The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนเผชิญเหตุหนองตาเดช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Rattanaporn Kaewpankan, 2022-05-11 04:34:36

แผนเผชิญเหตุหนองตาเดช

แผนเผชิญเหตุหนองตาเดช

ประกาศโรงเรียนบ้านหนองตาเดช
เร่ือง ให้ใช้แผนเปดิ เรียน Onsite ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖5
ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

แผนเปดิ เรียน Onsite ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา ๒๕๖5 ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของ โรคติด
เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) แนบท้ายประกาศเล่มนี้ โรงเรียนบ้านหนองตาเดช สำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบรุ ี เขต 4 รับนโยบายจากท่านเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน และ
ท่าน ผู้อำนวยการเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4 จัดทำข้ึนโดยผ่านความเห็นชอบของ
คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐานเพื่อใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับ การเตรียมความพร้อมก่อนเปิด
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖5 ในวันท่ี ๑7 พฤษภาคม 2565 เพ่ือสร้างความมน่ั ใจให้แก่นกั เรียน ผู้ปกครอง
และ ประชาชนทั่วไปว่า โรงเรียนบ้านหนองตาเดช มีแนวทางการสร้างความปลอดภัยให้กับนักเรียนก่อนการเปิด
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖5 และระหว่างที่จัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการที่
กระทรวง สาธารณสุขและกระทรวงศกึ ษาธิการกำหนด และเป็นไปตามนโยบายตน้ สังกัดทุกประการ

โรงเรียนบ้านหนองตาเดช หวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนเปิดเรียน Onsite ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา ๒๕๖5
ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เล่มนี้จะช่วยอำนวยความ
สะดวกให้แก่ผู้ปฏิบัติงานในสถานศึกษาได้เป็นอย่างดี ขอบคุณคณะทำงาน ทุกท่านที่ได้ร่วมกันจัดทำจนสำเร็จ
บรรลุตามวัตถปุ ระสงค์

(นายธวัชชัย สสั ดที อง)
ผ้อู ำนวยการโรงเรียนบ้านหนองตาเดช

2 พฤษภาคม 2565

แผนเปดิ เรยี น ON Site
ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา ๒๕๖5
ภายใต้สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
วนั ท่ี 17 พฤษภาคม 2565 โรงเรียนบา้ นหนองตาเดช
สังกัดสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4

สว่ นท่ี ๑ ข้อมูลพ้นื ฐานโรงเรยี น

โรงเรียนบ้านหนองตาเดช ต้ังอยู่ บ้านหนองตาเดช หมู่ที่ 14 ตำบลหนองปรือ อำเภอหนองปรือ จังหวัด

กาญจนบุรี 71220 E-mail: [email protected] เปดิ สอนต้ังแตร่ ะดับชั้นอนุบาล 1 ถึงชั้นประถมศกึ ษา

ปีที่ ๖ มี นายธวชั ชัย สัสดที อง เป็นผูอ้ ำนวยการโรงเรยี น หมายเลขโทรศัพท์ 092-8463251 ปัจจุบันมีจำนวน

ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาท้ังหมด 9 คน แยกเป็นข้าราชการครู 7 คน นกั การภารโรง ๑ คน เจา้ หนา้ ท่ี ธุรการ

๑ คน จำนวนนักเรียนท้ังหมด 135 คน แยกเป็นนักเรียนปฐมวัย 34 คน นักเรียนชั้นประถมศึกษา 101 คน

(ข้อมูล ณ วันที่ 2 พฤษภาคม 2565) มีเขตบริการของสถานศึกษา 3 หมู่บ้าน คือ บ้านหนองตาเดชหมู่ที่ 14

บา้ นหว้ ยผาก หมู่ที่ 19 บ้านวงทรพั ย์ หม่ทู ่ี 20 อำเภอหนองปรอื จังหวัดกาญจนบุรี

ระดบั ชัน้ ทเ่ี ปิดการเรยี นการสอน

ระดับชัน้ จำนวนห้องเรียน จำนวนนักเรียน หมายเหตุ

อนบุ าล 1 1 17

อนุบาล 2 1 15

อนบุ าล 3 1 12

รวมอนุบาล 3 34

ประถมศึกษาปีที่ 1 1 11

ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 1 11

ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 1 18

ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 1 12

ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 1 20

ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 1 19

รวมประถม 6 101

รวมทุกระดบั ช้ัน 9 135

สว่ นที่ ๒ ขอ้ มูลการวางแผนการเปดิ เรยี น

โรงเรียนมีการวางแผนการเปดิ เรยี นดงั น้ี

แผนการเปดิ เรยี น ON Site ของโรงเรียนบา้ นหนองตาเดช

วนั ทเี่ ปิดทำการเรียนการสอน รูปแบบการเรียนการสอน ON Site หมายเหตุ

วันจันทร์ อนบุ าล ๑ - ป.๖ นักเรียนต่อห้องมีจำนวน ต่ำกว่า

วันอังคาร อนุบาล ๑ - ป.๖ ๒๕ คน (ยกเว้น ป.๖ ซ่ึงให้ย้ายมา

วันพุธ อนบุ าล ๑ - ป.๖ เรี ย น ใน ห้ อ ง ท่ี มี ข น า ด ก ว้ า ง แ ล ะ

วันพฤหสั บดี อนุบาล ๑ - ป.๖ เพียงพอต่การเวน้ ระยะ)

วันศุกร์ อนุบาล ๑ - ป.๖

สว่ นท่ี ๓ มาตรการปอ้ งกนั การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด – 19)
โรงเรยี นบ้านบ้านหนองตาเดชได้กำหนดมาตรการความปลอดภัยโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ( โควิด

– 19) ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเขม้ งวด ไว้ดงั น้ี
๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC)
โดยขอความรว่ มมือจากผ้ปู กครอง ครู และนกั เรยี น ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข ภายใต้

๖ มาตรการหลัก ได้แก่
๑. เวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คลอย่างน้อย ๑-๒ เมตร (Distancing)
๒. สวมหน้ากากตลอดเวลาท่ีอยู่ในสถานศกึ ษา (Mask Wearing)
๓. ลา้ งมือดว้ ยสบแู่ ละนำ้ นาน ๒๐ วินาที หรอื ใชเ้ จลแอลกอฮอล์ (Hand Washing)
๔. คดั กรองวัดไข้ สังเกตอาการ ซักประวัติผสู้ มั ผสั เส่ยี งทุกคนก่อนเข้าสถานศกึ ษา (Testing)
๕. ลดการแออดั ลดเข้าไปในพ้ืนท่เี ส่ียง กลมุ่ คนจำนวนมาก (Reducing)
๖. ทำความสะอาด บรเิ วณพนื้ ผวิ สมั ผัสร่วม อาทิ ท่ีจับประตู ลูกบิดประตู ราวบันได เป็นต้น (Cleaning)
๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ)
๑. ดแู ลตนเองปฏิบัติตามมาตรการอยา่ งเคร่งครัด (Self-care)
๒. ใช้ช้อนกลางสว่ นตวั เมอ่ื ต้องกนิ อาหารรว่ มกนั (Spoon)
๓. กนิ อาหารปรุงสกุ ใหม่ กรณีอาหารเกบ็ เกิน ๒ ชั่วโมง ควรนำมาอุน่ ใหร้ อ้ นทั่วถงึ ก่อนกนิ อีกครั้ง (Eating)
๔. ไทยชนะ ลงทะเบียนตามท่ีรัฐกำหนด ด้วยแอปพลิเคชันไทยชนะ หรือลงทะเบียนบันทึกการเข้า-ออก

อย่างชดั เจน (Thai chana)
๕. สำรวจตรวจสอบ บุคคล นักเรียน และกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากพื้นท่ีเสี่ยงเพื่อเข้าสู่กระบวนการคัด

กรอง (Check)
๖. กักกันตวั เอง ๑๔ วนั เมือ่ เขา้ ไปสมั ผัสหรืออยู่ในพ้ืนท่ีเส่ียงท่ีมีการระบาดโรค (Quarantine)

๗. มาตรการเขม้ งวด
๑. สถานศึกษาผา่ นการประเมิน TSC+ และรายงานการติดตาม การประเมินผลผ่าน MOE Covid
๒. ทำกิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทำกิจกรรม ข้ามกลุ่มและจัดนักเรียนใน
ห้องเรียนขนาดปกติ (5 X๘) ไม่เกนิ ๒๕ คน หรือจัดให้เว้นระยะห่างระหว่างนักเรียนในห้องไม่น้อยกวา่ ๑.๕ เมตร
พจิ ารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อจงั หวัด
๓. จัดระบบการให้บริการอาหารสำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรใน สถานศึกษาตามหลักมาตรฐาน
สุขาภิบาลอาหารและหลกั โภชนาการ อาทิ เช่น การจัดซอ้ื จัดหาวัตถดุ ิบจากแหล่งอาหาร การปรุงประกอบอาหาร
หรือ การสั่งซ้ืออาหารตามระบบนำส่งอาหาร (Delivery) ท่ีถูกสุขลักษณะและ ต้องมีระบบตรวจสอบทาง
โภชนาการกอ่ นนำมาบรโิ ภค ตามหลักสุขาภิบาล อาหารและหลักโภชนาการ
๔. จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยส่ิงแวดล้อม ในการป้องกันโรคโควิด
๑๙ ในสถานศกึ ษาไดแ้ ก่ การระบายอากาศภายใน อาคาร การทำความสะอาดคุณภาพนำ้ ดมื่ และการจัดการขยะ
๕. ให้นักเรียนท่ีมีความเส่ียงแยกกักตัวในสถานศึกษา (School Isolation) และมีการซักซ้อมแผนเผชิญ
เหตุ รองรับการดูแลรักษาเบ้ืองต้น กรณี นักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีผลการตรวจพบเช้ือโรคโควิด
๑๙ หรอื ผล ATK เปน็ บวกโดยมกี ารซกั ซ้อมอยา่ งเครง่ ครัด
๖. ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่างเข้มข้น โดย
หลกี เลยี่ งการเข้าไปสัมผัสในพ้นื ทต่ี า่ ง ๆ ตลอดเสน้ ทางการเดนิ ทาง
๗. ให้จัดให้มี School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาซ่ึงประกอบด้วยข้อมูล ผล
การประเมิน TST ผลตรวจ ATK ภายใน ๗ วนั และประวตั ิการรบั วคั ซนี ตามมาตรการ

แผนเผชญิ เหตุ
โรงเรียนบ้านหนองตาเดชได้จัดให้มีเตรียมพร้อมไว้หากเกิดกรณีฉุกเฉิน และมีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัด
สม่ำเสมอ หากพบผ้ตู ิดเช้ือ หรือพบว่าเปน็ กลุ่มเส่ียงสูง สถานศึกษาต้องมีความพร้อมในเร่ืองสถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์
ทางการแพทย์ ระบบขนสง่ ระบบการประสานงานตรงกับบุคลากรทางการแพทยใ์ นพื้นท่ี รวมทั้งการสร้างการรับรู้
ข่าวสารภายใน การคัดกรองเพื่อแบ่งกลุ่มนักเรยี น ครแู ละบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ดังน้ี





แนวปฏบิ ัติการเตรียมการกอ่ นเปิดภาคเรียน
โรงเรียนบ้านหนองตาเดชตระหนักถึงความสำคัญของการเตรียมการก่อนการเปิดเรียน เนื่องจากมีความ

เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตนของนักเรียน ครู บุคลากร และผู้เก่ียวข้องทุกคนในสถานศึกษา เพื่อป้องกันไม่ให้มีการ
ติดเชื้อโรคโควิด ๑๙ (Covid-๑๙) ตัดความเส่ียง สร้างภูมิคุ้มกัน และสร้างความปลอดภัยแก่ทุกคน โรงเรียนบ้าน
หนองตาเดชจึงกำหนดแนวปฏบิ ัตกิ ารเตรียมการก่อนเปิดภาคเรยี น ใช้เป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ิ ดังน้ี

๑. การประเมินความพรอ้ มก่อนเปิดเรียน
โรงเรียนบ้านหนองตาเดชดำเนินการประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ของกรม
อนามัย กระทรวงสาธารณสุข เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖5
ประกอบด้วย 6 มิติ 20 ข้อ สถานศึกษาจะต้อง ผ่านการประเมนิ ทง้ั 20 ข้อ (สีเขียว)

๒. รายงานผลการประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ต่อที่ประชุมคณะกรรมการ
สถานศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือขอความเห็นชอบในการเปิดภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา ๒๕๖5 แบบ Onsite ในวันท่ี
9 พฤษภาคม 2565

๓. เสนอเอกสารการประเมินตนเองและความเห็นของการเปิดเรียนของคณะกรรรมการสถานศึกษ าข้ัน
พ้ืนฐาน และเอกสารข้อมูลจำนวนครู บุคลากรทางการศึกษา และจำนวนนักเรียนที่มีอายุ ๑๒ ปีขึ้นไปที่ประสงค์
รับการฉัดวัคซีน เสนอต่อสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา 9 พฤษภาคม 2565 เพื่อขออนุญาตต่อ คณะกรรมการ
โรคติดตอ่ จงั หวัดพิจารณาอนมุ ัติการเปดิ เรยี นในวนั ที่ ๑7 พฤษภาคม ๒๕๖5

๔. รณรงค์ครูและบุคลากรในสถานศึกษารับการฉีดวัคซีน ร้อยละ ๘๕ ขึ้นไป รวมท้ังผู้ปกครองนักเรียน
ได้รับการฉดี วคั ซีนให้มากทสี่ ุดกอ่ นเปดิ ภาคเรียน

๕. ครแู ละบคุ ลากรทกุ คนในสถานศึกษาตอ้ งไดร้ ับการตรวจ ATK ๑๐๐%
5. เตรียมความพร้อม อาคารสถานที่ ความสะอาดบริเวณของสถานศึกษาให้มีความพรอ้ มในการเปิดภาค
เรียน รวมทง้ั สือ่ เทคโนโลยีตา่ งๆ ใหพ้ รอ้ มในการจัดการเรยี นการสอน

สัปดาหท์ ่ี ๑ เร่ิมเปดิ เรยี น วนั ที่ 17 – 20 พฤษภาคม 2565
มาตรการป้องกันและแกไ้ ขสถานการณ์
สถานศึกษามุ่งการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนที่เน้นให้นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครองเกิด

ความเชื่อม่ันในความปลอดภัยของสถานศึกษาเปน็ สำคญั ยังไมเ่ น้นวิชาการมากเกินไป)
๑. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงานกับ

โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลหนองขอน เพอ่ื ช่วยคดั กรองและใหค้ ำแนะนำคณะครูเวรหนา้ ประตโู รงเรียน และ
นกั เรียน ก่อนเขา้ บริเวณโรงเรยี น

๒. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามัย ๑๐๐% มจี ุดตรวจวัดอณุ หภูมิร่างกาย และมีจุดบรกิ ารเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้างมือ
บริเวณโรงอาหาร เป็นต้น

๓. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนเข้าสู่ภายในบริเวณโรงเรียน หากมี
อุณหภูมสิ ูงกวา่ ๓๗.๕ องศาเซลเซยี สและมอี าการไข้ ไอ จาม เหน่อื ยหอบ หายใจลำบาก ใหน้ กั เรยี นหยุดเรยี นและ
ไปพบแพทยท์ ันที

๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจดั กิจกรรมต่างๆ ภายใน
โรงเรียน นกั เรียนเว้นระยะหา่ งกัน ๑-๒ เมตร

๕. การพักรับประทานอาหารกลางวัน - ปฐมวัยรับประทานอาหารเวลา ๑๑.00 น. - ๑๑.๓๐ น.
ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑-๓) รับประทานอาหารเวลา ๑๑.๓๐ น. - ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รบั ประทาน
อาหารเวลา ๑๒.00 น. โดยมีจุดบริการสำหรับล้างมือก่อนเข้าโรงอาหารสำหรับนักเรียน ๒ จุด นักเรียนน่ัง
รบั ประทานอาหารหา่ ง กนั ๑-๒ เมตร และมีการทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลงั รับประทานอาหารทกุ คร้ัง

๖. ดูแลและปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นสำหรับนักเรียนในกรณีฉุกเฉินให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภัยของนกั เรียนเป็นสำคญั

๗.หากมีนักเรียนมีความเส่ียงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีการตดิ ตอ่ ประสานงานกับ อสม. และ ผอ. รพ.สต. บ้านหนองขอน

๘. หากในชุมชนมีนกั เรียนหรือมีผู้ติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยุดทำการจดั การเรียนการสอน และทำ
ความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. บ้านหนองขอน เพ่ือเฝ้าระวังความ
ปลอดภัย เปน็ ระยะ

สัปดาห์ท่ี ๒ วันท่ี 23 - 27 พฤษภาคม ๒๕๖5
มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขสถานการณ์
สถานศึกษามุ่งการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนท่ีเน้นให้นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครองเกิด

ความเชือ่ มัน่ ในความปลอดภัยของสถานศึกษาเป็นสำคัญ ยังไม่เน้นวิชาการมากเกนิ ไป)
๑. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงานกับ

โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลหนองขอน เพ่ือช่วยคดั กรองและใหค้ ำแนะนำคณะครเู วรหนา้ ประตูโรงเรียน และ
นกั เรียน กอ่ นเข้าบริเวณโรงเรียน

๒. ครูและนกั เรียนทุกคนสวมหนา้ กากอนามัย ๑๐๐% มีจุดตรวจวัดอณุ หภูมิร่างกาย และมีจุดบรกิ ารเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเช้ือแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้างมือ
บริเวณโรงอาหาร เปน็ ตน้

๓. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนเข้าสู่ภายในบริเวณโรงเรียน หากมี
อุณหภูมิสูงกวา่ ๓๗.๕ องศาเซลเซยี สและมีอาการไข้ ไอ จาม เหนอื่ ยหอบ หายใจลำบาก ใหน้ ักเรียนหยุดเรยี นและ
ไปพบแพทยท์ ันที

๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจดั การเรียนการสอนในห้องเรียน การจดั กิจกรรมต่างๆ ภายใน
โรงเรยี น นักเรียนเว้นระยะหา่ งกัน ๑-๒ เมตร

๕. การพักรับประทานอาหารกลางวัน - ปฐมวัยรับประทานอาหารเวลา ๑๑.00 น. - ๑๑.๓๐ น.
ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑-๓) รบั ประทานอาหารเวลา ๑๑.๓๐ น. - ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รบั ประทาน
อาหารเวลา ๑๒.00 น. โดยมีจุดบริการสำหรับล้างมือก่อนเข้าโรงอาหารสำหรับนักเรียน ๒ จุด นักเรียนนั่ง
รบั ประทานอาหารหา่ ง กนั ๑-๒ เมตร และมกี ารทำความสะอาดโต๊ะอาหารหลังรบั ประทานอาหารทกุ คร้ัง

๖. ดูแลและปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นสำหรับนักเรียนในกรณีฉุกเฉินให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภยั ของนักเรยี นเป็นสำคญั

๗.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนเุ คราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีการติดตอ่ ประสานงานกบั อสม. และ ผอ. รพ.สต. บา้ นหนองขอน

๘. หากในชุมชนมีนกั เรียนหรอื มผี ตู้ ิดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยดุ ทำการจัดการเรียนการสอน และทำ
ความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. บ้านหนองขอน เพื่อเฝ้าระวังความ
ปลอดภัย เปน็ ระยะ

สัปดาหท์ ี่ ๓ วนั ท่ี 30 พฤษภาคม – วันที่ ๓ มถิ ุนายน ๒๕๖5
มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขสถานการณ์
สถานศึกษามุ่งการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนที่เน้นให้นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครองเกิด

ความเชอื่ มน่ั ในความปลอดภัยของสถานศึกษาเปน็ สำคญั ยงั ไมเ่ น้นวชิ าการมากเกินไป)
๑. ครดู ูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงานกับ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองขอน เพือ่ ช่วยคัดกรองและใหค้ ำแนะนำคณะครเู วรหน้าประตโู รงเรียน และ
นกั เรียน ก่อนเขา้ บริเวณโรงเรยี น

๒. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหนา้ กากอนามัย ๑๐๐% มีจุดตรวจวดั อณุ หภูมิร่างกาย และมีจุดบริการเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเช้ือแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้างมือ
บริเวณโรงอาหาร เป็นต้น

๓. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนเข้าสู่ภายในบริเวณโรงเรียน หากมี
อุณหภูมิสูงกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเซยี สและมอี าการไข้ ไอ จาม เหนอื่ ยหอบ หายใจลำบาก ให้นกั เรียนหยดุ เรียนและ
ไปพบแพทย์ทันที

๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรยี น การจดั กิจกรรมต่างๆ ภายใน
โรงเรียน นักเรียนเว้นระยะหา่ งกนั ๑-๒ เมตร

๕. การพักรับประทานอาหารกลางวัน - ปฐมวัยรับประทานอาหารเวลา ๑๑.00 น. - ๑๑.๓๐ น.
ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑-๓) รับประทานอาหารเวลา ๑๑.๓๐ น. - ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รับประทาน
อาหารเวลา ๑๒.00 น. โดยมีจุดบริการสำหรับล้างมือก่อนเข้าโรงอาหารสำหรับนักเรียน ๒ จุด นักเรียนน่ัง
รบั ประทานอาหารห่าง กนั ๑-๒ เมตร และมีการทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลังรบั ประทานอาหารทกุ คร้ัง

๖. ดูแลและปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักเรียนในกรณีฉุกเฉินให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภยั ของนักเรยี นเป็นสำคัญ

๗.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี ารตดิ ตอ่ ประสานงานกบั อสม. และ ผอ. รพ.สต. บ้านหนองขอน

๘. หากในชมุ ชนมีนักเรียนหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ให้หยดุ ทำการจัดการเรยี นการสอน และทำ
ความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. บ้านหนองขอน เพื่อเฝ้าระวังความ
ปลอดภัย เปน็ ระยะ

เดอื นมิถุนายน ๒๕๖5
มาตรการป้องกันและแก้ไขสถานการณ์
สถานศึกษามุ่งการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนท่ีเน้นให้นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครองเกิด
ความเชอ่ื มนั่ ในความปลอดภยั ของสถานศึกษาเป็นสำคญั ยงั ไม่เนน้ วชิ าการมากเกนิ ไป)
๑. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงานกับ
โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบลหนองขอน เพ่อื ช่วยคดั กรองและใหค้ ำแนะนำคณะครเู วรหนา้ ประตโู รงเรียน และ
นักเรยี น ก่อนเข้าบรเิ วณโรงเรียน
๒. ครูและนกั เรียนทกุ คนสวมหนา้ กากอนามัย ๑๐๐% มจี ุดตรวจวัดอณุ หภูมริ ่างกาย และมีจดุ บริการเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเชื้อแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้างมือ
บริเวณโรงอาหาร เปน็ ต้น
๓. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนเข้าสู่ภายในบริเวณโรงเรียน หากมี
อุณหภูมิสูงกวา่ ๓๗.๕ องศาเซลเซยี สและมีอาการไข้ ไอ จาม เหนอ่ื ยหอบ หายใจลำบาก ให้นักเรียนหยดุ เรยี นและ
ไปพบแพทยท์ ันที
๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน การจัดกิจกรรมต่างๆ ภายใน
โรงเรยี น นักเรยี นเวน้ ระยะห่างกัน ๑-๒ เมตร
๕. การพักรับประทานอาหารกลางวัน - ปฐมวัยรับประทานอาหารเวลา ๑๑.00 น. - ๑๑.๓๐ น.
ประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑-๓) รบั ประทานอาหารเวลา ๑๑.๓๐ น. - ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รับประทาน
อาหารเวลา ๑๒.00 น. โดยมีจุดบริการสำหรับล้างมือก่อนเข้าโรงอาหารสำหรับนักเรียน ๒ จุด นักเรียนน่ัง
รับประทานอาหารห่าง กัน ๑-๒ เมตร และมกี ารทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลงั รบั ประทานอาหารทุกครั้ง
๖. ดูแลและปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักเรียนในกรณีฉุกเฉินให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภยั ของนักเรยี นเป็นสำคญั
๗.หากมีนักเรียนมีความเสี่ยงสูงต่อการติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนเุ คราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีการติดตอ่ ประสานงานกับ อสม. และ ผอ. รพ.สต. บ้านหนองขอน
๘. หากในชุมชนมีนักเรยี นหรือมีผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ใหห้ ยุดทำการจัดการเรยี นการสอน และทำ
ความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. บ้านหนองขอน เพ่ือเฝ้าระวังความ
ปลอดภยั เป็นระยะ

เดอื นกรกฎาคม ๒๕๖๕
มาตรการป้องกนั และแก้ไขสถานการณ์
สถานศึกษามุ่งการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนที่เน้นให้นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครองเกิด
ความเช่ือมั่นในความปลอดภยั ของสถานศกึ ษาเปน็ สำคัญ ยงั ไมเ่ น้นวชิ าการมากเกนิ ไป)

๑. ครดู ูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงานกับ
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลหนองขอน เพอ่ื ช่วยคดั กรองและให้คำแนะนำคณะครเู วรหน้าประตูโรงเรียน และ
นักเรยี น กอ่ นเข้าบริเวณโรงเรยี น

๒. ครูและนกั เรียนทุกคนสวมหนา้ กากอนามัย ๑๐๐% มจี ุดตรวจวดั อุณหภูมริ ่างกาย และมีจดุ บริการเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเช้ือแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้างมือ
บรเิ วณโรงอาหาร เป็นตน้

๓. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนเข้าสู่ภายในบริเวณโรงเรียน หากมี
อณุ หภมู ิสูงกว่า ๓๗.๕ องศาเซลเซยี สและมีอาการไข้ ไอ จาม เหนือ่ ยหอบ หายใจลำบาก ให้นกั เรยี นหยุดเรยี นและ
ไปพบแพทย์ทนั ที

๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจดั การเรียนการสอนในห้องเรยี น การจดั กิจกรรมต่างๆ ภายใน
โรงเรียน นกั เรยี นเวน้ ระยะห่างกนั ๑-๒ เมตร

๕. การพักรับประทานอาหารกลางวัน - ปฐมวัยรับประทานอาหารเวลา ๑๑.00 น. - ๑๑.๓๐ น.
ประถมศึกษาตอนต้น (ป.๑-๓) รบั ประทานอาหารเวลา ๑๑.๓๐ น. - ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รับประทาน
อาหารเวลา ๑๒.00 น. โดยมีจุดบริการสำหรับล้างมือก่อนเข้าโรงอาหารสำหรับนักเรียน ๒ จุด นักเรียนน่ัง
รบั ประทานอาหารห่าง กนั ๑-๒ เมตร และมีการทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลังรับประทานอาหารทกุ คร้ัง

๖. ดูแลและปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นสำหรับนักเรียนในกรณีฉุกเฉินให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภยั ของนักเรยี นเปน็ สำคัญ

๗.หากมีนักเรียนมีความเส่ียงสูงต่อการติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีการตดิ ตอ่ ประสานงานกบั อสม. และ ผอ. รพ.สต. บ้านหนองขอน

๘. หากในชมุ ชนมีนักเรยี นหรือมีผตู้ ิดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ใหห้ ยุดทำการจดั การเรียนการสอน และทำ
ความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. บ้านหนองขอน เพ่ือเฝ้าระวังความ
ปลอดภยั เปน็ ระยะ

เดือนสิงหาคม ๒๕๖๕
มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขสถานการณ์
สถานศึกษามุ่งการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนที่เน้นให้นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครองเกิด
ความเช่ือม่ันในความปลอดภยั ของสถานศึกษาเป็นสำคัญ ยงั ไม่เนน้ วิชาการมากเกินไป)
๑. ครูดูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงานกับ
โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลหนองขอน เพ่ือช่วยคัดกรองและให้คำแนะนำคณะครูเวรหน้าประตูโรงเรียน และ
นกั เรียน ก่อนเขา้ บรเิ วณโรงเรียน
๒. ครูและนักเรียนทุกคนสวมหน้ากากอนามัย ๑๐๐% มจี ุดตรวจวัดอณุ หภูมริ ่างกาย และมีจดุ บริการเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพ่ือฆ่าเช้ือแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้างมือ
บริเวณโรงอาหาร เป็นต้น

๓. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนเข้าสู่ภายในบริเวณโรงเรียน หากมี
อุณหภมู ิสูงกวา่ ๓๗.๕ องศาเซลเซียสและมอี าการไข้ ไอ จาม เหนื่อยหอบ หายใจลำบาก ให้นักเรยี นหยดุ เรียนและ
ไปพบแพทยท์ ันที

๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจดั การเรียนการสอนในห้องเรยี น การจัดกิจกรรมต่างๆ ภายใน
โรงเรยี น นักเรียนเว้นระยะหา่ งกนั ๑-๒ เมตร

๕. การพักรับประทานอาหารกลางวัน - ปฐมวัยรับประทานอาหารเวลา ๑๑.00 น. - ๑๑.๓๐ น.
ประถมศึกษาตอนตน้ (ป.๑-๓) รับประทานอาหารเวลา ๑๑.๓๐ น. - ประถมศึกษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รบั ประทาน
อาหารเวลา ๑๒.00 น. โดยมีจุดบริการสำหรับล้างมือก่อนเข้าโรงอาหารสำหรับนักเรียน ๒ จุด นักเรียนน่ัง
รบั ประทานอาหารห่าง กนั ๑-๒ เมตร และมีการทำความสะอาดโต๊ะอาหารหลงั รบั ประทานอาหารทุกครั้ง

๖. ดูแลและปฐมพยาบาลเบื้องต้นสำหรับนักเรียนในกรณีฉุกเฉินให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภัยของนกั เรยี นเป็นสำคญั

๗.หากมีนักเรียนมีความเส่ียงสูงต่อการติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีการติดตอ่ ประสานงานกับ อสม. และ ผอ. รพ.สต. บ้านหนองขอน

๘. หากในชุมชนมีนกั เรียนหรอื มีผูต้ ิดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ใหห้ ยดุ ทำการจดั การเรยี นการสอน และทำ
ความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. บ้านหนองขอน เพื่อเฝ้าระวังความ
ปลอดภยั เปน็ ระยะ

เดือนกันยายน ๒๕๖๕
มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขสถานการณ์
สถานศึกษามุ่งการจัดกิจกรรมให้กับผู้เรียนที่เน้นให้นักเรียนมีความสุขกับการมาโรงเรียน ผู้ปกครองเกิด
ความเช่ือมน่ั ในความปลอดภัยของสถานศกึ ษาเปน็ สำคัญ ยงั ไม่เน้นวิชาการมากเกินไป)
๑. ครดู ูแลรับนักเรียน และคัดกรองนักเรียนตอนเช้า หน้าโรงเรียนเป็นประจำทุกวัน โดยประสานงานกับ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองขอน เพื่อช่วยคัดกรองและให้คำแนะนำคณะครูเวรหน้าประตูโรงเรียน และ
นักเรียน กอ่ นเขา้ บริเวณโรงเรยี น
๒. ครูและนกั เรียนทกุ คนสวมหนา้ กากอนามัย ๑๐๐% มจี ุดตรวจวดั อุณหภูมิร่างกาย และมีจุดบรกิ ารเจล
แอลกอฮอล์ล้างมือเพื่อฆ่าเช้ือแก่นักเรียน บริเวณจุดคัดกรองหน้าโรงเรียน หน้าห้องเรียนทุกห้อง และอ่างล้างมือ
บริเวณโรงอาหาร เป็นต้น
๓. คัดกรองนักเรียน ผู้ปกครอง ครูและบุคลากรทางการศึกษาก่อนเข้าสู่ภายในบริเวณโรงเรียน หากมี
อณุ หภมู สิ ูงกวา่ ๓๗.๕ องศาเซลเซยี สและมีอาการไข้ ไอ จาม เหนอ่ื ยหอบ หายใจลำบาก ให้นักเรยี นหยดุ เรยี นและ
ไปพบแพทย์ทันที
๔. จัดระเบียบการเข้าแถวหน้าเสาธง การจดั การเรียนการสอนในห้องเรยี น การจัดกิจกรรมต่างๆ ภายใน
โรงเรยี น นกั เรียนเว้นระยะหา่ งกัน ๑-๒ เมตร

๕. การพักรับประทานอาหารกลางวัน - ปฐมวัยรับประทานอาหารเวลา ๑๑.00 น. - ๑๑.๓๐ น.
ประถมศกึ ษาตอนตน้ (ป.๑-๓) รบั ประทานอาหารเวลา ๑๑.๓๐ น. - ประถมศกึ ษาตอนปลาย (ป.๔-๖) รับประทาน
อาหารเวลา ๑๒.00 น. โดยมีจุดบริการสำหรับล้างมือก่อนเข้าโรงอาหารสำหรับนักเรียน ๒ จุด นักเรียนนั่ง
รับประทานอาหารหา่ ง กัน ๑-๒ เมตร และมีการทำความสะอาดโตะ๊ อาหารหลงั รับประทานอาหารทุกครั้ง

๖. ดูแลและปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นสำหรับนักเรียนในกรณีฉุกเฉินให้ทันต่อเหตุการณ์ โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภยั ของนกั เรียนเปน็ สำคัญ

๗.หากมีนักเรียนมีความเส่ียงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนเุ คราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมกี ารติดตอ่ ประสานงานกบั อสม. และ ผอ. รพ.สต. บ้านหนองขอน

๘. หากในชุมชนมีนกั เรียนหรือมีผตู้ ิดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ใหห้ ยุดทำการจัดการเรยี นการสอน และทำ
ความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. บ้านหนองขอน เพ่ือเฝ้าระวังความ
ปลอดภัย เปน็ ระยะ

ส่วนที่ ๔ การวางแผนการทำงานร่วมกันหน่วยงานที่เกยี่ วข้อง
๑. ในสถานการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ โรงเรียนบ้านหนองตาเดช ประสานกับ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองขน และเจ้าหน้าที่ อสม. เพื่อให้คำแนะนำคณะครูเวรหน้าประตู
โรงเรียน และนกั เรยี น ก่อนเข้าบรเิ วณโรงเรียน ในการคัดกรองก่อนเขา้ โรงเรียน

๒. หากมีนักเรียนมีความเส่ียงสูงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ทางโรงเรียนประสานขอความ
อนุเคราะห์ ในการตรวจ ATK โดยมีการตดิ ตอ่ ประสานงานกบั อสม. และ ผอ. รพ.สต. บา้ นหนองขอน

๔. หากในชุมชนมีนักเรียนหรอื มผี ู้ติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒o๑๙ ให้หยุดทำการจัดการเรียนการสอน และทำ
ความสะอาดบริเวณโรงเรียน โดยมีการติดต่อประสานงานกับ ผอ. รพ.สต. บ้านหนองขอน เพื่อเฝ้าระวังความ
ปลอดภยั เป็นระยะ

สว่ นท่ี ๕ ในกรณีท่ีไม่สามารถเปิดการเรียนการสอน แบบ Onsite ได้ โรงเรียนมีการวางแผนการจัดการเรียน
การสอน ดงั น้ี

โรงเรียนบ้านหนองตาเดช ประสานงานกับชุมชน ผู้ใหญ่บ้าน กรรมการสถานศึกษาและผู้ปกครอง โดย
แจ้ง ประชาสัมพันธ์ผ่านเสียงตามสายหมู่บ้าน คณะครูที่ออกเยี่ยมบ้านและครูท่ีอาศัยในชุมชนในการประสานงาน
และประชาสมั พันธ์ผ่านช่องทาง Faebook ของโรงเรียน ในด้านการจัดการเรียนการสอนแบบ On Hand การรับ-
ส่งเอกสารใบงาน ใบความรู้ แบบฝึกหัดในการจัดการเรยี นการสอน โดยครูประจําช้ัน/ประจาํ วิชา กํากับติดตาม ๑
สปั ดาห์/คร้ัง

ปฐมวัย (อ.๑-๓)
ครูระดับปฐมวัย จัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยให้ผู้ปกครองมารับใบงานและใบความรู้ท่ีโรงเรียน (On -

hand) โดยกำกับติดตาม ๑ สัปดาห์/ครง้ั โดยประสานงานกับ ผู้ปกครอง แนะนำ สนับสนุน ในการกำกบั ติดตาม
นักเรียนรายบุคคล วัดและประเมินผล โดยใช้วิธีท่ีหลากหลายในการประเมินนักเรียนรายบุคคล ตามสภาพจริง
และมีการออก เย่ยี มบ้านและตดิ ตามประสานงานกับผู้ปกครองสำหรับนักเรยี นทไี่ ม่เข้าใจในบทเรียน

ประถมศกึ ษาตอนต้น (ป.๑-๖)
ครรู ะดับประถมศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยให้ผู้ปกครองมารับใบงานและใบความรูท้ ่ีโรงเรียน (On -

hand) โดยกำกับติดตาม ๑ สัปดาห์/ครั้ง โดยประสานงานกับ ผู้ปกครอง แนะนำ สนับสนุน ในการกำกับ ติดตาม
นักเรียนรายบุคคล วัดและประเมินผล โดยใช้วิธีที่หลากหลายในการประเมินนักเรียนรายบุคคล ตามสภาพจริง
และมีการออก เยย่ี มบ้านและตดิ ตามประสานงานกบั ผู้ปกครองสำหรบั นักเรียนที่ไม่เข้าใจในบทเรียน

ส่วนที่ 5 บทบาทของผเู้ กย่ี วขอ้ ง
ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ Covid-19) ยังคงมีการแพร่ระบาด

อย่างต่อเนื่อง เพ่ือใหส้ ถานศกึ ษามแี นวทางการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๔ (Covid-
19) โรงเรยี นบ้านหนองตาเดชไดก้ ำหนดบทบาทของบุคลากรและหน่วยงานทีเ่ กี่ยวข้อง ดงั นี้

๑. บทบาทของนกั เรยี น
นักเรียนเป็นหัวใจสำคัญที่ต้องได้รับความคุ้มครอง ดูแลในเร่ืองความปลอดภัยอย่างสูงสุด ทั้งนี้ นักเรียน
จะต้องถือปฏิบัติตนตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุข และกระทรวงศึกษาธิการ อย่าง
เคร่งครัด ต้ังแต่การเดินทางออกจากบ้านมาเรียน ขณะอยู่ในโรงเรียน จนถึงการกลับบ้าน บทบาทของ นักเรียน
ควรมีดังน้ี
๑) เตรยี มความพรอ้ มในเรื่องอุปกรณ์การเรียน เครอื่ งใชส้ ว่ นตวั และอืน่ ๆ ทจ่ี ำเป็นสำหรบั การเรยี น การ
สอน
๒) ปฏิบัติตาม ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเข้มงวด ของสถานศึกษากำหนด
อยา่ งเคร่งครัด
๓) ติดตามข้อมูลข่าวสารสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid19) และ
สรา้ งความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกันตนเอง และลดความเสีย่ งจากการแพร่กระจายของ โรคติดเช้ือ
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) จากแหล่งข้อมูลที่เชอ่ื ถือได้
๔) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคช่ัน Thai Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอ และสังเกต
อาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีนำ้ มูก เจ็บคอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไมไ่ ดก้ ลนิ่ ไมร่ ู้รส รีบแจง้ ครู
หรือผู้ปกครองให้พาไปพบแพทย์ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยดว้ ยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) หรือ
กลับจากพืน้ ที่เสย่ี ง และอยูใ่ นช่วงกกั ตัว ให้ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจา้ หนา้ ท่สี าธารณสขุ อย่างเครง่ ครดั

๕) ขอคำปรึกษาจากครูผู้สอนเม่ือพบปัญหาเกี่ยวกับการเรียน อุปกรณ์การเรียนเรียน เคร่ืองใช้ ส่วนตัว
หรือพบความผิดปกตขิ องรา่ งกายทอ่ี าจเสย่ี งต่อการตดิ เชื้อของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid19) ทันที

๒. บทบาทของครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
ครูและบุคลากรทางการศึกษานั้น ซึ่งถือว่าอยู่ใกล้ชิดนักเรียน มีหน้าท่ีสำคัญในการจัดการเรียนรู้ให้แก่

นักเรียนทุกรูปแบบ จึงต้องเตรียมความพร้อมการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลการเรียนการสอน
นอกจากจะต้องดูแลตนเองแล้ว ยังต้องดูแลนักเรียนอีกด้วย โดยเฉพาะด้านสุขอนามัยตามมาตรการที่กระทรวง
สาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธิการกำหนด บทบาทของครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ควรมดี งั นี้

๑) ประชุมชีแ้ จงผู้ปกครองนกั เรียนเพ่ือสร้างความเขา้ ใจรว่ มกัน ในการป้องกนั การ เฝ้าระวัง การเตรียมตัว
ของนกั เรียนใหพ้ รอ้ มก่อนเปดิ เรยี น

๒) ประเมินความเสี่ยงของตนเองผ่านแอพพลิเคชัน Thai Save Thai (TST) อย่างสม่ำเสมอและสังเกต
อาการป่วยของตนเอง หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลําบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กล่ิน ไม่รู้รส ให้หยุด
ปฏิบัติงาน และรีบไปพบแพทย์ทันที กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
หรอื กลบั จากพืน้ ที่เส่ยี งและอย่ใู นช่วงกกั ตัว ใหป้ ฏิบัติตามคำแนะนำของเจา้ หน้าที่สาธารณสขุ อย่าง เครง่ ครัด

๓) ติดตามข้อมูลขา่ วสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๔ (Covid19) และ
สร้างความรู้ความเข้าใจของคำแนะนำในการป้องกนั ตนเอง และลดความเสยี่ งจากการแพร่กระจายของ โรคติดเช้ือ
ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (โควดิ -19) จากแหลง่ ข้อมูลทเ่ี ช่อื ถอื ได้

๔) จัดหาส่ือประชาสัมพันธ์ในการป้องกันและลดความเส่ียงจากการแพร่กระจายโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ให้แก่นักเรียน เช่น สอนวิธีการล้างมือที่ถูกต้อง การสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย
คำแนะนำการปฏบิ ัติตัว การเว้นระยะห่างทางสงั คม การทำความสะอาด หลกี เล่ียงการทำกจิ กรรม ร่วมกันจำนวน
มากเพ่อื ลดจำนวนคน

๕) ปฏิบัติตาม ๖ มาตรการหลัก ๖ มาตรการเสริม และ ๗ มาตรการเข้มงวดของสถานศึกษา กำหนด
อย่างเคร่งครดั

๖) คอยดูแล สอดส่อง ช่วยเหลือนักเรียนในเรื่องสุขอนามัยให้เป็นไปตามมาตรการท่ีกระทรวงสาธารณสุข
และกระทรวงศึกษาธิการกำหนด ได้แก่

(๑) ทำการตรวจคัดกรองสุขภาพนักเรียนทุกคนที่เข้ามาในโรงเรียนในตอนเช้า ใช้เครื่องวัดอุณหภูมิ
ร่างกายพร้อมสังเกตอาการและสอบถามอาการของระบบทางเดินหายใจ เช่น ไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจ
ลำบาก เหนื่อยหอบ ไม่ไดก้ ลน่ิ ไม่รู้รส

(๒) กรณีพบนกั เรียนหรอื ผู้มอี าการมีไข้ อุณหภมู ิร่างกายตั้งแต่ ๓๗.๕ องศาเซลเซียสข้ึนไป ร่วมกบั อาการ
ระบบทางเดินหายใจอย่างใดอย่างหน่ึง จัดให้อยู่ในพ้ืนที่แยกส่วน ประสานโรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพประจำ
ตำบล หรอื เจ้าหน้าท่ีสาธารณสุข เพื่อตรวจคัดกรองอีกคร้ัง หากพบว่าผลตรวจเบื้องเป็นบวก จึงแจ้งผู้ปกครองมา
รับ จากน้ันแจ้งผู้บริหารหรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อดำเนินการตามแผนเผชิญเหตุ และมาตรการป้องกันตามระดับ
การแพร่ระบาดโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสถานศกึ ษา

(๓) บันทึกผลการคัดกรองและส่งต่อประวัตกิ ารปว่ ย ตามแบบบนั ทึกการตรวจสขุ ภาพ
(๔) จัดอุปกรณ์การล้างมือ พร้อมใช้งานอย่างเพียงพอ เช่น เจลแอลกอฮอล์วางไว้บริเวณทางเข้า สบู่ล้าง
มือบรเิ วณอา่ งลา้ งมอื
๕) ตรวจสอบ กำกับ ติดตามการมาเรียนของนักเรียน ขาดเรียน ถูกกักตัว หรืออยู่ในกลุ่มเส่ียงต่อการติด
โรคโควดิ 19 และรายงานต่อผู้บรหิ ารสถานศึกษา
๖) ปรับพฤติกรรมสำหรับนักเรียนที่ไม่ร่วมมือปฏิบัติตามมาตรการที่ครูกำหนด ด้วยการแก้ปัญหาการ
เรยี นรใู้ หม่ใหถ้ ูกต้อง นน่ั คือ “สรา้ งพฤติกรรมทพี่ งึ ประสงค์” หรือ “ลดพฤตกิ รรมที่ไม่พงึ ประสงค์”
๗) สร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับความเครียด ว่าเป็นปฏิกิริยาปกติท่ีเกิดข้ึนได้ในภาวะวิกฤติที่มีการ
แพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) และนำกระบวนการการจัดการความเครียด การฝึก
สติให้กลมกลืนและเหมาะสมกับนักเรียนแต่ละวัยร่วมกับการฝึกทักษะชี วิตท่ีเสริมสร้างความเข้มแข็งทาง ใจ
(Resilience) ใหก้ บั นักเรยี น ไดแ้ ก่ ทกั ษะชีวติ ด้านอารมณ์ สงั คม และความคดิ เปน็ ต้น
๘) สังเกตอารมณ์ความเครียดของตัวเอง เน่ืองจากภาระหน้าท่ีการดูแลนักเรียนจำนวนมาก และกำกับให้
ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เป็นบทบาทสำคัญอาจจะสร้าง
ความเครียดวิตกกังวลทั้งจากการเฝ้าระวงั นักเรียน และการป้องกันตัวเองจากการสัมผัสกับเชื้อโรค ดังน้ัน เม่ือครู
มคี วามเครยี ด จากสาเหตตุ ่างๆ มขี อ้ เสนอแนะ ดงั น้ี
(๑) กรณีมีความสับสนกับมาตรการของโรงเรียนที่ไม่ชัดเจน แนะนำใหส้ อบถามกับผู้บริหาร โรงเรียนหรือ
เพอื่ นรว่ มงาน เพื่อให้เข้าใจบทบาทหน้าท่แี ละข้อปฏบิ ตั ิท่ตี รงกนั
(๒) กรณีมีความวิตกกังวล กลัวการติดเชื้อในโรงเรียน ให้พูดคุยสื่อสารถึงความไม่สบายใจ และร้องขอ
สิ่งจำเป็นสำหรับการเรียนการสอนที่เพียงพอต่อการป้องกันการติดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid19)
เช่น สถานที่ ส่ือการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้ การส่งงานหรือตรวจการบ้าน เป็นต้น หากตนเองเป็นกลุ่ม
เสี่ยงหรือมีโรคประจำตัวก็สามารถเข้ารับการตรวจ รักษาตามมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุข และ
กระทรวงศึกษาธิการกำหนด
(๓) จัดให้มีกิจกรรมบำบัดความเครียด โดยการฝึกสติให้เป็นกิจวัตรก่อนเร่ิมการเรียนการสอน เพ่ือลด
ความวิตกกงั วลต่อสถานการณท์ ต่ี งึ เครยี ดนี้
๙) กำกับและติดตามการได้รับวัคซีนของนักเรยี นและผูป้ กครองนักเรยี นใหเ้ ป็นไปตามมาตรการท่ีกำหนด
และเปน็ ปจั จบุ นั

๓. บทบาทของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ท่ีมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนตั้งแต่การวางแผน การกำหนดนโยบาย
สถานศึกษา การเตรียมความพร้อมการเปิดเรียน การส่งเสริมครูในการออกแบบการจัดการเรียนการสอน การ
กำกับ ติดตามช่วยเหลือ การประเมินผลการจัดการเรียนการสอน การแก้ไขปัญหา การประเมินสถานการณ์ การ
รายงาน ตลอดจนร่วมมือกับครูและบุคลากร ผู้ปกครองนักเรียน ให้การตรวจสอบสถานการณ์การแพร่ระบาดของ

โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) เพ่อื ความปลอดภัยของนกั เรยี น โดยบทบาทของผบู้ ริหารสถานศึกษา
ควรมี ดงั น้ี

๑) จัดให้มีการประชมุ หารือรว่ มกนั ของคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน ครู ผูป้ กครอง นักเรียน ผนู้ ำ
ชุมชน และมมี ตใิ หค้ วามเห็นชอบร่วมกันในการจัดพนื้ ท่ี และรูปแบบการจดั การเรยี นการสอน

๒) ประกาศนโยบายและแนวปฏิบัติการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙
(Covid-19) ในโรงเรยี น

๓) แต่งตั้งคณะทำงานดำเนินการควบคุมดูแลและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ประกอบดว้ ย นกั เรียน ครู ผปู้ กครอง เจา้ หน้าท่สี าธารณสขุ ท้องถ่ิน ชุมชน และ ผู้เกี่ยวขอ้ ง

๔) ประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus (TSC+) และรายงานการติดตามการประเมินผล
ผ่าน MOE COvid

๕) ทบทวน ปรบั ปรุง ซักซอ้ มปฏิบัติตามแผนเผชญิ เหตุของโรงเรียนในภาวะท่ีมีการระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

๖) จัดให้มีการส่ือสารประชาสัมพันธ์แนวทางการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) เกี่ยวกับนโยบาย มาตรการ แนวปฏิบัติ และการจัดการเรียนการสอนให้แก่ครู นักเรียน
ผู้ปกครอง และคณะกรรมการโรงเรียน ผ่านช่องทางสื่อที่เหมาะสม และติดตามข้อมูลข่าวสารท่ีเก่ียวข้อง จาก
แหลง่ ขอ้ มลู ทเ่ี ชื่อถือได้

๗) สนบั สนนุ ใหน้ ักเรยี น ครแู ละบคุ ลากรไดร้ ับวัคซีนครบโดส ต้งั แต่ร้อยละ 85 ข้นึ ไป
๘) สนับสนนุ ให้มีการตรวจคดั กรอง Antigen Test Kit (ATK) ตามมาตรการของภาครฐั
๙) สนับสนุน ส่งเสริม ให้นักเรียน ครู บุคลากรทางการศึกษา และผู้ปกครองประเมินตนเองผ่าน Thai
Save Thai (TST) ตามเกณฑ์จำแนกเขตพน้ื ทก่ี ารแพรร่ ะบาด
๑๐) สื่อสารสร้างความรู้ความเข้าใจ เพื่อลดการรังเกียจ และลดการตีตราทางสังคม (Social Stigma)
กรณีพบวา่ มีบุคลากรในโรงเรยี น นักเรียน หรือผู้ปกครองตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๑๑) กำหนดมาตรการคัดกรองสุขภาพทุกคน บริเวณจุดแรกเข้าไปในโรงเรียน (Point of Entry) ให้แก่
นักเรียน ครู บุคลากร และผู้มาติดต่อ และจัดให้มีพื้นท่ีแยกโรค อุปกรณ์ป้องกัน เช่น หน้ากากผ้า หรือ หน้ากาก
อนามัย เจลแอลกอฮอล์ อย่างเพียงพอ รวมถึงเพิ่มช่องทางการสื่อสารระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครอง และ
เจ้าหน้าท่สี าธารณสุข ในกรณีท่พี บนกั เรยี นกลุม่ เสี่ยงหรอื สงสัย
๑๒) จัดให้นักเรียนสามารถเข้าถึงการเรียนการสอนท่ีมีคุณภาพเหมาะสมตามบริบทได้อย่างต่อเนื่อง
ตรวจสอบ ติดตาม กรณีนักเรียนขาดเรียน ลาป่วย การปิดโรงเรียน การจัดให้มีการเรียนการสอนทางไกล สื่อ
ออนไลน์ การตดิ ตอ่ ทางโทรศัพท์ หรอื Social Media เป็นรายวัน หรือรายสปั ดาห์
๑๓) กรณีพบนักเรียน ครู บุคลากร หรือผู้ปกครองอยู่ในกลุ่มเส่ียงหรือผู้ป่วยยืนยันเข้ามาในโรงเรียน ให้
รบี แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพ้ืนท่ีเพื่อดำเนินการสอบสวนโรค และพิจารณาดำเนินการตามแผนเผชิญเหตุ และ
มาตรการป้องกนั ตามระดับการแพรร่ ะบาดโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสถานศกึ ษา

๑๔) มีมาตรการให้นักเรียนได้รับอาหารกลางวันและอาหารเสริมนม ตามสิทธิท่ีควรได้รับ กรณีพบอยู่ใน
กลุ่มเส่ยี งหรอื อยใู่ นชว่ งกักตวั

๑๕) ควบคุม กำกับ ติดตาม ตรวจสอบ และรายงานผลการดำเนินงาน ตามมาตรการป้องกัน การแพร่
ระบาดภายในโรงเรยี นอยา่ งเครง่ ครัด และต่อเนอ่ื ง

๔. บทบาทของผปู้ กครองนักเรียน
ผู้ปกครองนักเรียนเป็นบุคคลท่ีมีสำคัญยิ่ง มีหน้าที่ต้องดูแลเอาใจใส่นักเรียนและตนเองในด้านสุขอนามัย
และการป้องกันความเส่ียงจากการแพรร่ ะบาดของเช้ือโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) อยา่ งเครง่ ครัด
ต้องให้ความร่วมมือกับโรงเรียน ครูประจำช้ัน หรือครูที่ปรึกษา เกี่ยวกับมาตรการการดูแลนักเรียน ผู้ปกครอง
นักเรียนจึงมีบทบาทสำคัญร่วมกับครูเพ่ือช่วยนักเรียนทั้งในเร่ืองการเรียนรู้และการดูแลความปลอดภัย ของ
นกั เรียน บทบาทของผูป้ กครองนักเรยี น ควรมีดงั นี้
๑) ติดตามข้อมลู ข่าวสารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid19) และ
สร้างความรู้ความเข้าใจในการป้องกันตนเอง และลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) จากแหลง่ ขอ้ มูลท่เี ชอ่ื ถือได้
๒) ประเมินความเส่ียงของตนเอง นกั เรียน และคนในครอบครวั ผา่ นแอปพลิเคชัน Thai Save Thai (TST)
อย่างสม่ำเสมอ สังเกตอาการป่วยของนักเรียน ของตนเอง และของคนในครอบครัว หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก
เจ็บคอ หายใจลำบาก เหน่ือยหอบ ไม่ได้กล่ิน ไม่รู้รส ให้รีบพาไปพบแพทย์ ควรแยกเด็กไม่ให้ไปเล่นกับคนอื่น ให้
พักผ่อนอยู่ท่ีบ้านจนกว่าจะหายเป็นปกติ กรณีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-
19) หรือกลบั จากพ้ืนทเ่ี สี่ยงอยู่ในช่วงกักตัวให้ปฏบิ ตั ิตามคำแนะนำของเจา้ หน้าทส่ี าธารณสุข อยา่ ง เคร่งครัด
๓) จัดหาของใช้ส่วนตัวให้นักเรยี นอย่างเพียงพอในแต่ละวัน ทำความสะอาดทุกวัน เช่น หน้ากากผา้ ซ้อน
ส้อม แก้วน้ำ แปรงสีฟนั ยาสฟี นั ผ้าเชด็ หน้า ผา้ เช็ดตวั เปน็ ต้น
๔) จัดหาสบู่หรือเจลแอลกอฮอล์และกำกับดูแลนักเรียนให้ล้างมือบ่อย ๆ ก่อนกินอาหาร หลังใช้ส้วม
หลีกเล่ียงการใชม้ ือสัมผัสใบหน้า ตา ปาก จมูก โดยไมจ่ ำเป็น และสร้างสุขนิสัยที่ดี หลังเลน่ กับเพื่อน และเมื่อกลับ
มาถงึ บ้าน ควรอาบนำ้ สระผม และเปลี่ยนชุดเสื้อผ้าใหม่ทนั ที
๕) ดูแลสขุ ภาพนกั เรียน จดั เตรียมอาหารปรุงสุกใหม่ ส่งเสริมให้กินอาหารร้อน สะอาด อาหารครบ ๕ หมู่
และผัก ผลไม้ และควรจัดอาหารกล่อง (Box Set) ให้แก่นักเรียนในช่วงเช้าแทนการซ้ือจากโรงเรียน (กรณี ที่ไม่ได้
รับประทานอาหารเช้าจากที่บ้าน) เพ่ือเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน ออกกำลังกาย อย่างน้อย ๖๐ นาที ทุกวันและ นอน
หลับอยา่ งเพียงพอ ๙ - ๑๑ ชว่ั โมงต่อวัน
๖) หลีกเลี่ยงการพานักเรียนไปในสถานเสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) สถานท่ี
แออัดที่มีการรวมกันของคนจำนวนมาก หากจำเป็นต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อย ๆ
๗ ขน้ั ตอนด้วยสบู่และน้ำนาน ๒๐ วินาที หรือใช้เจลแอลกอฮอล์
๗) กรณีนักเรียนเดินทางมาโรงเรียนโดยรถโรงเรียน รถตู้ หรือรถอ่ืน ๆ ผู้ปกครองและโรงเรียนต้องขอ
ความรว่ มมอื กบั คนขับรถให้ปฏบิ ัตติ ามมาตรการของสาธารณสขุ อยา่ งเครง่ ครดั

๘) กรณีมีการจัดการเรียนการสอนทางไกล ออนไลน์ ผู้ปกครองควรให้ความร่วมมือกับครูในการ ดูแล
จดั การเรยี นการสอนแกน่ กั เรียน เช่น การสง่ การบา้ น การรว่ มทำกิจกรรม เป็นต้น

๕. บทบาทขององคก์ รสนับสนุน
๕.๑ สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศกึ ษา
๑) ประชาสัมพันธ์สร้างความรู้ความเข้าใจให้โรงเรียนในสังกัด เก่ียวกับการป้องกันตนเอง การดูแล
สุขอนามัยของตนเอง และบุคคลในครอบครัว
๒) ประสานงานองคก์ รต่างๆ ในเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาในการชว่ ยเหลอื สนบั สนุนโรงเรยี น
๓) นิเทศ กำกับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดด้านการบริหารโรงเรียนภายใต้สถานการณ์การแพร่ ระบาด
ของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๔) กำกับ ติดตาม โรงเรียนในสังกัดด้านการบริหารข้อมูลสารสนเทศเก่ียวกับการได้รับ วัคซีน ของ
นกั เรียน ครู ผบู้ ริหารโรงเรยี น และผูป้ กครองนกั เรยี นให้ได้รบั วัคซนี ตามมาตรการที่กำหนด
๕) รายงานผลการดำเนนิ การต่อหน่วยงานตน้ สงั กัดใหท้ ราบความเคลือ่ นไหวอยา่ งต่อเน่อื งสมำ่ เสมอ
๖) ประชมุ ตรวจเย่ียมสถานศึกษา สร้างขวัญกำลังใจในการเตรยี มความพรอ้ มกอ่ นเปดิ ภาค เรียน ทัง้ แบบ
ปกตแิ ละแบบทางไกล
๕.๒ สำนกั งานสาธารณสุข
๑) ให้คำแนะนำเกี่ยวกับข้อควรปฏิบัติของสถานศึกษา สนับสนุนการดำเนินงานของโรงเรียนให้
สอดคล้องตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสขุ และกระทรวงศึกษาธิการกำหนด
๒) สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อุปกรณ์วัด อุณหภูมิ
หนา้ กากอนามยั เจลล้างมือ ฯลฯ
๓) สนับสนุนบุคลากรทางการแพทย์ในการบริการตรวจคัดกรองความเส่ียงให้แก่ นักเรียน ครู และ
บุคลากรทางการศึกษา
๔) จัดให้มีชอ่ งทางการสื่อสาร การให้ข้อมูลข่าวสารท่ีถูกต้อง เป็นปัจจุบันให้กับสถานศึกษา และจัดระบบ
สนบั สนุนเมอ่ื มนี กั เรียน ครูหรือบคุ ลากร มีความเส่ียงต่อการติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๕) สำรวจ ติดตามสถานการณ์ในพ้ืนท่ีบริการอย่างต่อเน่ือง กรณีพบผู้มีอาการเสี่ยงหรือป่วย ต้อง
ดำเนนิ การทันที และรายงานให้สถานศึกษาทราบเพอ่ื ดำเนินการตามมาตรการต่อไป
๖) ออกให้บริการ ตามที่สถานศึกษาร้องขอ เช่น จัดเจ้าหน้าท่ี อสม.ประจําหมู่บ้าน ตำบล ตรวจเวรยาม
บนั ทึกตแู้ ดงตามจุดที่ โรงเรยี นกำหนด และอน่ื ๆ ตามความต้องการจำเป็น
๕.๓ องค์กรทางปกครอง
๑) ประชาสมั พันธ์สรา้ งความเข้าใจใหโ้ รงเรียน และชุมชนในเขตการปกครองมีความร้คู วามเข้าใจ เกย่ี วกับ
การปอ้ งกนั ตนเอง การดูแลสขุ อนามยั ของตนเอง และบคุ คลในครอบครัว
๒) สนับสนนุ ช่วยเหลอื โรงเรยี นในเขตปกครองตามคำสงั่ ของจงั หวดั อยา่ งเคร่งครดั
๓) กำกบั ติดตามการไดร้ บั วัคซีนของประชาชนในเขตปกครองและมขี ้อมลู ทางสถิติที่อ้างองิ เชื่อถือได้

๔) ใหบ้ รกิ ารตามที่สถานศกึ ษาร้องขอตามความต้องการเร่งด่วนและจำเปน็
๕.๔ องค์กรเอกชน
๑) สนับสนุนอุปกรณ์ทางการแพทย์ อาทิ ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) อุปกรณ์วัดอุณหภูมิ
หนา้ กากอนามัย เจลล้างมือ ฯลฯ
๒) สนับสนุนงบประมาณให้แก่สถานศึกษาในการนำไปใช้บริหารจัดการภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)
๓) อำนวยความสะดวกให้ความช่วยเหลือกรณีฉุกเฉินจำเป็นในการส่งตัวนักเรียน ครูและบุคลากร ท่ีคาด
วา่ จะไดร้ ับเชอ่ื หรือเปน็ กลุ่มเสย่ี งส่งหนว่ ยงานสาธารณสขุ ไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว
๔) สร้างระบบการตดิ ต่อส่ือสารหน่วยงานภายในจังหวัด อำเภอ ตำบล ให้มีความรวดเรว็ ในการช่วยเหลือ
ดูแลนกั เรียน ครู บุคลากร และผปู้ กครอง ท่สี ถานศึกษาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ

ส่วนท่ี ๗ การติดตามและประเมินผล
การติดตามและประเมินผลเป็นกระบวนการสำคัญที่จะต้องดำเนินการให้เป็นไปตามแนวทางการ
เตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานกำหนดไว้ เพื่อติดตาม ดูแลช่วยเหลือหรือ
แกไ้ ขปญั หา รับทราบความกา้ วหน้า ปญั หาอุปสรรคของการดำเนินงาน และขอ้ เสนอแนะ ดงั นี้
สถานศึกษากำหนดหรือแต่งต้ังผู้รับผิดชอบดำเนินการตามแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ ๒ ปี
การศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) โดยให้มี
การติดตามและประเมนิ ผล ดังน้ี
๑) การนำแนวทางการเตรียมการเปิดภาคเรียนท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ ภายใต้สถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การ
ปฏบิ ัติ
๒) การประเมนิ ตนเองผ่านระบบ Thai Stop Covid Plus :TSC+ และรายงานการตดิ ตามการประเมินผล
ผ่าน MOE Covid
๓) การปฏบิ ตั ิตามมาตรการ Sandbox : Safety Zone in School ท้งั ๔ องคป์ ระกอบ
๔) การปฏิบัติตาม ๗ มาตรการเข้มของสถานศกึ ษาระหวา่ งการจัดการเรียนการสอน
๕) การทำและการปฏิบัติตามแผนการเผชิญเหตุทก่ี ำหนดไว้

ส่วนที่ ๔ ข้อเสนอแนะ / ข้อคิดเหน็ อืน่ ๆ
การสนับสนุนหน้ากากอนามัย แอลกอฮอล์ และเจลแอลกอฮอล์สำหรับล้างมือสำหรับนักเรียนที่ขาด
แคลน เพอ่ื ใช้ในชว่ งการจดั การเรยี นการสอนแบบ Onsite

ลงชื่อ
(นายธวัชชัย สสั ดีทอง)

ตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยการโรงเรียนบา้ นหนองตาเดช


Click to View FlipBook Version