนน 3
เกณฑก์ ารให้คะแนน คะแนน 2
พฤตกิ รรมที่ปฏิบตั ิชัดเจนสม่ำเสมอ คะแนน 1
พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ัติชัดเจนและบ่อยครัง้
พฤติกรรมที่ปฏิบัตบิ างครั้ง

76

อภิธานศพั ท
สาระท1่ี การดํารงชีวิตและครอบครัว
กระบวนการกลุม
กระบวนการในการทาํ งานกลมุ มขี ั้นตอน ดังนี้ การเลือกหวั หนากลมุ การกําหนดเปาหมาย หรอื วตั ถุ
ประสงคของงาน วางแผนการทาํ งาน แบงงานตามความสามารถของแตละบุคคล ปฏิบัติตาม บทบาทหนาท่ี
ประเมนิ ผล และปรับปรงุ การทํางาน

การดาํ รงชีวิต
เปนการทํางานในชีวติ ประจาํ วนั เพอื่ ชวยเหลือตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสงั คม ทวี่ าดวย งานบาน

งานเกษตร งานชาง งานประดษิ ฐ งานธุรกิจ และงานอื่น ๆ

การทํางานเพ่ือการดาํ รงชวี ิต
เปนการทาํ งานทีจ่ ําเปนเกย่ี วกับความเปนอยูในชวี ิตประจําวนั ชวยเหลอื ตนเอง ครอบครัว และสังคม

ไดในสภาพเศรษฐกิจพอเพยี ง ไมทําลายสิ่งแวดลอม เนนการปฏบิ ัติจรงิ จนเกิดความมน่ั ใจ และ ภูมใิ จใน
ผลสําเร็จของงาน เพ่อื ใหคนพบความสามารถ ความถนัดและความสนใจของตนเอง

คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เจตคติ และลกั ษณะนสิ ยั ในการทาํ งาน
ประกอบดวย ความซื่อสัตย เสียสละ ยตุ ธิ รรม ประหยดั ขยัน อดทน รับผิดชอบ ตรง เวลา รอบคอบ

ปลอดภัย คุมคา ย่ังยืน สะอาด ประณตี มีเหตุผล มีมารยาท ชวยเหลือตนเอง ทํางานบรรลเุ ปาหมาย ทาํ งานถูก
วธิ ี ทํางานเปนข้ันตอน ทํางานเปนระบบ มคี วามคิดสรางสรรค มี ประสิทธภิ าพ รักษาสิง่ แวดลอม ฯลฯ

ทกั ษะกระบวนการแกปญหา
เปนกระบวนการท่ีตองการใหผูเรียนไดเกดิ ความคิดหาวิธกี ารแกปญหาอยางมีขนั้ ตอน การสังเกต กา

รวิเคราะห การสรางทางเลือก และการประเมินทางเลอื ก
ทักษะการจดั การ

ความพยายามของบคุ คลท่ีจะจัดระบบงาน (ทํางานเปนรายบุคคล) และจัดระบบคน
(ทํางาน เปนกลุม) เพื่อใหทํางานสําเรจ็ ตามเปาหมายอยางมปี ระสิทธภิ าพ

ทักษะกระบวนการทํางาน
การลงมือทาํ งานดวยตนเอง โดยมุงเนนการฝกวธิ กี ารทาํ งานอยางสม่ําเสมอ ทั้งการทํางาน เปนราย

บคุ คล และการทํางานเปนกลุม เพ่ือใหสามารถทํางานไดบรรลเุ ปาหมาย ไดแก การวเิ คราะหงาน การวางแผน
ในการทาํ งาน การปฏบิ ัติงาน และการประเมนิ ผลการทาํ งาน

ทกั ษะการทาํ งานรวมกนั
การทาํ งานเปนกลุม สามารถทํางานรวมกบั ผูอ่ืนไดอยางมคี วามสขุ โดยมุงเนนใหผเู รียน ไดทาํ งานอยา

งมีกระบวนการตามขั้นตอนการทาํ งาน และฝกหลักการทํางานกลุม โดยรูจกั บทบาทหนาท่ี ภายในกลุม มี
ทักษะในการฟง - พูด มีคุณธรรมในการทาํ งานรวมกัน สรปุ ผล และนาํ เสนอ

77

ทักษะการแสวงหาความรู
วิธีการและกจิ กรรมทมี่ ุงเนนใหผเู รียนไดแสวงหาขอมลู ความรูตาง ๆ เก่ียวกบั เรอื่ งหรอื เนื้อหา นัน้ ๆ

ไดแก การศึกษาคนควา การรวบรวม การสังเกต การสํารวจ และการบันทกึ

สาระท2ี่ การอาชพี

การจาํ ลองอาชพี
เปนการจดั กิจกรรมเพ่ือการเรียนรูเกีย่ วกับอาชพี ที่สถานศกึ ษาจัดทําใหเสมือนจริงเพือ่ ใหผูเรยี น มี

ทักษะการทาํ งานอาชีพ เห็นคุณคาของงานอาชพี สจุ ริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ เชน การจัด
นิทรรศการ บทบาทสมมติ ฯลฯ

การประเมินทางเลอื กอาชีพ
เปนการรูจักตนเองดานความรู ความสามารถ ทศั นคติ ศกั ยภาพ วิสัยทัศนแนวโนม ดานอาชีพท่ีตอง

การของตลาดแรงงาน ทีเ่ หมาะสมกบั ความสนใจ ความถนัด และทักษะทางดานอาชีพ กอนตดั สนิ ใจเลอื ก
อาชีพ

การอาชีพ
เปนสาระที่เกี่ยวของกบั ทักษะทีจ่ าํ เปนตออาชพี เหน็ ความสําคญั ของคุณธรรม จรยิ ธรรม และเจตคติท่ี

ดตี ออาชพี ใชเทคโนโลยีไดเหมาะสม เหน็ คุณคาของอาชพี สุจริต และเหน็ แนวทาง ในการประกอบอาชพี

ทักษะทจ่ี ําเปนตออาชพี
ประกอบดวย ทักษะกระบวนการทาํ งาน ทักษะการจดั การ ทกั ษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการ

ทํางานรวมกัน และทกั ษะการแสวงหาความรู

ประสบการณในอาชีพ
เปนการจดั ใหผูเรียนไดเรยี นรู ไดเห็น และไดฝกปฏบิ ัตกิ จิ กรรมที่เกีย่ วกบั อาชีพ ทตี่ นเองถนดั และ

สนใจ

สถานการณแรงงาน
ประกอบดวย การมีงานทํา การจางงาน การคุมครองแรงงาน และการประกันสังคม ท้ังใน ปจจบุ นั

และอนาคต

78

บรรณานกุ รม

กระทรวงศึกษาธิการ. (2552) ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการงานอาชพี และเทคโนโลยี
ตาม หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551, กรุงเทพมหานค : โรงพมิ พช์ ุมชนสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.

79

คำสง่ั โรงเรยี นทับโพธ์ิพัฒนวทิ ย์

ท่ี 21 /2565

เรือ่ ง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำหลกั สูตรโรงเรยี นทบั โพธิ์พัฒนวิทย์ พุทธศักราช 2565

ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั รงุ พ.ศ.2560)

...................................................................

เพอื่ ให้การดำเนนิ การจัดการศกึ ษาดำเนิน ให้สอดคล้องกับหลกั สูตรแกนกลางขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศักราช

2551(ฉบบั ปรบั รุง พ.ศ.2560) และพระราชบัญญัตกิ ารศึกษา พทุ ธศักราช 2542 เปน็ ไปดว้ ยความ

เรยี บร้อยและมปี ระสิทธภิ าพ โรงเรยี นทับโพธ์ิพฒั นวทิ ย์ จงึ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการดำเนนิ งานดงั ต่อไปน้ี

1. คณะกรรมการทป่ี รึกษา

1.1 นางจันทร์ดี จอ้ ยสระคู ประธานกรรมการสถานศึกษา ประธานกรรมการ

1.2 นายเดน่ วิเศษวงษา ผู้ทรงคณุ วุฒิ รองประธานกรรมการ

1.3 นางหนูพชิ ย์ พหิ สู ูตร กรรมการสถานศกึ ษา กรรมการ

1.4 พระครพู ศิ าลปัญญารตั กรรมการสถานศึกษา กรรมการ

1.5 นายสาคร เพชรหงษ์ กรรมการสถานศกึ ษา กรรมการ

1.6 นายบญุ สนิ ทีภูงา กรรมการสถานศกึ ษา กรรมการ

1.7 นางอภญิ ญา กองแก้ว กรรมการสถานศกึ ษา กรรมการ

1.8 นายสรุ ีย์ บุญอนิ ทร์ ผูแ้ ทนองค์กรชุมชน กรรมการ

1.9 นางสภุ าพร เกสรพุด ผ้แู ทนผู้ปกครอง กรรมการ

1.10 นายชนะชัย ปราบหนองบัว ผู้แทนคณะกรรมการนักเรยี น กรรมการ

1.11 นางจฬุ าภรณ์ บญุ ศรี ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ฒั นวิทย์ กรรมการและเลขานกุ าร

1.12 นางโฉมยง พรมโส ครู กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร

มหี น้าที่ ให้คำปรึกษา แนะนำและส่งเสรมิ สนับสนนุ อำนวยการดำเนนิ งานในการจัดทำหลักสูตรให้ดำเนนิ ไป

ดว้ ยความเรียบรอ้ ย

2. คณะกรรมการบรหิ ารหลักสตู รสถานศึกษา

1. นางจฬุ าภรณ์ บุญศรี ผอู้ ำนวยการโรงเรียนทับโพธพ์ิ ฒั นวิทย์ ประธานกรรมการ

รอบรรจุ รองผอู้ ำนวยการฝ่ายวชิ าการ รองประธานกรรมการ

๒. นางสาวศศกิ านต์ ศรศรี หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กรรมการ

๓. นางวิภารภณ์ วเิ ศษวงษา หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ กรรมการ

๔. นางสาวลำจวน สงี าม หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ

๕. นายวรี เดช มะแพทย์ หวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษาฯ กรรมการ

๖. นางพชั รนันท์ แพงยา หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ กรรมการ

๗. นางธญั นนั ท์ ละอองศรี หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศลิ ปะ กรรมการ

๘. นายชยั ณรงค์ แสงอุทยั หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้สุขศกึ ษาพลศึกษา กรรมการ

๙. นางสาวอรวรรยา ศรีวงษา หัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ กรรมการ

80

๑๐. นางวิภาภรณ์ วิเศษวงษา หวั หน้างานแนะแนว กรรมการ

11. นายอนุชา ยอดงาม หวั หน้างานวดั และประเมนิ ผล กรรมการ

12. นายอนชุ า ยอดงาม หวั หนา้ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น กรรมการ

13. นายธนวิชญ์ แสงราม หวั หน้าพัฒนาหลกั สูตรสถานศกึ ษาฯ กรรมการ

๑4. นายธนวิชญ์ แสงราม หัวหน้างานวิชาการ กรรมการและเลขานกุ าร

มีหน้าที่ ดำเนินการวางแผนในการจดั ทำหลักสูตรสถานศกึ ษาให้ดำเนนิ ไปด้วยความเรยี บรอ้ ย

3. คณะกรรมการดำเนินงาน

3.1 กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย

3.1.1 นางสาวศศิกานต์ ศรศรี ครู หัวหน้า

3.2. กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์

3.2.1 นางวภิ าภรณ์ วิเศษวงษา ครู หัวหนา้

3.2.2 นางโฉมยง คนงาม ครู ผู้ช่วย

3.3 กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์

3.3.1 นางสาวลำจวน สงี าม ครู หัวหนา้

3.3.2 นายธนวิชญ์ แสงราม ครู ผู้ช่วย

3.3.3 นายทรัพย์ทวี โพธ์พิ ันธ์ ครู ผชู้ ่วย

3.3.4 นายอนชุ า ยอดงาม ครู ผ้ชู ว่ ย

3.4 กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คม ศาสนาและวัฒนธรรม

3.4.1 นายวรี เดช มะแพทย์ ครู หวั หนา้

3.4.2 นายสุรวัฒิ พันคลัง พเ่ี ล้ียงฯ ผู้ชว่ ย

3.5. กลมุ่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ

3.5.1 นางพัชรนันท์ แพงยา ครู หัวหนา้

3.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา

3.6.1 นายชยั ณรงค์ แสงอุทัย ครู หัวหน้า

3.7 กล่มุ สารการเรยี นร้ศู ิลปะ ดนตรี นาฎศลิ ป์

3.7.1 นางธัญนนั ท์ ละอองศรี ครู หัวหนา้

3.8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ

3.8.1 นางสาวอรวรรยา ศรวี งษา ครู หัวหน้า

หนา้ ท่ี จดั ทำหลักสูตรแตล่ ะกลุ่มสาระการเรยี นรขู้ องสถานศกึ ษาให้ดำเนนิ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย

ให้ผ้ทู ี่ได้รับการแต่งตัง้ ปฏิบตั ิหน้าท่โี ดยเตม็ ความสามารถ เพ่อื ใหเ้ กดิ ผลดีตอ่ ทางราชการ

สัง่ ณ วันที่ 3 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2565

( นางจฬุ าภรณ์ บุญศรี)
ผู้อำนวยการโรงเรียนทับโพธพ์ิ ัฒนวทิ ย์

81

ประกาศโรงเรียนทับโพธ์ิพฒั นวทิ ย์

เรื่อง อนุมตั ิใหใ้ ชห้ ลักสตู รสถานศึกษาโรงเรียนทับโพธพิ์ ฒั นวทิ ย์ พทุ ธศกั ราช 2565
ตัวชีว้ ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนร้(ู ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560)

ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
------------------------------------------

หลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรยี นทบั โพธ์พิ ฒั นวิทย์ พทุ ธศักราช 2565 ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรู้
แกนกลาง
กลมุ่ สาระการเรียนรู้(ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช
2551
ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1– 6 สำนกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ ฉบบั น้ี ได้รบั ความเหน็ ชอบ
จาก
คณะกรรมการสถานศึกษาข้นั พน้ื ฐาน โรงเรียนทบั โพธ์พิ ฒั นวิทย์ จึงประกาศให้ใชห้ ลักสูตรสถานศึกษาโรงเรยี น
ทบั โพธิพ์ ัฒนวทิ ย์ พทุ ธศักราช 2565 ตัวชวี้ ดั และสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ (ฉบบั
ปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ต้งั แต่บัดนเ้ี ป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันท่ี 9 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2565

(ลงชอ่ื )
( นางจุฬาภรณ์ บญุ ศรี )

ผ้อู ำนวยการโรงเรียนทับโพธิพ์ ฒั นวทิ ย์

82

ประกาศโรงเรยี นทับโพธพิ์ ัฒนวิทย์
เรือ่ ง ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน

------------------------------------------
ตามท่ีโรงเรยี นทบั โพธพิ์ ฒั นวิทย์ ได้จัดทำหลักสูตรสถานศกึ ษาโรงเรยี นทบั โพธพ์ิ ัฒนวิทย์ พทุ ธศกั ราช
2565 ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นร๎แู กนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู๎ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ.2560) ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดบั ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 – 6 สำนกั งานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษามธั ยมศึกษาสรุ ินทร์ ฉบบั น้ี เพ่ือกำหนดเปน็ วธิ ีปฏิบัตขิ องสถานศกึ ษา อนั เปน็ แนวทางให้เกิด
ความสำเรจ็ แกผ่ ู้เรยี นสูงสุด เพือ่ บรรลุจุดมุ่งหมายของหลกั สตู รทุกประการ นอกจากนี้ยงั เปน็ แนวทางปฏิบัติ
หน้าทรี่ าชการของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ในโรงเรียนอกี ดว้ ย คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั
พื้นฐานโรงเรยี นทบั โพธพิ์ ฒั นวทิ ย์และผมู้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งกับการศึกษาโรงเรียนทบั โพธพ์ิ ฒั นวทิ ย์ทุกคนเหน็ ชอบ
และจะทำทุกวถิ ีทางเพ่อื ใหเ้ กดิ ศักยภาพตามทก่ี ำหนดไวใ๎ นหลักสตู รสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐานฉบบั น้ที ุกประการ

ประกาศ ณ วนั ท่ี 9 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2565

(นางจันทรด์ ี จอ้ ยสระคู)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พื้นฐานโรงเรยี นทับโพธิ์พฒั นวิทย์

( นางจุฬาภรณ์ บุญศรี )
ผู้อำนวยการโรงเรยี นทับโพธ์พิ ัฒนวทิ ย์
กรรมการและเลขานกุ ารคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานโรงเรยี นทบั โพธิพ์ ฒั นวทิ ย์

83


Click to View FlipBook Version