แบบรายงานผลการสัมมนา
โครงการบูรณาการการเรียนการสอนกบั การบรกิ ารวิชาการ
“หลักสตู ร การใช้เทคโนโลยีให้ปลอดภยั จากอาชญากรรมไซเบอร์”
วนั อังคาร ท่ี 13 กนั ยายน 2565
เสนอ
ดร.จักรกฤษณ์ มะโหฬาร
จัดทำโดย
AC36421N
นกั ศึกษาสาขาการบัญชี ระดับปริญญาตรี
คณะบรหิ ารธุรกจิ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภมู ิ ศูนยส์ พุ รรณบรุ ี
แบบรายงานผลการสัมมนา
โครงการบูรณาการการเรียนการสอนกบั การบริการวิชาการ
“หลักสตู ร การใช้เทคโนโลยใี ห้ปลอดภัยจากอาชญากรรมไซเบอร์”
วนั องั คาร ท่ี 13 กนั ยายน 2565
เสนอ
ดร.จกั รกฤษณ์ มะโหฬาร
จดั ทำโดย
AC36421N
นกั ศกึ ษาสาขาการบัญชี ระดับปรญิ ญาตรี
คณะบรหิ ารธรุ กจิ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ
มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภมู ิ ศูนย์สุพรรณบรุ ี
คำนำ
แบบรายงานผลการสมั มนา โครงการบรู ณาการการเรียนการสอนกับการบรกิ ารวิชาการ“หลักสูตร การใช้
เทคโนโลยใี หป้ ลอดภัยจากอาชญากรรมไซเบอร์”วันองั คาร ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2565 ณ โรงเรียน สระกระโจม
โสภณพิทยา จัดทำข้นึ เพอื่ สรุปผลการสมั มนาโครงการดังกลา่ ว เพือ่ นำเสนอผลงานของนกั ศึกษาทลี่ งทะเบียนเรียน
ในรายวิชาระบบสารสนเทศทางการบัญชี Accounting Information System รหัสวิชา 305-34-03 ซึ่งเป็น
รายวิชาในระดับชั้นปีที่ 4 ก่อนสำเร็จการศึกษาในหลักสูตรบัญชีบัณฑิตเพื่อให้สอดคล้องกับปรัชญาหลักสูตรและ
เพือ่ ผลติ บัณฑติ ทางวิชาชพี บญั ชีท่มี ีความรู้ความสามารถตามมาตราฐานวชิ าชพี ท้งั ในเชิงทฤษฎีและปฏบิ ัตติ ลอดจน
สามารถนำเทคโนโลยีทางด้านการจัดระบบสารสนเทศมาประยุกต์ใช้วิชาชีพ รวมถึงสามารถปรับตัวกับการ
เปลี่ยนแปลงตามความก้าวหน้าทางวิชาชีพและเทคโนโลยีจรรยาบรรณ พร้อมทั้งมีจิตสำนึกและรับผิดชอบต่อ
สังคม
คณะผู้จัดทำขอขอบพระคณุ ดร.จักรกฤษณ์ มะโหฬาร หัวหน้าสาขาวิชาการบัญชี และเพื่อน ๆ ที่คอยให้
คำปรึกษา ข้อเสนอแนะ และคำแนะนำจนทำให้ผลงานการทำแบบรายงานเสร็จสมบรู ณใ์ นครั้งนี้ให้สำเร็จลุล่วงไป
ไดด้ ว้ ยดี
คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แบบรายงานเล่มนี้จะมีประโยชน์แก่รายวิชาระบบสารสนเทศทางการ
บัญชี Accounting Information System รหัสวิชา 305-34-03 ตามสมควร หากเกิดคุณงามความดีจากรายงาน
เล่มนี้ คณะผู้จัดทำขอน้อมมอบให้แก่ผู้มีพระคุณทุกท่านตาที่กล่าวมา แต่หากมีข้อผิดพลาดหรือบกพร่องประการ
ใดในแบบรายงานเล่มนี้ คณะผู้จัดทำขอรับผิดไว้และยินดีรับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะอันมีประโยชน์อยู่
ตลอดเวลาเพ่ือเปน็ การปรบั ปรงุ แก้ไขตอ่ ไป
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ หน้า
เรื่อง
1
คำนำ 8
สารบญั 9
10
โครงการบรู ณาการการเรยี นการสอนกบั การบริการวชิ าการ 38
“หลกั สตู รการใชเ้ ทคโนโลยีใหป้ ลอดภัยจากอาชญากรรมไซเบอร์” 39
กำหนดการ 40
ป้ายประชาสมั พนั ธโ์ ครงการ 41
เอกสารประกอบการบรรยาย
สรุปคา่ ใช้จ่าย
ผลทดสอบของผูเ้ ข้าร่วมโครงการ (ก่อน-หลัง)
สรุปผลการประเมนิ โครงการ
ประมวลภาพกิจกรรม
ภาคผนวก
A คำกลา่ วรายงานพิธีเปิด
B คำกลา่ วรายงานพธิ ีปิด
C รายช่ือผู้เข้าร่วมโครงการ
D แบบทดสอบก่อน - หลังการบรรยาย
E เฉลยแบบทดสอบ
F แบบประเมิน
G กจิ กรรมนนั ทนาการ
H ประวิตผิ ้จู ัดทำ
I หนา้ ท่ี
1
โครงการบรู ณาการการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการ
รายวิชาระบบสารสนเทศทางการบัญชี
1. หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันอาชญากรรมบนโลกออนไลน์ หรือ ‘อาชญากรรมทางไซเบอร์ (Cybercrime)’ โดยมิจฉาชีพ
เหล่านี้ใชเ้ ทคโนโลยีเพือ่ หลอกเหยอ่ื ใหห้ ลงกลแลว้ ไดเ้ งินมาแบบงา่ ยๆ เป็นภยั ร้ายใกลต้ วั เพยี งแค่ปลายนิ้ว เพยี งแค่
เปิดคอมพิวเตอรห์ รือใชง้ านอินเทอร์เนต็ อาชญากรรมทางไซเบอร์กลายเปน็ ความท้าทายครัง้ สำคัญของทุกประเทศ
โดยสถิติล่าสุดเมื่อปี 2021 พบว่าภัยคุกคามทางออนไลน์ดังกล่าวสร้างความเสียหายทั่วโลกรวมแล้วเป็นเม็ดเงิน
กว่า 6 ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐเลยทีเดียว สำหรับประเทศไทย สถิติอันน่าตกใจจากสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ (สศช.) เมื่อเดือนมีนาคม 2565 เผยว่า ชาวไทยกว่า 50% เคยมีประสบการณ์ถูกหลอกลวงทาง
ออนไลน์ระหว่างช่วง 1 ปีที่ผ่านมา โดย 2 ใน 5 คน หลงเชื่อและตกเป็นเหยื่อของอาชญากรรมทางไซเบอร์ โดย
เกดิ ความเสียหายเฉล่ียประมาณ 2,400 บาทตอ่ คน เป้าหมายของคนร้ายคือการทำให้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ของเรา
เสยี หายและไม่สามารถใช้งานได้ตามปกติ ยกตัวอย่าง เชน่ การปลอ่ ยโปรแกรมทีเ่ ปน็ ไวรัสเข้ามาทำลายไฟล์ข้อมูล
สำคัญ ๆ ในเครื่องเพื่อเรียกค่าไถ่ หรือการหลอกให้เราดาวน์โหลด Trojan ซึ่งเป็นโปรแกรมที่ดูผิวเผินก็ปกติและ
ปลอดภัยดี แต่จริง ๆ แล้วกลับเป็นโปรแกรมอันตรายที่สามารถปล่อยให้คนร้ายเข้ามาควบคุมเครื่องและขโมย
ข้อมูลส่วนตัวได้ ผู้กระทำผิดมักจะมีจุดประสงค์ร้ายตา่ ง ๆ ไม่ว่าจะเป็นเพื่อเงิน ต้องการแก้แค้นเหยือ่ หรืออาจแค่
ตอบสนองความสนุกของตัวเองผา่ นการเลือกใช้คอมพวิ เตอร์และอินเตอร์เน็ต ตวั อยา่ งที่ปัจจบุ นั พบเหน็ ได้บ่อยครั้ง
เช่น การกลั่นแกล้งทางออนไลน์ (Cyber Bullying) การหลอกลวงและมีสัมพันธ์กับผู้เยาว์ (Cyber Grooming)
และการปลอ่ ยภาพหรือวดิ ีโอลับโดยทอ่ี ีกฝ่ายไม่ยินยอม (Revenge Porn) เปน็ ตน้
ดังนั้น กลุ่มนักศึกษาจึงจัดทำโครงการบูรณาการเรียนการสอนกับการบริการวิชาการรายวิชา ระบบ
สารสนเทศทางบัญชี เพื่อให้นักเรียน นักศึกษา มีความรู้เกี่ยวกับอาชญากรรมคอมพิวเตอร์เพิ่มมากขึ้น ทั้งเรื่อง
รูปแบบการก่ออาชญากรรม ข้อควรระวังในการใช้อินเทอร์เน็ต และโซเชียลมีเดีย แนวทางการป้องกันการเกิด
อาชญากรรม นอกจากให้ความรู้แก่นักเรียน นักศึกษาแล้วจะประชาสัมพันธ์ และแนะนำหลักสูตรที่เปิดรับสมัคร
เพ่อื เปน็ การประชาสัมพันธใ์ ห้สาขาวชิ าการบญั ชเี ปน็ ท่รี ู้จกั มากข้นึ
2. วัตถปุ ระสงค์
2.1 เพื่อให้นักศกึ ษาสามารถคดิ วเิ คราะห์ และประยกุ ต์ใชใ้ นสถานประกอบการสู่การปฏบิ ตั งิ านจรงิ
2.2 เพือ่ สร้างทกั ษะให้นักศกึ ษา ในการทำงานร่วมกนั เปน็ ทมี
2.3 เพ่ือเป็นการเผยแพร่และให้ความรู้เรอ่ื งพน้ื ฐานบญั ชี และการนำเสนองบการเงิน
2.4 เพอ่ื ประชาสัมพนั ธห์ ลักสูตรสาขาการบญั ชีในระดับปรญิ ญาตรใี ห้เปน็ ที่รู้จัก
2
3. ลักษณะของโครงการ
โครงการใหม่ โครงการตอ่ เนื่อง
4. ความสอดคล้องของโครงการ
4.1 สอดคลอ้ ง/สนับสนุนสง่ เสริมกบั พันธกจิ หลักของมหาวทิ ยาลยั หลายด้าน
การผลติ บัณฑิต การวจิ ัย การบรกิ ารทางวิชาการ
การทำนุบำรงุ ศลิ ปวัฒนธรรมและสิ่งแวดลอ้ ม การบริหารจดั การ
4.2 สอดคล้องกบั ประเด็นยุทธศาสตร์ของมหาวทิ ยาลัย
ยุทธศาสตร์ที่ 2 เสริมสร้างและพัฒนากำลังคนด้านวิชาชีพและเทคโนโลยีชั้นสูงเพื่อรองรับ
เป้าหมายของประเทศ เป้าประสงค์ที่ 2.1 กำลังคนด้านวิชาชีพและเทคโนโลยีชั้นสูงจามความต้องการของ
อตุ สาหกรรมเปา้ หมายของประเทศ
กลยุทธ์ที่ 2.2 พัฒนาทรัพยากรการจัดการการศึกษาเพื่อการผลิตกำลังคนด้านวิชาชีพและ
เทคโนโลยีช้นั สงู รองรบั อตุ สาหกรรมเป้าหมายประเทศ
ตัวชี้วัดที่ 3.1 ร้อยละความพึงพอใจเฉลี่ยของผู้รับบริการต่อประโยชน์จากการให้บริการแล ะ
วิชาชีพคา่ เป้าหมายนกั เรียนทีไ่ ดร้ บั การถ่ายทอดความร้มู ีความเขา้ ใจไมน่ ้อยกวา่ ร้อยละ 60
4.3 สอดคล้องกบั ตัวบ่งชกี้ ารประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายใน (สกอ.)
ระดบั มหาวิทยาลัย คณะ หลกั สตู ร
องค์ประกอบที่ 3 ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาโดยการพัฒนาศักยภาพ
นกั ศกึ ษาและเสริมสรา้ งทกั ษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21
องค์ประกอบที่ 5 ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการพัฒนาการเรียนการสอน
โดยการจดั การเรยี นการสอนในระดับปริญญาตรที ม่ี กี ารบูรณาการบริการวิชาชีพทางสงั คม
5. รูปแบบกจิ กรรมท่ดี ำเนนิ การและการบรูณาการ
การจัดโครงการบูรณาการการเรยี นการสอนกับการบริการวิชาการรายวชิ าระบบสารสนเทศทางการบัญชี
มีรูปแบบการจัดกิจกรรมเป็นการจัดสัมมนาให้ความรู้กับนักเรียน นักศึกษา ในโรงเรียนต่างๆ โดยแบ่งออกเป็น 6
หลักสูตร ประกอบดว้ ย
1. หลกั สตู ร “แพลตฟอร์มยคุ ใหม่ หา่ งไกลไซเบอร์”
2. หลกั สตู ร “การใชเ้ ทคโนโลยีให้ปลอดภยั จากอาชญากรรมไซเบอร”์
3. หลกั สตู ร “อาชญากรรมคอมพิวเตอร์”
4. หลักสตู ร “อาชญากรรมทางไซเบอรท์ ่ใี กล้ตัวเรา”
5. หลกั สูตร “เหรียญสองด้านของโซเชียลมีเดีย
6. หลักสตู ร “การใช้เทคโนโลยอี ย่างรู้เท่าทัน และการรบั มอื การคกุ คามทางออนไลน”์
3
6. วิธีการดำเนนิ งาน
6.1 ขน้ั ตอนการดำเนินงาน
6.1.1 เสนอโครงการและคำสั่งเพอื่ พจิ ารณาอนุมัติและลงนาม
6.1.2 ประชาสัมพันธโ์ ครงการ/กิจกรรม
6.1.3 จัดเตรยี มเอกสาร วสั ดุอุปกรณ์ และสถานที่
6.1.4 จดั โครงการ/กิจกรรม
6.2 ขั้นประเมนิ ผล
6.2.1 ประเมินผลโครงการ
6.2.2 สรุปผลการดำเนนิ งาน
6.3 ข้นั ปรับปรุง/พัฒนา/แก้ไขจากผลการติดตาม (Action)
6.3.1 ประชุมสรุปผลการดำเนินงานและหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาและอุปกสรรคที่อาจจะ
เกิดขึน้ ในครงั้ ตอ่ ไป
7. กลมุ่ เป้าหมาย
7.1 นกั เรยี นโรงเรยี นศรีประจันต์ “เมธีประมขุ ” จำนวน 79 คน
7.2 นักเรียนโรงเรียนสระกระโจมโสภณพิทยาคม จำนวน 75 คน
7.3 นกั เรยี นโรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา 6 จำนวน 52 คน
7.4 นักเรียนโรงเรียนบรรหารแจม่ ใสวทิ ยา 1 จำนวน 30 คน
7.5 นกั เรียนโรงเรียนทงุ่ แฝกวิทยาคม จำนวน 30 คน
7.6 นกั เรยี นโรงเรยี นธรรมโชตศิ ึกษาลยั จำนวน 30 คน
8. ผูร้ บั ผิดชอบ
นักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี ชั้นปีที่ 4 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต และหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (ต่อเนื่อง)
คณะบริหารธรุ กจิ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภมู ิ ศนู ยส์ พุ รรณบรุ ี
4
9. บุคคลหรือหนว่ ยงานภายนอก/ชมุ ชนท่ีใหก้ ารสนับสนนุ /มสี ่วนร่วม
ช่ือบคุ คล/หน่วยงาน/ชุมชน การใหก้ ารสนบั สนนุ /การมีส่วนรว่ ม
คณาจารย์ สาขาวิชาการบัญชี ให้คำแนะนำ และเปน็ ท่ีปรกึ ษาในการจัดทำโครงการ
โรงเรียนทุ่งแฝกวิทยาคม สนบั สนุนสถานทใี่ นการจัดทำโครงการ นกั เรียนท่ีเขา้ รับการใน
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวทิ ยา 6 ฝกึ อบรมตลอดจนส่ิงอำนวยความสะดวกอนื่ ๆ และการมีส่วนรว่ ม
โรงเรยี นศรีประจนั ต์ “เมธีประมุข” ในโครงการฝึกอบรม
โรงเรียนสระกระโจมโสภณพิทยาคม
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวทิ ยา 1
โรงเรยี นธรรมโชติศึกษาลัย
คณะบรหิ ารธุรกิจและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ให้ความเห็นชอบ และอนมุ ัตกิ ารจดั โครงการ
กองบรหิ ารทรพั ยากร สพุ รรณบรุ ี ให้การสนบั สนุนยานพาหนะในการเดินทางไปฝึกอบรม
10. ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ
10.1 นักเรียนโรงเรียนศรีประจันต์ “เมธปี ระมขุ ” วนั ท่ี 9 กันยายน 2565 เวลา 13.00 - 15.30 น.
10.2 นกั เรยี นโรงเรยี นสระกระโจมโสภณพทิ ยาคม วนั ที่ 13 กนั ยายน 2565 เวลา 13.00 - 15.30 น.
10.3 นักเรียนโรงเรียนบรรหารแจม่ ใสวทิ ยา 6 วันที่ 15 กันยายน 2565 เวลา 09.00 - 12.00 น.
10.4 นกั เรียนโรงเรยี นบรรหารแจม่ ใสวทิ ยา 1 วันที่ 16 กนั ยายน 2565 เวลา 09.00 - 12.00 น.
10.5 นักเรยี นโรงเรียนทุง่ แฝกวิทยาคม วันที่ 21 กนั ยายน 2565 เวลา 09.00 - 12.00 น.
10.6 นกั เรียนโรงเรียนธรรมโชตศิ กึ ษาลัย วันท่ี 23 กันยายน 2565 เวลา 09.00 – 12.00 น.
11. สถานทด่ี ำเนินโครงการ
11.1 นกั เรยี นโรงเรียนศรีประจันต์ “เมธีประมขุ ” ตำบลศรปี ระจนั ต์ อำเภอศรปี ระจนั ต์ จังหวดั สุพรรณบุรี
11.2 นกั เรยี นโรงเรยี นสระกระโจมโสภณพทิ ยาคม ตำบลสระกระโจม อำเภอดอนเจดยี ์ จังหวดั สพุ รรณบุรี
11.3 นกั เรียนโรงเรยี นบรรหารแจม่ ใสวทิ ยา 6 ตำบลหนองสะเดา อำเภอสามชกุ จงั หวัดสุพรรณบรุ ี
11.4 นักเรียนโรงเรยี นบรรหารแจ่มใสวทิ ยา 1 ตำบลดอนเจดยี ์ อำเภอดอนเจดีย์ จังหวดั สพุ รรณบุรี
11.5 นกั เรยี นโรงเรียนทุ่งแฝกวทิ ยาคม ตำบลวังลึก อำเภอสามชกุ จงั หวดั สพุ รรณบุรี
11.6 นกั เรยี นโรงเรยี นธรรมโชติศึกษาลัย ตำบลเขาพระ อำเภอเดมิ บางนางบวช จังหวัดสพุ รรณบุรี
5
12.งบประมาณ
รายรับ : จากนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี ชั้นปีที่ 4 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต จำนวน 73 คน
คนละ 200 บาท 14,600 บาท
รวมรายรับ 14,600 บาท
รายจา่ ย :
คา่ ของทรี่ ะลกึ 2,000 บาท
คา่ อาหารว่างและเครอ่ื งดมื่ 4,000 บาท
ค่าวสั ดุทีใ่ ช้ในการฝกึ อบรม 2,000 บาท
คา่ ของรางวัล 3,000 บาท
ค่าเดนิ ทาง 3,600 บาท
รวมรายจ่าย 14,600 บาท
หมายเหตุ : ถว่ั เฉล่ียทุกรายการ
13. ผลผลติ
13.1 จำนวนผทู้ ผ่ี ่านการอบรมไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 60 ของผเู้ ขา้ อบรมท้ังหมด
13.2 ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการไดร้ ับความรู้อยใู่ นระดบั ดี
14. ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รบั
14.1 นักศกึ ษาสามารถคิดวเิ คราะห์ และประยุกตใ์ ช้องคค์ วามรู้สกู่ ารปฏบิ ัติจรงิ
14.2 นกั ศกึ ษามปี ระสบการณ์ในการทำงานทำงานเปน็ ทีม
14.3 สามารถเผยแพร่และถา่ ยทอดความร้ใู หก้ บั เยาวชนได้
14.4 ประชาสัมพันธ์หลักสูตรสาขาการบญั ชีให้เป็นที่รจู้ ักมากขึน้
15. ผลกระทบท่คี าดวา่ จะเกิดข้ึน
15.1 ผู้ท่ผี ่านการอบรมมคี วามรูค้ วามเข้าใจมากขึน้ เกีย่ วกบั สง่ิ ท่นี ักศึกษานำไปถ่ายทอด
15.2 ผเู้ ขา้ รับการอบรมมีความสนใจในการศกึ ษาต่อในสาขาวิชาบัญชีเพ่ิมมากข้ึน
6
7
8
กำหนดการโครงการสร้างเกาะป้องกัน ระวงั ภยั ไซเบอร์
เรื่อง การใช้เทคโนโลยใี หป้ ลอดภยั จากอาชญากรรมไซเบอร์
วันอังคาร ท่ี 13 กนั ยายน ๒๕๖๕ เวลา 13.00 – 15.30 น.
ณ โรงเรยี นสระกระโจมโสภณพิทยาคม
ตำบลสระกระโจม อำเภอดอนเจดยี ์ จังหวดั สพุ รรณบุรี
เวลา กจิ กรรม
13.00 – 13.30 น. - ลงทะเบยี น
13.30 – 14.00 น. - พิธีเปิดโครงการสร้างเกาะป้องกัน ระวังภัยไซเบอร์
14.00 – 14.30 น. - บรรยายหวั ขอ้ เรือ่ ง “อาชญากรรมทางไซเบอร์”
14.30 – 14.40 น. - พกั ผอ่ นตามอัธยาศยั
14.40 – 15.00 น. - กิจกรรมนันทนาการ
15.00 – 15.20 น. - บรรยายหัวขอ้ เร่ือง “การใชเ้ ทคโนโลยใี หป้ ลอดภัย
จากอาชญากรรมไซเบอร์”
15.20 – 15.30 น. - กลา่ วปดิ โครงการ โดยผู้อำนวยการโรงเรียน
9
ปา้ ยประชาสมั พันธโ์ ครงการ
โครงการบรู ณาการการเรยี นการสอนกบั การบริการวิชาการ
หลกั สูตร เรื่อง การใชเ้ ทคโนโลยใี ห้ปลอดภัยจากอาชญากรรมไซเบอร์
วนั องั คาร ที่ 13 กันยายน 2565
ณ โรงเรียนสระกระโจมโสภณพิทยา
ตาบลสระกระโจม อาเภอดอนเจดีย์ จังหวดั สพุ รรณบรุ ี
10
เอกสารประกอบการบรรยาย
โครงการบูรณาการการเรยี นการสอนกบั การบริการวิชาการ
หลกั สูตร เรอ่ื ง การใช้เทคโนโลยใี ห้ปลอดภัยจากอาชญากรรมไซเบอร์
วนั องั คาร ที่ 13 กันยายน 2565
ณ โรงเรียนสระกระโจมโสภณพทิ ยา
ตาบลสระกระโจม อาเภอดอนเจดยี ์ จงั หวดั สุพรรณบุรี
เพือ่ นชวนเพอ่ื น พ่ีชวนนอ้ ง สมัครเรียนคณะบริหารธรุ กจิ
และเทคโนโลยีสารสนเทศต้ังแตว่ ันท่ี 1 ก.ย. 31 ธ.ค. 65
สทิ ธทิ ีจ่ ะได้รับ
สว่ นลดคา่ เทอม5 ในภาคการศึกษาแรก
ผอ่ นจ่ายคา่ เทอมได4้ งวด
มีทุนการศกึ ษาใหเ้ ปลา่
กู้ยืม กยศ. ได้
สมคั รเรียน ปการศึกษา2566
// . . . /
11
แบบทดสอบก่อนเรียน
อาชญากรรมไซเบอร์
คืออะไร
12
อาชญากรรมไซเบอร์ การกระทาท่มี ี คอมพิวเตอร์เปนเครือ่ งมอื
() หรือมคี อมพิวเตอร์เปนเป้าหมายในการกระทาผิด
โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง การกระทาผิดผ่านทาง
อนิ เทอรเ์ นต็ ซ่ึงอาชญากรรมไซเบอร์มที ง้ั การ
ประกอบอาชญากรรมทม่ี ีอยเู่ ดิมอย่แู ล้วและ
พั นามาใชช้ อ่ งทางออนไลน์ เพอ่ื สามารถ
ป บิ ัติการไดง้ า่ ยข้นึ
อาชญากรรมไซเบอร์ 1. กระทาตอ่ วตั ถุ ( )
()
2. กระทาต่อ จิตใจ ( )
กระทาต่อจิตใจใน ระดับบุคคล
กระทาตอ่ จิตใจใน ระดบั สงั คม
13
การกอ่ อาชญากรรม 1. โดยการสรา้ งโปรแกรม
ทีก่ ระทาตอ่ วตั ถุ ( ) ทาลายระบบคอมพิวเตอร์ ใหเ้ สียหายที่แอบแฝง
มากบั ไฟล์ หรอื อีเมลห์ รอื จากเวบ็ ไซต์ ซึ่งเป็น
ซอฟต์แวร์ที่ทางานในลักษณะที่เปน็ การโจมตี
ระบบ การทาให้ระบบเสยี หาย รวมไปถึงการ
โจรกรรมขอ้ มูล
ตวั อยา่ ง - สามารถแพรก่ ระจายตวั เองไปยังเครอื่ งอ่ืน ๆ ผ่านไฟลท์ ่ีสง่ ต่อ
กันระหว่างเคร่อื ง
- คลา้ ยกับตวั หนอนที่ชอนไชไปยังเส้นทางต่าง ๆ จนทาให้
เครอื ขา่ ยลม่ หรือใชง้ านไมไ่ ด้
- ภายนอกเหมือนโปรแกรมทั่วไป แต่หากติดตงั้ แลว้ จะคอ่ ยๆ
ทาลายระบบ
- เปิดชอ่ งทางให้ผ้ไู มห่ วังดสี ามารถเข้ามาควบคมุ เครือ่ ง
คอมพวิ เตอร์
- คอยแอบดูพฤติกรรมการใช้คอมพิวเตอรข์ องเรา และยัง
สามารถขโมยขอ้ มลู สว่ นตัวของเราไปไดด้ ว้ ย
14
การก่ออาชญากรรม 2. จะทาการบลอ็ ก
ท่กี ระทาต่อวตั ถุ ไฟล์ผูอ้ ่นื ไมใ่ หใ้ ช้งานได้ แล้วอาชญากรกจ็ ะ
สง่ ข้อความมา เรียกค่าไถ่ โดยโอนเงนิ
() ผา่ นทางอินเทอร์เน็ต แล้วอาชญากรจะส่ง
รหัสในการปลดลอ็ กการบล็อคไฟลค์ นื มา
การกอ่ อาชญากรรม 3. และ คือ
ที่กระทาต่อวัตถุ อาชญากร มุ่งเจาะระบบ ผา่ นระบบ
() รักษาความปลอดภัยเขา้ มา ทาลาย
หรือขโมยข้อมลู
15
การก่ออาชญากรรม หมายถงึ เรอ่ื งทีจ่ ับต้องไม่ได้ โดย
ที่กระทาต่อจติ ใจ ( ) กอ่ อาชญากรรมทสี่ ่งผล กระทบตอ่
ความคดิ หรือสภาพจิตใจของเหยื่อ ผา่ น
ระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเครอื ขา่ ย
อนิ เทอรเ์ นต็
การกอ่ อาชญากรรม - การใช้ หลอกใหร้ ัก
ไซเบอร์ท่กี ระทาต่อจิตใจ ทางออนไลนแ์ ลว้ เสยี ทรพั ย์
- แชร์ลกู โซ่ การฉ้อโกง การหลอกขาย เป็นตน้
ในระดับบคุ คล - การกล่ันแกลง้ ขม่ เหงรังแกทาง
ออนไลน์
- ลวงขอข้อมลู สว่ นตวั และข้อมลู ด้านการเงิน
ผา่ นทางโทรศพั ท์หรอื อนิ เทอรเ์ น็ต (แกงคค์ อลเซ็นเตอร์)
16
การก่ออาชญากรรมไซเบอร์ - คอื ขา่ วหลอกลวง เพื่อสรา้ งเรตตง้ิ ใหเ้ วบ็ ไซตข์ ายโ ษณา
ที่กระทาตอ่ จิตใจใน ระดบั หรอื สร้างความสบั สนในสังคม
- การแยง่ ชงิ ความเชื่อมวลชนหรอื
สังคม ครอบงาความจริงใหค้ นในสงั คมเข้าใจไปในทศิ ทางที่ต้องการ
- คือ การทาสงครามจติ วิทยา
บนสอื่ อนิ เทอร์เนต็ เพ่อื ปลกุ ระดมทางการเมอื ง หรอื สร้าง
อาชญากรรมแหง่ ความเกลยี ดชัง เพอื่ สรา้ งความแตกแยกและทาลาย
ความมั่นคงของชาติ ถอื อาชญากรรมไซเบอรท์ ่รี ุนแรงทีส่ ุด
17
18
19
20
21
เปดกลโกงลวงเหย่อื 3
วิธีลงทุน สมคั รร่วมลงทนุ
รปู แบบลงทนุ
22
เตือนภยั มุกใหม่ แกงคอล
เซน็ เตอร์
ปลอมเปน ตารวจ
วดิ โี อคอลหลอกเหยือ่
ซลิ วี่ รบั เสยี ความ
มั่นใจ หลังโดน บลู ลี่ เกีย่ วกบั
รปู ร่างและการแตง่ ตัว
23
สาวแสบปลอม สลปิ โอนเงนิ ซ้อื
หมกู ว่า 2 รายการ นาน 5 เดอื น
เสยี หายนับล้าน
แมล่ กู อ่อนช้ารกั ถกู หน่มุ
ในแอปหาคู่หลอกโอนเงิน
ตดั สนิ ใจจบชีวิตแตส่ ามชี ่วยไว้
ทัน
24
จบั ขบวนการ หลอกขาย
สนิ คา้ ออนไลน์ เงินหมนุ เวยี น
1 ลา้ น
ร้องตารวจเอาผิดสาว
แสบ หลอกขายกระเปา แบ
รนดเ์ นม
25
ผวู้ า่ นา่ น โดนปลอม
เ สบุคหลอกเหยือ่ โอนเงนิ
ตร.เปดแจ้งความออนไลน์ 1
มี.ค.น้ี แกป้ ญหาอาชญากรรมไซ
เบอร์
26
อาชญากรรมไซเบอร์
รุกไทย
บูลล่ี ในร .ร.ไม่ใช่เร่ืองเล็ก
เดก็ ม .1 ยิงเพื่อน น้องป .5 ผูก
คอ หนกี ารถกู เหยยี ด
27
ใชเ้ ทคโนโลยีอยา่ งไร
ใหป้ ลอดภยั จากอาชญากรรมไซ
เบอร์
28
1. อัพเดตเครือข่าย ซอ ตแ์ วร์ และแอพพลิเคช่นั ตา่ ง อยเู่ สมอ
อพั เดทซอฟต์แวร์ใหเ้ ป็นปัจจุบนั เสมอท้งั ในคอมพวิ เตอร์ โทรศพั ท์ และ
แท็บเลต็ เมื่อมีการแจง้ เตอื นใหท้ าการอัพเดตมักจะเปน็ การ แก้บัค ( ) และ
เพม่ิ ความปลอดภัยในการใช้งานให้มากขึน้ ทาใหส้ ามารถใชง้ านฟเี จอร์ใหม่ ๆ
และเพิ่มความปลอดภยั ในการใช้งานมากข้ึน
2. คลกิ ลิงก์ เปดไ ลแ์ นบ และดาวนโ์ หลดซอ ต์แวร์จากแหลง่ ท่ีเชื่อถอื
ได้เท่านน้ั
คนส่วนใหญ่อยากตดิ ตามขา่ วสารลา่ สดุ อยเู่ สมอ อาชญากรจงึ อาพราง
ลงิ กน์ า่ สงสยั ใหด้ เู หมือนการให้ความรู้ แตห่ ากคลิกเขา้ ไป ลงิ กน์ ่าสงสยั นี้จะใช้
เป็นชอ่ งทางในการ เขา้ ถึงข้อมลู ส่วนตัวของบุคคลหรอื องคก์ ร และ/หรือยบั ยั้ง
การทางานของคอมพวิ เตอรห์ รอื เครอื ข่ายไดท้ นั ที
หากไมม่ ่ันใจในแหลง่ ที่มา ให้ เขา้ ไปท่ีเวบ็ ไซตข์ ององคก์ ร โดยตรง เพราะ
หากเปน็ เรื่องสาคญั จริง ขอ้ มูลนน้ั จะตอ้ งมีประกาศอยใู่ นเวบ็ ขององค์กรดว้ ย
เชน่ กนั
29
3. เชอ่ื มตอ่ อินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่ายท่ปี ลอดภยั
เม่ือต้องเชื่อมตอ่ กับเครือข่ายสาธารณะ ผู้อ่ืนอาจเข้าถงึ ข้อมลู ใดๆ ทแ่ี ชร์
ในโลกออนไลนห์ รอื ผ่านทางแอพพลเิ คชน่ั มือถอื ได้ ดงั นนั้ ควรใชเ้ ครอื ขา่ ย
ส่วนตวั เสมือน ( ) เพือ่ เข้ารหัสการดาเนินการ
ของคุณเสมอ
4. อยา่ ตอบรับคาขอขอ้ มลู ที่ไมท่ ราบท่มี า
โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ หากเปน็ การขอข้อมูลที่สามารถระบุตัวตน
ได้หรือรหัสผา่ น ควรพิจารณาถงึ ความเหมาะสม และ ความ
น่าเช่อื ถอื จากแหลง่ ทมี่ าอยา่ งละเอียด คน้ คว้าข้อมูลหรือ ติดต่อ
สอบถามจากองค์กรนัน้ โดยตรง
30
5. ตัง้ รหสั ผ่านท่ีซบั ซ้อนและมลี ักษณะเฉพาะ
ผเู้ ชยี่ วชาญสว่ นใหญ่แนะนาใหใ้ ช้ โปรแกรมจดั การรหัสผ่าน อย่างเช่น
โปรแกรม 1 หรอื โปรแกรมเหล่านีจ้ ะตง้ั
รหสั ผ่านท่ีซบั ซอ้ นสาหรับเว็บไซตท์ ี่เขา้ ไปดแู ละชว่ ยให้จดั การรหัสผ่านเหลา่ นี้
ได้งา่ ย
แต่ถ้าไม่ใช้โปรแกรมจัดการรหสั ผ่าน ควรต้ังรหัสผา่ นโดยใหม้ ีทงั้ ตัวอักษร
พมิ พ์ใหญ่และพมิ พ์เลก็ ตวั เลข และสัญลักษณ์ รวมอยู่ดว้ ย และ ไมค่ วรใช้
รหัสผา่ นเดิมสาหรบั การเข้าใช้เว็บไซต์มากกว่าหนึง่ เวบ็ ไซต์
6. ปกปอ้ งข้อมูลส่วนบคุ คล
โดยปกติแลว้ บริษทั และหน่วยงานภาครฐั จะไม่ถามขอ้ มลู รหัสผา่ นของ
คณุ เพราะฉะนน้ั อย่าให้รหสั ผา่ นทางอีเมลล์หรือทางโทรศพั ทเ์ ปน็ อนั ขาด ถ้า
คุณไดร้ บั อีเมลลท์ ่ีมีลงิ กเ์ พื่อลงช่ือเข้าใช้ อย่าคลิกลงิ ก์ในอีเมลล์น้ัน แต่ใหเ้ ข้า
เว็บไซต์เองจากเบราว์เซอร์และลงชอื่ เข้าใชจ้ ากหน้าเวบ็ ไซตน์ ้ัน
31
. ใชโ้ ปรแกรมแอนตีไ้ วรสั ที่มปี ระสิทธิภาพ
เปน็ โปรแกรมทสี่ ร้างขึ้นเพื่อ คอยตรวจจบั ปอ้ งกนั และกาจัด โปรแกรม
คกุ คามทางคอมพวิ เตอรห์ รือมลั แวร์ โปรแกรมปอ้ งกนั ไวรสั จะคน้ หาและ
ทาลายไวรสั ที่ไฟล์โดยตรง แตใ่ นทกุ ๆ วันจะมี ไวรัสชนดิ ใหมเ่ กิดขนึ้ มาเสมอ
ทาใหต้ ้องอัปเดตโปรแกรมป้องกนั ไวรัสตลอดเวลาเพื่อให้คอมพวิ เตอร์ของเรา
ปลอดภยั
. ไมบ่ นั ทึก และ ขณะใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์
สาธารณะ
คอมพวิ เตอร์สาธารณะต่างมีความเสี่ยงตอ่ การ ถกู ดกั ขอ้ มูล หากพลาด
เพยี งครง้ั เดียว ขอ้ มูลส่วนตัวหรอื เกยี่ วกบั การเงนิ ที่เคยป้อนลงในเครือ่ ง
สาธารณะ อาจจะถูกบันทึกและแอบนาไปใช้งาน และอาจเกบ็ ขอ้ มลู ประวตั ิการ
เขา้ ชม เหลา่ น้ลี ว้ นแต่จะทาใหบ้ คุ คลอื่นสามารถปลอมตัวตนแทนได้ หากเขา้ ไป
ยงั เว็บไซต์ท่ีเคยใช้งาน
32
หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องหน้าทแ่ี ละ
การป้องกนั ปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี
กองบญั ชาการตารวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโล(ยบี ช.สอท.) หรือ
กองบัญชาการตารวจไซเบอร์
33
ความรับผดิ ชอบกองบัญชาการตารวจไซเบอร์
1. คดีเก่ียวกับทรพั ย์ซึ่งมมี ลู คา่ ความเสียหายต้งั แต่30 ล้านบาทขน้ึ ไป
2. คดเี ก่ียวกับทรัพยท์ ่ีมจี านวนผเู้ สยี หายรวมกนั ต้งั แต่ 50 คนข้ึนไป
3. คดีเก่ียวกบั ทรพั ย์ที่มีท้งั มลู คา่ ความเสียหาย 10 ลา้ นบาทขึ้นไปและมจี านวนผูเ้ สยี หายตงั้ แต่
10 คนขน้ึ ไป
4. คดที มี่ กี ารกระทาความผดิ เปน็ ขบวนการหรอื กลมุ่ บคุ คลซง่ึ ต้องใช้เครอ่ื งมอื พิเศษในการสบื สวน
สอบสวนและรวบรวมพยานหลักฐาน
5. คดีทีม่ ีลกั ษณะเป็นองคก์ รอาชญากรรมขา้ มชาติ
6.คดีท่สี ง่ ผลเสียหายร้ายแรงต่อระบบคอมพวิ เตอรห์ รือข้อมลู คอมพิวเตอรท์ ม่ี ไี วเ้ พือ่ ประโยชน์
สาธารณะ
. คดีที่สานักงานตารวจแห่งชาตมิ นี โยบายปอ้ งกนั และปราบปรามเปน็ พเิ ศษ
1. คณะกรรมการการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอรแ์ หง่ ชาติ
(กมช.)
34
หนา้ ทแ่ี ละความรับผิดชอบ
(1) เสนอแนะนโยบายและแผนการรกั ษาความมน่ั คงปลอดภยั ไซเบอร์
(2) ประมวลแนวทางปฏบิ ัตแิ ละกรอบมาตรฐานเสนอความเห็น กก.ม
(3) ประสานงานการดาเนนิ การเพื่อรักษาความมัน่ คงปลอดภยั ไซเบอรข์ องหนว่ ยงานโครงสรา้ ง
พน้ื ฐานสาคัญทางสารสนเทศ
(4) ประสานงานในการตง้ั ศนู ย์การรกั ษาความม่นั คงปลอดภัยระบบคอมพวิ เตอรใ์ นประเทศ
และต่างประเทศและกาหนดมาตรการทใี่ ช้แก้ปญั หา
(5) ดาเนนิ การและประสานงานกบั หนว่ ยงานของรฐั และเอกชนในการรับมือกับภยั คุกคามทาง
ไซเบอรต์ ามทไ่ี ดร้ ับมอบหมายจากคณะกรรมการ
2. หน่วยงานโครงสร้างพน้ื านสาคัญทางสารสนเทศ หรือ
หนว่ ยงานของรัฐหรอื เอกชนใช้ในการดาเนินงาน เกยี่ วข้องกับ การรกั ษา
ความมัน่ คงปลอดภยั ของรฐั สาธารณะ และเศรษฐกจิ ของประเทศ รวมถึง
โครงสร้างพ้นื ฐานทีเ่ กดิ ประโยชนแ์ กส่ าธารณเครือ่ งมือ อปุ กรณ์ ระบบ
เครอื ขา่ ย ข้อมลู สารสนเทศ ล ทเ่ี ป็นทรัพย์สนิ ของหน่วยงาน และมกี ารใช้
โครงสร้างพ้ืนฐานสาคญั ทางสารสนเทศในการจัดการ จะต้องได้รบั ความ
ปลอดภัยจากการถูกคกุ คามทางไซเบอร์ เพื่อไมใ่ หท้ รพั ยส์ ินทางสารสนเทศ
ของหน่วยงานเสยี หายหรอื ถูกทาลาย
35
3. กระทรวงดจิ ิทลั เพือ่ เศรษ กจิ และสังคม
มีอานาจหน้าทีเ่ ก่ยี วกับการวางแผนส่งเสริม พัฒนา และดาเนนิ
กิจการเก่ียวกบั ดิจทิ ลั เพอื่ เศรษฐกิจและสงั คม การอตุ นุ ยิ มวทิ ยา การ
สถติ แิ ละราชการอน่ื ตามทีม่ กี ฎหมายกาหนดใหเ้ ป็น อานาจ หนา้ ที่
ของกระทรวงดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
36
37
เกียรติบัตรทนี่ ้องๆจะได้รบั
สรปุ รายรบั และค่าใชจ้ า่ ย 38
รายรับ 2, 50 บาท
2,750 บาท
- นกั ศกึ ษาหอ้ ง AC36421N จำนวน 11 คน คนละ 250 บาท
1,160 บาท
รวมรายรับ 325 บาท
คา่ ใช้จา่ ยเบด็ เตล็ด 450 บาท
460 บาท
- คา่ อาหารวา่ ง
- คา่ ของรางวลั กิจกรรมนันทนาการ 2,395 บาท
- ค่ากระเช้าผลไม้ 355 บาท
- คา่ อุปกรณ์
รวมค่าใชจ้ ่ายเบด็ เตล็ด
คงเหลือ
39
ผลการทดสอบของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ (ก่อน หลงั )
จากการจัดทำโครงการทางคณะผจู้ ดั ทำได้เล็งเห็นวา่ มีแบบทดสอบก่อน - หลัง เพือ่ ให้ได้ทราบว่าผเู้ ข้าร่วม
โครงการได้ความรู้ความเขา้ ใจมากน้อยเพยี งใด และจากทีไ่ ด้ให้ผ้เู ข้ารว่ มโครงการทำแบบทดสอบแล้วผู้จัดทำได้ทำ
การสรปุ ดังนี้
1. การแบบทดสอบก่อนฟังบรรยาย ทำใหเ้ หน็ วา่ ผู้เข้ารว่ มโครงการมีความรเู้ บ้ืองต้นเกี่ยวกบั อาชญากรรม
ไซเบอร์อยู่พอสมควร จึงทำให้ผลทดสอบก่อนเรียนออกมาได้เป็นที่น่าพอใจ แต่มีบางส่วนที่ยังไม่
สามารถทำแบบทดสอบไดอ้ ย่างสมบูรณ์ตามทีค่ วร
2. หลังจากที่ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับฟังการบรรยายในหัวข้อ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีให้ปลอดภัยจาก
อาชญากรรมไซเบอร์ เป็นอยา่ งดี และผเู้ ขา้ ร่วมไดท้ ำแบบทดสอบใหม่อีกคร้งั จงึ สามารถทำคะแนนที่ดี
ขึ้นมากกว่าเดมิ และผ่านเกณฑ์ไดเ้ ป็นทน่ี ่าพอใจของผจู้ ัดโครงการ
จึงเห็นได้อย่างชัดเจนว่าผู้เข้าร่วมโครงการได้มีความรู้ความเข้าใจมากขึ้นในเรื่องที่ผู้จัดทำโครงก ารได้นำ
ความรู้ไปบรรยายให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับฟังทำให้ผู้จัดทำโครงการรู้สึกว่าประสบความสำเร็จในการจัดทำ
โครงการคร้ังนเ้ี ปน็ อยา่ งมาก
40
สรปุ ผลการประเมนิ โครงการ
จากการออกโครงการหลังจากที่ผู้เข้าร่วมโครงการได้ฟังการบรรยายแล้วนั้น ผู้ดำเนินโครงการได้นำ
แบบสอบถามมาสรปุ ผล และได้การสรุปดงั น้ี
ผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่มีความพึงพอใจในด้านขั้นตอนการจัดโครงการมีความเหมาะสม มีค่าความพงึ
พอใจเฉลย่ี สูงสุดอยู่ท่ีร้อยละ 95 และคา่ ความพึงพอใจตำ่ สุดอยู่ท่ีร้อยละ 5 มคี วามพึงพอใจในด้านกระบวนการจัด
กิจกรรมตรงกับวัตถุประสงค์การจัดโครงการ มีค่าความพึงพอใจเฉลี่ยสูงสุดอยู่ที่ร้อยละ 95 และค่าความพึงพอใจ
ต่ำสดุ อยูท่ ่ีรอ้ ยละ 5 มีความพึงพอใจในด้านการอำนวยความสะดวกในการเขา้ ร่วมกิจกรรม มคี า่ ความพึงพอใจเฉล่ีย
สูงสุดอยู่ที่ร้อยละ 94 และค่าความพึงพอใจต่ำสุดอยู่ที่ร้อยละ 6 มีความพึงพอใจในด้านเวลาที่ใช้ในการดำเนิน
โครงการมีความเหมาะสม มีคา่ ความพึงพอใจเฉล่ียสูงสุดอยู่ทร่ี ้อยละ 95 และค่าความพงึ พอใจตำ่ สุดอยู่ที่ร้อยละ 5
มคี วามพงึ พอใจในด้านความเหมาะสมของเนอื้ หาท่ีใช้อธิบาย มีค่าความพึงพอใจเฉลี่ยสงู สุดอยู่ทร่ี อ้ ยละ 95 และค่า
ความพึงพอใจต่ำสุดอยู่ที่ร้อยละ 5 มีความพึงพอใจในด้านวิทยากรมีความรู้สามารถตอบข้อสงสัยได้ มีค่าความพึง
พอใจเฉลี่ยสูงสุดอยู่ที่ร้อยละ 95 และค่าความพึงพอใจต่ำสุดอยู่ที่ร้อยละ 5 มีความพึงพอใจในด้านบรรยากาศใน
การดำเนินจัดโครงการ มีค่าความพึงพอใจเฉลีย่ สูงสุดอยู่ที่ร้อยละ 96 และค่าความพึงพอใจตำ่ สุดอยู่ที่ร้อยละ 4 มี
ความพึงพอใจในดา้ นความสนกุ สนานเพลดิ เพลนิ ความบันเทิงของการเขา้ ร่วมโครงการในครัง้ น้ี มคี ่าความพงึ พอใจ
เฉลี่ยสูงสดุ อยทู่ ่รี อ้ ยละ 98 และค่าความพงึ พอใจต่ำสุดอยทู่ ่ีร้อยละ 2
ผู้เข้าร่วมโครงการส่วนใหญ่มีความพึงพอใจความพึงพอใจโดยรวมในการเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ มีค่า
ความพึงพอใจเฉล่ียสงู สุดอยู่ท่ีร้อยละ 96 และคา่ ความพึงพอใจต่ำสุดอยู่ท่ีร้อยละ 4 ซง่ึ ผลสรุปโดยรวม พบว่า การ
จดั โครงการในครงั้ น้ี มีคา่ เกณฑ์การประเมินในระดบั มากทีส่ ดุ ซ่งึ เป็นค่าทางทฤษฎที ด่ี ที ีส่ ุด
41
ประมวลภาพกจิ กรรม
ภาพที่ 1 รับลงทะเบียน
ภาพที่ 2 ลงทะเบยี น(ต่อ)
42
ภาพท่ี 3 น้อง ๆ สีฟ้า
ภาพที่ 4 นอ้ ง ๆ สีเหลอื ง
43
ภาพท่ี 5 น้อง ๆ สีเขียว
ภาพที่ 6 น้อง ๆ สชี มพู
44
ภาพที่ 7 ตัวแทนนักศกึ ษากล่าวรายงานการจัดโครงการ
ภาพที่ 8 ประธานรบั ฟังคำกล่าวรายงานและกลา่ วเปดิ โครงการ
45
ภาพท่ี 9 ดร.จกั รกฤษณ์ มะโหฬาร มอบกระเชา้ แก่ผ้อู ำนวยการโรงเรยี น
ภาพที่ 10 ถ่ายภาพหมู่
46
ภาพที่ 11 บรรยายเน้ือหา
ภาพที่ 12 ถามคำถามนอ้ ง ๆ เพ่อื แจกของรางวลั