The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Raiwin Songk, 2020-03-03 21:54:42

ศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

ศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

ศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารพฒั นาอย่างยั่งยนื หนา้ 1
จัดทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาส่กู ารพฒั นาอยา่ งยั่งยืน

1. ท่ีมาและความสาคญั ศาสตรพ์ ระราชา

การสืบสานศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารพัฒนาท่ีย่ังยนื เป็นกระบวนการนาศาสตร์พระราชาไปสู่การปฏิบัติ
ใหเ้ กิดผลหรือเรียกง่ายๆ วา่ การนาความรูใ้ นศาสตรท์ ัง้ ๓ ดา้ น หรือ ๓ มิติ ท้ังด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
และสิ่งแวดล้อม สู่การพัฒนาประเทศให้ม่ันคง ย่ังยืน ไปสู่การปฏิบัติจริง หรือเดินตามรอยเท้าพ่อ ในการ
ปฏิบัติตน ปฏิบัติงาน เพ่ือการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืน ประกอบด้วย การนาองค์ความรู้ ด้านการกาหนด
เป้าหมายของการเรยี นรหู้ รอื การพัฒนางาน องค์ความรูด้ า้ นเน้อื หา ความร้จู ากโครงการพระราชดาริ และอ่ืนๆ
รวมทั้งการนาองค์ความรู้ในวิธีทรงงานมาใช้ในการดาเนินชีวิต การทางานของบุคคล ครอบครัว ชุมชน หรือ
ขององค์กร มูลนิธิ หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนต่างๆ เพ่ือการพัฒนาตนเอง พัฒนางานดาเนินชีวิต
ดาเนินงานในหนา้ ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบดว้ ยองคค์ วามรตู้ ามศาสตรพ์ ระราชา หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า “เดินตาม
รอยเท้าพอ่ สานต่องานท่พี ่อทา”

นบั ตั้งแต่พระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสดจ็ ขน้ึ ครองราชย์สมบตั ิเป็นประมุขแห่ง
ประเทศไทยเป็นต้นมา พระองค์ได้ทรงประกอบพระราชกรณียกิจในด้านต่างๆ อันเป็นประโยชน์แก่ชาวไทย
ตลอดพระชนมายขุ องพระองค์ โดยพระราชกรณียกิจท่ีสาคัญของพระองค์ คือ การเสด็จพระราชดาเนินเยือน
ประชาชนในท้องถ่ินต่างๆ ของประเทศ ดังในปฐมพระบรมราชโองการในระหว่างพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
เม่ือวันที่ ๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๙๓ วา่ “เราจะครองแผน่ ดินโดยธรรม เพอื่ ประโยชน์สุขแก่มหาชนชาวสยาม”
ซึ่งในขณะนน้ั สภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ยังคงบอบช้าจากสงครามโลกครั้งท่ี ๒ ประชาชนเดือดร้อน
ชีวิตความเป็นอยู่แย่ลง ฐานะยากจน ดังนั้น เม่ือเสด็จฯ กลับจากการไปศึกษาที่ประเทศสวิตเซอร์แลนด์
ในปี ๒๔๙๓ จงึ ไดพ้ ระราชทานพระราชดาริในการช่วยเหลือพสกนกิ รให้มสี ภาพความเปน็ อยู่ทดี่ ขี ้ึน

การทรงงานพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ ในแต่ละช่วงเวลานั้น
พระองค์ทรงใช้ศาสตร์ความรู้แขนงต่างๆ มาบูรณาการหลักการทรงงานของพระองค์เพ่ือให้ประชาชนของ
พระองค์นน้ั ไดร้ ับประโยชน์สงู สุด

“ศาสตร์พระราชา คือ การลงไปศึกษาเรียนรู้จากชุมชน ให้ชุมชนบอกว่าปัญหาคืออะไรความ
ตอ้ งการของประชาชนคืออะไร โดยตอ้ งคานงึ ถึงความตอ่ เน่ืองและย่ังยืน”

ศาสตร์พระราชาสกู่ ารพฒั นาอยา่ งย่งั ยืน หน้า 2
จดั ทาโดย องค์การบริหารสว่ นตาบลละแอ อาเภอยะหา จงั หวดั ยะลา

ซึ่งแสดงให้เห็นได้ว่าเป้าหมายในการพัฒนาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี ๙ คือ
การพัฒนาท่ีย่ังยืนเพื่อปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ของคน โดยไม่ทาลายส่ิงแวดล้อม ให้คนมีความสุข โดยต้อง
คานงึ เรือ่ งสภาพภูมิศาสตร์ ความเชอ่ื ทางศาสนา เชอ้ื ชาติ และภูมหิ ลงั ทางเศรษฐกิจ สังคม แม้ว่าวิธีการพัฒนา
มีหลากหลาย แต่ท่ีสาคัญ คือ การพัฒนาจะต้องมีความรัก ความห่วงใย ความรับผิดชอบ และการเคารพใน
เพอื่ นมนษุ ย์จะเหน็ ไดว้ ่าการพฒั นาเกีย่ วขอ้ งกับมนุษยชาติ และเป็นเรอ่ื งของจติ ใจ

2. หลัก ๒๓ ข้อในการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว รัชกาลท่ี ๙

หลกั การทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว
รัชกาลท่ี ๙ ที่เรียบง่ายเน้นการปรับใช้ภูมิปัญญา
ท้องถ่ินที่ราษฎรสามารถนาไปปฏิบัติได้และเกิด
ป ร ะ โ ย ช น์ สู ง สุ ด พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้ าอยู่ หั ว
รัชกาลที่ ๙ ทรงทุ่มเทพระวรกายตรากตราและมุ่งมั่น
เพือ่ แกไ้ ขปัญหาความเดอื ดร้อนใหแ้ ก่พสกนกิ รไม่วา่
จะเช้ือชาติใด ศาสนาใดอยู่ห่างไกลสักเพียงใด
ก็มิทรงย่อท้อ เข้าไปช่วยเหลือราษฎรทั้งด้าน
สาธารณสุข การศึกษา สาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐาน
ก าร เก ษ ตร ก า ร ฟื้ น ฟู ทรั พ ย าก ร ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ
ส่ิงแวดล้อม ท้ังดิน น้า ป่าไม้ และพลังงานหรือ
แม้กระทั่งการจราจร ทรงคิดค้นหาแนวทางแก้ไข
ปัญหาได้อย่างแยบยลการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ทรงยึดการดาเนินงานใน
ลักษณะทางสายกลางท่ีสอดคล้องกับสิ่งท่ีอยู่รอบตัวและสามารถปฏิบัติได้จริง ทรงมีความละเอียดรอบคอบ
และทรงคิดค้นหาแนวทางพฒั นาเพอ่ื มุง่ ประโยชนต์ ่อประชาชนสูงสุด มีคณุ ค่าและควรยึดเป็นแบบอย่างในการ
เจริญรอยตามเบื้องพระยุคลบาท นามาปฏิบัติเพื่อให้บังเกิดผลต่อตนเอง สังคม และประเทศชาติสืบไป
หลักการทรงงานของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั รัชกาลที่ ๙ มีดงั ต่อไปนี้

ศาสตร์พระราชาสกู่ ารพัฒนาอยา่ งยงั่ ยนื หน้า 3
จดั ทาโดย องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลละแอ อาเภอยะหา จงั หวดั ยะลา

ศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารพฒั นาอย่างยั่งยนื หนา้ 4
จัดทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารพฒั นาอย่างยั่งยนื หนา้ 5
จัดทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารพฒั นาอย่างยั่งยนื หนา้ 6
จัดทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารพฒั นาอย่างยั่งยนื หนา้ 7
จัดทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารพฒั นาอย่างยั่งยนื หนา้ 8
จัดทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตรพ์ ระราชาส่กู ารพฒั นาอย่างยั่งยนื หนา้ 9
จัดทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 10
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 11
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

. หน้า 12

ศาสตรพ์ ระราชาสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
จัดทาโดย องค์การบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จงั หวัดยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 13
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 14
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 15
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 16
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 17
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 18
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 19
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 20
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 21
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 22
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 23
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 24
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 25
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 26
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

๑. เป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตประจาวัน ให้สามารถอยู่ร่วมกับ

คนในหนว่ ยงานไดอ้ ย่างมคี วามสขุ
๒. ยดึ ความประหยดั ตดั ทอนคา่ ใชจ้ ่ายท่ีไมจ่ าเป็น ลดความ

ฟุ่มเฟือย รู้จักคาว่า “พอ” โดยไม่เบียดเบยี นท้งั ตนเองและผู้อน่ื

๓. มีความสุขและความพอใจกับงานท่ีปฏิบัติ กับชีวิต
ทพ่ี อเพียง ยดึ ทางสายกลางในการดาเนนิ ชีวิต

๔. พยายามใช้ทรัพยากรที่เก่ียวข้องกับการปฏิบัติงาน
และชวี ิตประจาวันอยา่ งประหยดั เพื่อใหเ้ กิดประโยชนม์ ากทส่ี ดุ

๕. ควรมีการวางแผนการทางานประจาวันให้ดี โดย

พิจารณาถงึ งานทคี่ า้ งจากวันกอ่ น งานท่ียังไม่เสร็จในวันน้ี และ
งานที่ต้องทาในวันต่อไป โดยให้มีการเขียนรายการของงานท่ี

ตอ้ งปฏิบตั ิ ลงในแผ่นกระดาษหรอื สมดุ บนั ทกึ ประจาวนั
ท้งั น้ีควรระบุให้ชัดเจน ว่ามงี านอะไรบา้ งทต่ี ้องทาให้วนั น้นั ๆ

๖. ควรมีการบริหารเวลาโดยจัดลาดับความสาคัญของงาน ซึ่งในแต่ละวันมีงานหลายอย่าง ดังน้ัน

ควรจัดลาดับความสาคญั ของงานวา่ จะทาอะไร กอ่ น – หลงั เพอ่ื ใหม้ คี วามเหมาะสมกบั เวลา

ศาสตรพ์ ระราชาสูก่ ารพัฒนาอย่างยง่ั ยืน หนา้ 27
จดั ทาโดย องค์การบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวัดยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 28
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 29
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา

ศาสตร์พระราชาสู่การพฒั นาอยา่ งย่งั ยนื หนา้ 30
จดั ทาโดย องคก์ ารบริหารส่วนตาบลละแอ อาเภอยะหา จังหวดั ยะลา


Click to View FlipBook Version