ชา้ งกบั สายนำ�้
کاونن ݢاجه
دڠن سوڠي
โครงการรักการอา่ น ผา่ นนทิ านต�ำนานชุมชน ส่ผู เู้ รียนในศนู ยต์ าดกี า
ชมรมตาดกี าต�ำบลป่าไร่ อ�ำเภอแม่ลาน จงั หวดั ปตั ตานี
ªÒŒ §¡ÑºÊÒ¹Òíé
ﮐﺎوﻧﻦ ݢﺎﺟﻪ
دڠﻦ ﺳﻮڠﻲ
โครงการรกั การอา น ผานนิทานตาํ นานชมุ ชน สผู ูเรยี นในศูนยตาดีกา
ชมรมตาดีกาตาํ บลปา ไร อําเภอแมลาน จงั หวัดปตตานี
พมิ พ์คร้ังที่ : ๑
จำ� นวนพิมพ์ : ๑,๐๐๐ เลม่
ปที ี่พิมพ์ : ธันวาคม ๒๕๖๒
จดั พมิ พโ์ ดย : ชมรมตาดีกาต�ำบลป่าไร่ อ�ำเภอแมล่ าน จังหวดั ปตั ตานี
การผลิตและลอกเลยี นแบบหนงั สอื นี้ ไม่วา่ ในรูปแบบใดทั้งส้นิ ต้องได้รบั อนญุ าต
เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรจากชมรมตาดีกาต�ำบลปา่ ไร่ อ�ำเภอแม่ลาน จังหวัดปตั ตานี
พิมพท์ ี่ : บริษทั บลูอิมเมจ จ�ำกัด
พระบรมราโชวาท ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร
มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
“.....ความสามคั คนี ี้ หมายถึงว่ามสี ิง่ ใดทีอ่ าจขัดแย้งซึง่ กนั และกันบา้ ง
ก็ตอ้ งปรองดองกนั เสีย และหาทางออกโดยทีไ่ ม่ทะเลาะเบาะแว้งกัน
เพราะความสามคั คเี ปน็ ก�ำลงั อยา่ งสงู สดุ ของหมู่ชน.....”
ความตอนหนงึ่ ในพระบรมราโชวาทพระราชทานแกก่ ลุ่มชาวไร่ หมบู่ ้านตัวอย่าง
โครงการไทย-อิสราเอล จังหวดั เพชรบุรี
วันท่ี ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๑๓
3
“โครงการรักการอ่านผา่ นนิทานตำ� นานชุมชนสู่ผูเ้ รยี นในศูนย์ตาดกี า”
ปัจจัยส�ำคัญประการหน่ึงที่จะท�ำให้เด็กและเยาวชนในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้มีศักยภาพ
ในการเรยี นรู้ และสามารถเขา้ ถงึ แหลง่ ทรพั ยากรการศกึ ษาตา่ งๆ ไดเ้ พม่ิ ขนึ้ คอื ทกั ษะดา้ นภาษา เพอื่ สอื่ สาร
โต้ตอบ และพัฒนาตนเอง จนสามารถเป็นก�ำลังหลักในการพัฒนาชุมชนท้องถ่ินของตนได้ในอนาคต
แต่ในความเป็นจริง ยังคงมีเด็กนักเรียนที่ยังคงมีปัญหาการอ่านออกเขียนได้ ซึ่งนอกจากจะส่งผลต่อ
การเรยี นตามปกตแิ ลว้ ยงั มผี ลกระทบตอ่ สภาพจติ ใจ ทอ่ี าจทำ� ใหเ้ กดิ ความทอ้ แทใ้ นการพฒั นาศกั ยภาพ
ของตนเอง
อยา่ งไรก็ตาม การแกป้ ัญหาเหลา่ น้ี มิใช่เรือ่ งของโรงเรียนที่เก่ียวข้องเพยี งครูกบั นักเรยี นเทา่ น้ัน
แตผ่ ปู้ กครองและชมุ ชนสามารถมสี ว่ นเขา้ รว่ มแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ วไดเ้ ชน่ กนั ซง่ึ หนง่ึ ในวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย
ได้แก.่ ..
การน�ำเรื่องเล่าท่ีเป็นต�ำนานของชุมชนและภูมิปัญญาท้องถ่ิน มาสร้างบรรยากาศการเรียนรู้
ใหแ้ กเ่ ดก็ และเยาวชน ผา่ นคนเฒา่ คนแกข่ องบา้ นและชมุ ชนนนั้ ๆ ซงึ่ นอกจากจะชว่ ยสง่ เสรมิ การอา่ นออก
เขียนได้ของนักเรยี นแล้ว ผลตอ่ เนื่องทเ่ี กดิ ขน้ึ กค็ อื การได้ตระหนกั ถึงคุณคา่ ของผู้อาวุโส ความสมั พนั ธ์
ที่ดใี นครอบครัวและหมู่บ้าน และความภาคภูมใิ จในถน่ิ กำ� เนิดบา้ นเกดิ ของตน รวมทัง้ ยังทำ� ใหเ้ ดก็ และ
เยาวชนเหล่านี้สามารถ “เท่าทัน” ต่อสถานการณ์และความเป็นจริงในพื้นท่ี และมี “ภูมิคุ้มกัน”
มากพอตอ่ การกลนั่ กรองข้อมลู ตา่ งๆ ท่ไี ดร้ ับเขา้ มา
ดังน้ัน การจัดท�ำ “โครงการรักการอ่านผ่านนิทานต�ำนานชุมชนสู่ผู้เรียนในศูนย์ตาดีกา”
ของชมรมครตู าดกี าตำ� บลปา่ ไร่ อำ� เภอแมล่ าน จงั หวดั ปตั ตานี จะเปน็ หนทางหนงึ่ ในการพฒั นาศกั ยภาพ
การเรียนรู้ ท่ีเร่ิมจากเด็กนักเรียนในศูนย์ตาดีกา ควบคู่ไปกับการแสวงหาต�ำนานในชุมชน เรียบเรียง
และวาดภาพประกอบดว้ ยคณะครตู าดกี าของแตล่ ะศนู ย์ นำ� มาจดั ทำ� เปน็ หนงั สอื การต์ นู เผยแพรอ่ อกไป
ในศนู ย์ตาดกี าของบา้ นปา่ ไร่ เพื่อสร้างพน้ื ฐานรักการอา่ นใหแ้ กน่ ักเรยี นตาดกี าผ่านต�ำนานเหลา่ นี้
4
้�ช้าง กับสายนำ
کاونن ݢاجه دڠن سوڠي
5
ณ หมบู่ ้านแห่งหน่งึ มโี ขลงชา้ ง
د سبواه کامفوันڠย,กت้วرد ู่ดافอยتัยکศاาونอن้านݢاบجวهชาدا ับنก
فندودوق کامفوڠ يڠ هيدوف برسام
6
่ชาวบ้านทุกครวั เรือนตา่ งมีอาชพี ทำ� ไร
ัทำ� นา ทำ� สวน และอาศัยน้�ำจากสายนำ้� หลก
มาใชใ้ นแปลงทีด่ ินของตน
ستيف ايسي رومه ممفوڽأي کرجا سباݢاي
فرتانين کبون دان ساوه.
برݢنتوڠ كفدأير سوڠي تراوتام اونتوق فلون
7
ส่วนโขลงช้างก็จะช่วยตักนำ้� มารดตน้ ไมใ้ หช้ าวบ้าน ชาวบา้ น
มกี ล้วยในสวนของตนเปน็ รางวัลตอบแทนใหแ้ กโ่ ขลงช้าง
باݢي کاونن ݢاجه منولوڠ براڠکوت أير اونتوق مڽيرم فوکؤڽ,
فندودوق کامفوڠ بريکن ݢنجرن ممفوڽأي فيسڠ د کبون مريك
سباݢاي بالسن کاونن ݢاجه.
8
ทัง้ ชา้ งและชาวบ้านจึงอยรู่ ่วมกัน
اوليه ايت ,کدوا-دوا فندุขوสدมوาقีควکاมمงف ่าوยڠอ
دان کاونن ݢاجه هيدوف برسام بهگيا.
9
วนั หนึ่ง ชาวบา้ นไดร้ ับแจง้ ว่าเจา้ เมอื งจะเดนิ ทางมายงั หมบู่ ้าน
فد سواتو هاري ،فندودوق کامفوڠ دمعلومكن بهاوا کتوا نݢري اکن
داتڠ ککامفوڠ.
10
็จึงชว่ ยกันเสนอความเหน
ทีจ่ ะตอ้ นรับเจา้ เมือง
اوليه ايت ,ممبنتو ساتو سام لأين
مناورکن فندافت اونتوق برتريماكن
کتوا نݢري
11
”“พวกเราตอ้ งท�ำศาลารับรองเจ้าเมอื ง
ัผใู้ หญบ่ า้ นสรุปความเห็น ชาวบา้ นจงึ ช่วยกน
้หาไม้ มีช้างช่วยลากจงู ไม
“کيت فرلو ممبينا سبواه واكف اونتوق مڽمبوت
کتوا نݢري” کات کتوا کامفوڠ .اوليه ايت,
فندودوق کامفوڠ برݢوتوڠ-رويوڠ منچاري کايو,
دان کاونن ݢاجه جوڬأ تولوڠ مناريق کايو
12
ัทุกคนในหม่บู ้านและโขลงช้างตา่ งรว่ มมอื ช่วยกน
็สรา้ งศาลารบั รอง จนแลว้ เสรจ็ อยา่ งรวดเรว
سموا فندودوق کامفوڠ دان کاونن ݢاجه بکرجاسام
اونتوق ممبينا واکف هيڠݢ سوده دڠن چفت.
13
้คนื ก่อนที่เจ้าเมืองจะเดนิ ทางมาหมู่บ้าน ฝนตกหนักจนถึงเชา
สายนำ้� หลกั ของหมูบ่ า้ นเออ่ ล้นเต็มตลง่ิ จนชาวบา้ นวติ ก
ว่าเจา้ เมอื งจะมาได้อยา่ งไร
مالم سبلوم کتوا نݢري داتڠ ککامفوڠ هوجن لبت سهيڠݢ فاݢي,
مڽببکن أير سوڠي ليمفه .فندودوق کامفوڠ بيمبڠ بهاوا باݢايمان
کتوا نݢري اكن داتڠ ،
14
“ฝนตกหนกั ทั้งคืน จนน้ำ� ลน้ ตล่งิ ท่านเจา้ เมอื ง
”จะเข้ามาเย่ยี มเยียนหมบู่ า้ นเราได้อย่างไร
“ถงึ พวกเราจะชว่ ยกันสร้างสะพานข้าม
”ก็คงไมท่ ันต้อนรบั ทา่ นเจา้ เมอื งแน่ๆ
”ี“จะท�ำอย่างไรด
هوجن تورون سفنوه مالم سهيغگا اير سوڠي
ليمفه باگيمنکه کتوا نگري اکن داتغ مڠذياره
“والوفون کيت ممبينا جمبتن موڠکين تيدق
سلساي اونتوق مڽمبوت كداتڠڽ اف يڠ کيت
فرلو دلاکوکن”؟
15
ไมน่ าน เจ้าเมืองกเ็ ดนิ ทางมาถึงอกี ฝง่ั ของ
หมู่บา้ น และไม่สามารถขา้ มมายงั หมูบ่ า้ นได้
โขลงช้างเหน็ เหตกุ ารณเ์ ช่นนั้น จงึ อาสา
เดินลงไปในสายน้ำ� รับทา่ นเจา้ เมือง
ข้ึนหลังช้าง พาขา้ มมายงั หมู่บ้าน
และไปยงั ศาลารบั รอง ชาวบ้านตา่ งดใี จ
ท่เี ห็นช้างชว่ ยพาเจา้ เมืองข้ามสายน้�ำ
จนมาถงึ ศาลารบั รอง
16
کمودين کتوا نݢري تيبا د سبرڠ کامفوڠ دان تيدق دافت مڽبرڠ ککامفوڠ
فريستيوا ايت مڽببکن ݢاجه سوکاريلا برجالن تورون کسوڠي منجمفوت
کتوا نݢري د بلاکڠث ,مك ݢاجه ايت ممباوا ککامفوڠ دان فرݢي کواکف
يڠ تله سديا .فندودوق کامفوڠ ݢمبيرا مليهت ݢاجه ممبنتو کتوا نݢري د
سبرڠ سوڠي هيڠݢ سمفي کواكف
17
18
เจา้ เมืองกล่าวกับชาวบา้ น “พวกทา่ นท้งั หลายไดแ้ สดงใหเ้ หน็ ถึง
ความรว่ มมอื ร่วมใจอย่างดยี ิง่ ท้ังคนและสัตว์ตา่ งไมน่ ิง่ เฉยต่ออปุ สรรค
้”ที่เกิดขน้ึ ตา่ งชว่ ยกนั แกไ้ ขปญั หาจนสามารถผา่ นพน้ มาได
کتوا نݢري براوچف کفد فندودوق کامفوڠ“ .کامو سموا تله منونجوقکن
کرجاسام هبتله ,سموا فندودوق دان حيوان تيدق ديام فد هالڠن يڠ داتڠ,
ممبنتو ساتو سام لأين مڽلسايکن مسئله سهيڠݢ لولوس دڠن بأيك
19
20
นิทานเรอื่ งนี้สอนใหร้ ูว้ า่ ครอบครวั มสุ ลมิ ตอ้ งสามัคคกี นั
ความสามัคคีนำ� มาซ่งึ ความ
ทา่ นเราะสลู ลุ ลอฮฺ ศอ็ ลลลั ลอฮอุ ะลยั ฮวิ ะสลั ลมั ไดก้ ลา่ ววา่
ส�ำเรจ็ และการชนื่ ชม
قيصه اين مڠاجرکن کيت فَ ِإ َّن َم ْن كَا َن قَ ْبلَ ُك ْم ا ْختَلَ ُف ْوا فَ َهلَ ُك ْوا،لاَ تَ ْختَلِ ُف ْوا
فرفادوان ممباوا کفد کجايأن
ความว่า : พวกเจ้าอย่าขัดแย้งกัน แท้จริงชนรุ่นก่อน
.دان فوجين หน้าน้ีพวกเขาเคยขัดแย้งกันและพวกเขาก็ได้ประสบ
กับพินาศ
[บันทกึ โดยอัล-บุคอรีย]์
ขอ้ คดิ จากหะดษี
1. อ สิ ลามกำ� ชบั และสง่ เสรมิ ความสามคั คี
และสมานฉนั ทใ์ นครอบครวั และสงั คม
2. ค วามขัดแยง้ กันเป็นสิง่ ทีห่ ้ามในอิสลาม
เพราะจะน�ำมาซ่งึ ความแตกแยก ความเสยี หาย
ความหายนะแกป่ ระชาชาติ
3. ค วามหายนะและความพินาศเคยเกิดขนึ้ กบั
ชนรนุ่ ก่อนเนือ่ งจากความขัดแย้งกัน
4. ม ุสลิมตอ้ งพยายามสรา้ งความเป็นเอกภาพ
ปรองดองและหลีกเล่ยี งความแตกแยก
21
ค�ำศัพทใ์ นนทิ าน
ไทย มลายู รูมี
ช้าง Gajah
สายน�ำ้ ڬاجه Sungai
หมบู่ า้ น سوڠي Kampung
เจา้ เมือง كمفوڠ Kertua negeri
ศาลารับรอง كتوا نڬري WaKaf
สะพาน واكف jambatan
อปุ สรรค جمبتن Halangan
ความสามัคค ี هالڠن Perpaduan
ความส�ำเรจ็ فرفادوان Kejayaan
การชน่ื ชม كجيأن Pujian
فوجين
22
ผรู้ วบรวมต�ำนาน : นายมะรอบี สะมุดิง ที่ปรกึ ษา
ผู้เรยี บเรยี ง : ๑) ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.เกสรี ลัดเลยี
นาวาอากาศเอกหญิง ศรินทร สวุ รรณพงศ์ ๒) นาวาอากาศเอกหญิง ศรินทร สุวรรณพงศ์
นายวัลตนกนู าศิร ตว่ นกซู ลุ ฮัสซัน ๓) นายวลั ตนกนู าศิร ตว่ นกซู ลุ ฮัสซนั
นายอัมราน มอสู
ผวู้ าดภาพประกอบ : คณะครูตาดีกา ๗ ศนู ย์ คณะทำ� งาน
• ศนู ย์ตาดีกาดารสุ สลามท่าแรด • ศูนยต์ าดีกาดารุลมุตตากีน ๑) นายมะรอบี สะมดุ งิ
• ศูนยต์ าดกี าอาอสิ ลาม (บาตสั กูบู) • ศนู ย์ตาดกี าอะห์มาดีกูบงั โปร ๒) นายมะยูนิ ดาราแม
• ศูนยต์ าดีกาควนแปลงงู • ศนู ยต์ าดีกาวงั กวา้ งดารสุ ลาม ๓) นายอะดลุ นัน มะกาเซ็ง
• ศูนยต์ าดกี าพงบุดี ๔) นางรอฮานี สะอิ
ผู้รวบรวมค�ำศพั ท์ : นางสาวแวซานียะห์ วะตะกี ๕) นายรสุ ดี ดอื ระปปุ ิ
ขอขอบคุณ : ๖) นายซัยฟุลเลาะ ยูโซ๊ะ
๑) ว ิทยากรอบรมเทคนคิ การเล่านทิ าน จากโรงเรียนเทศบาล ๕ ๗) นายคอและ หีมยอ
ตลาดเก่า อำ� เภอเมือง จงั หวัดยะลา ๘) นายอิบรอเห็ม มะเระ
- คุณครูนอิ ามเี น๊าะห์ อิสาเฮาะ และคุณครูไพเราะ สกนธวุฒิ ๙) นายยะ๊ หะยา ยามาดบี ุ
๒) ว ทิ ยากรอบรมการวาดภาพการ์ตูน ๑๐) นางสาวปาอีซะ ยูโซะ๊
จากโรงเรยี นแสงประทปี วิทยามลู นิธิ ๑๑) นายสกิ รี มลู ะ
- คุณครอู ารยา มามะ ๑๒) นายมะยากี ยโู ซะ๊
๓) ผ ้แู ปลภาษามลายู ๑๓) นายอบั ดลุ รอมัน สาและมะ
- นายกูนายอื รี โต๊ะรายอ
- นายสุไลมาน มาสามะ
๔) ศ ูนยส์ ันติวธิ ี กองอำ� นวยการรกั ษาความม่ันคงภายใน
ภาค ๔ สว่ นหน้า