The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือแบบเรียน พาท่องแดนกระบี่

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanyaratsrinak948, 2021-03-31 14:00:32

หนังสือแบบเรียน พาท่องแดนกระบี่

หนังสือแบบเรียน พาท่องแดนกระบี่

พาท่องแดนกระบี่

กลุม่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย

หนงั สอื เรยี นอ่านเสรมิ
เพมิ่ ความรู้รายวชิ าภาษาไทย

พาท่องแดนกระบ่ี

กลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย
หนงั สอื อ่านเสรมิ เพม่ิ ความรู้ รายวชิ าภาษาไทย

สาขาวชิ าภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์
มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ

คานา

หนงั สอื แบบเรยี นภาษาไทยเลม่ น้ีเป็ นแบบเรยี นในกลุ่มสาระ
การเรียนรูว้ ชิ าภาษาไทย ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ หนงั สอื แบบเรยี น
เลม่ น้ีผจู้ ดั ทาจดั ทาข้นึ เพื่อจดุ ประสงคใ์ หผ้ เู้ รียนไดม้ ีทกั ษะในรายวชิ า
ภาษาไทย ทง้ั ทกั ษะในเรือ่ งการเขียน ทกั ษะเรือ่ งการอา่ น และทกั ษะเรื่อง
ภาษา

หนงั สอื แบบเรียนเลม่ น้ีเป็ นการสอนทสี่ อดแทรกเรื่องราวน่า
รูท้ นี่ า่ สนใจในแตล่ ะบททงั้ ความรูเ้ รื่องทง้ั ความรูเ้ รอ่ื งการอา่ นออกเสยี ง
ความรูเ้ ร่อื งการอา่ นจบั ใจความละความรูเ้ รื่องการเขยี นจดหมายซงึ่ ใน
แตล่ ะบทเรียนนนั้ ผจู้ ดั ทาไดส้ อดแทรกแบบฝึ กหดั ในทา้ ยบทไวใ้ หผ้ เู้ รยี น
ไดศ้ กึ ษาทบทวนบทเรียนในแตล่ ะบทเพื่อใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจมากยง่ิ ข้นึ

หวงั เป็ นอยา่ งย่งิ วา่ หนงั สอื แบบเรียนเลม่ น้ีจะเป็ นประโยชน์
ตอ่ การเรียนการสอนในกลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย อกี ทงั้ จะชว่ ย
ยกระดบั คณุ ภาพในดา้ นการศกึ ษาของนกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ ให้
มีประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ข้ึน

ผจู้ ดั ทา
กญั ญารตั น์ ศรนี าค

สารบญั

บทท่ี ๑ ประตเู มืองกระบี่ หนา้

ประวตั คิ วามเป็นมาของเขาขนาบนา้ ๒
ความรูเ้ รอื่ งการอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแกว้ ๔

กจิ กรรมทา้ ยบท ๖

บทที่ ๒ ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินกระบ่ี

เครอื่ งแกงทา่ เลน ตาบลเขาทอง อาเภอเมืองกระบ่ี ๘

ผลิตภณั ฑเ์ ตยปาหนนั (ภูมิปัญญา OTOP ) ๑๐

ตาบลคลองทอ่ ม อาเภอคลองทอ่ ม ๑๒
ความรูเ้ รอ่ื งการจบั ใจความ

กิจกรรมทา้ ยบท ๑๖
บทที่ 3 จดหมายจากเขาหงอนนาค

ประวตั คิ วามเป็นมา จดุ สาคญั ของเขาหงอนนาค ๑๙

อา่ นเสรมิ เพ่ิมความรู้ ๒๑

ความรูเ้ รอื่ งการเขยี นจดหมาย ๒๓

กจิ กรรมทา้ ยบท ๓๓

บทที่ ๑

เน้ือหา

ประวตั ิ ความเป็นประวตั ิ ความเป็นมา ของเขาขนาบนา้
ความรูเ้ รอ่ื งการอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแกว้
หลกั เกณฑท์ วั่ ไปของการอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแกว้

มโนทศั น์ การอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแกว้ เป็นการอา่ นโดย

เปลง่ เสยี งและวางจงั หวะของเสยี งใหถ้ ูกตอ้ งไพเราะน่าฟัง
เพื่อใหผ้ อู้ า่ นไดอ้ า่ นออกเสยี งรอ้ ยแกว้ ใหไ้ พเราะและเหมาะสม
ในสถานการณต์ า่ งๆ



กาลครง้ั หนึ่งนานมาแลว้ ณ เมืองเมอื งหนึ่ง มีหญิงชาวบา้ นผหู้ น่ึงไดใ้ ห้
กาเนิดเด็กนอ้ ยทม่ี ีรูปรา่ ง หนา้ ตาทง่ี ดงามเธอชอื่ วา่ มาลี จนตอนน้ีเมาลไี ด้
เตบิ โตเต็มสาว และยงั เป็ นทตี่ อ้ งการของชายหนุ่มทว่ั แดน ไมว่ า่ จะมนุษยห์ รอื ยกั ษ์
ทกุ คนก็ตา่ งหลงใหลในความงามของหญิงสาวมาลผี นู้ ้ี ความงามของหญิงสาว
มาลีไดถ้ ูกขนานนามไปทว่ั แดน
วนั หนึ่งหญงิ สาวผนู้ ้ีก็ไดเ้ ขา้ ป่ าไปเพื่อหาผกั มาขาย แตก่ ลบั เจอยกั ษอ์ าดูทดี่ กั รอ
เธออยู่ ยกั ษอ์ าดตู อ้ งการทจี่ ะพามาลีไปอยดู่ ว้ ย แตห่ ญงิ สาวมาลีไดป้ ฏิเสธและ
เดนิ หนีออกมาทนั ที ระหวา่ งทางทห่ี ญิงสาวเดนิ กลบั บา้ น ก็ไดเ้ จอพบกบั ชายหนุ่ม
รูปงาม ชายหนุม่ ผนู้ ้ีมชี อื่ วา่ มาวนิ และไดต้ กหลุมรกั ความงามของมาลีมาวนิ ได้
ถามกบั มาลีวา่ เจา้ จะไปไหนเหรอ ทาไมรีบรอ้ นเอานกั หญิงสาวมาลไี ดต้ อบ
กลบั มาวนิ วา่ เราหนียกั ษอ์ าดูอยู่ มนั จะจบั ตวั ขา้ เจา้ ชว่ ยเราดว้ ยนะ ชายหนุม่
มาวนิ ตกลงจะชว่ ย แตไ่ ดย้ ื่นขอ้ เสนอใหก้ บั มาลีวา่



ถา้ เราชว่ ยเจา้ ตอ้ งมาเป็ นพระชายาเรา มาลหี ยุดคดิ ครูห่ น่ึง และก็ตอบ
ตกลง เมือ่ ยกั ษอ์ าดูตามมาทนั มาลีและมาวนิ ทง้ั ยกั ษอ์ าดูและมาวนิ ก็ไดต้ อ่ สกู้ นั
ทนั ที ทงั้ สองตอ่ สฟู้ าดฟันกนั ดว้ ยคมดาบ ไมม่ ใี ครยอมใคร การต่อสใู้ นครงั้ น้ี
เป็ นเวลานานทาใหท้ ง้ั สองเกิดการเหน่ือยลา้ จนถึงแกค่ วามตายในทสี่ ุด ศพของ
ยกั ษแ์ ละชายหนุ่มกลายเป็ นภเู ขาหนิ อยหู่ า่ งกนั ไมม่ ากนกั ชอ่ งวา่ งระหวา่ งภูเขา
ทงั้ สองลูกนน้ั ชาวบา้ นไดม้ าขุดใหเ้ ป็ นทางนา้ ไหล เลยมีชอ่ื เรียกวา่ เขาขบาบนา้
ในเวลาตอ่ มา

สว่ นอาวุธของทง้ั สองไดป้ ลิวไปไกล อาวุธของมาวนิ ทดี่ าบไดไ้ ปตกอยู่
ตาบลหน่ึง ภายหลงั มชี อื่ เรียกวา่ ตาบลกระบี่นอ้ ย สว่ นอาวุธของยกั ษไ์ ดป้ ลิวไป
ตกในอกี ตาบลหนึ่งภายหลงั มีชอื่ เรยี กวา่ กระบ่ีใหญ่ หลงั จากนนั้ เป็ นเวลาเนิ่น
นาน เขาขนาบนา้ ไดก้ ลายเป็ นประตแู รกทนี่ กั ทอ่ งเทย่ี วจะไดช้ ม ถือเป็ น
สญั ลกั ษณป์ ระจาเมอื งกระบี่

กญั ญารตั น์ ศรนี าค



ความรเู้ รอ่ื งการอ่านออกเสยี งรอ้ ยแกว้

ฟองจนั ทร์ สุขย่ิง (2551:12) การอา่ นออกเสียงรอ้ ยแกว้ หมายถึง
การอา่ นถอ้ ยคาที่มีผูเ้ รียบเรียง หรือ ประพนั ธไ์ ว้ โดยการเปล่งเสียง และ
วางจงั หวะเสยี งใหเ้ ป็ นไปตามความนิยม และเหมาะสมกบั เรื่องทีอ่ า่ น มีการ
เลน่ ลีลาของเสยี งไปตามเจตนารมณข์ องผปู้ ระพนั ธ์ เพ่ือ ถ่ายทอดอารมณ์
นน้ั ๆ ไปสผู่ ฟู้ ัง จะทาใหผ้ ฟู้ ังเกดิ อารมณค์ ลอ้ ยตามไปกบั เรอื่ งราว หรือ รส
ของคาประพนั ธท์ ่ีอา่ น การอ่านออกเสียงรอ้ ยแกว้ เป็ นการอา่ นใหผ้ ูอ้ ่ืนฟัง
เสยี งของเรา



หลกั เกณฑท์ ว่ั ไปในการอ่านออกเสยี งรอ้ ยแกว้

๑. กอ่ นอา่ นควรศึกษาเรื่องทอี่ า่ นใหเ้ ขา้ ใจ โดยศึกษาสาระสาคญั ของเร่ือง
และขอ้ ความทุกขอ้ ความเพื่อจะแบง่ วรรคตอนในการอา่ นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

๒. อา่ นออกเสยี งดงั พอเหมาะกบั สถานทแ่ี ละจานวนผูฟ้ ัง ใหผ้ ูฟ้ ังไดย้ ินทวั่
กนั ไมด่ งั หรือคอ่ ยจนเกินไป

๓. อา่ นใหค้ ลอ่ งฟังรื่นหูและออกเสียงใหถ้ ูกตอ้ งตามอกั ขรวธิ ี ชดั ถอ้ ยชดั
คา โดยเฉพาะตวั ร ล หรอื คาควบกลา้ ตอ้ งออกเสยี งใหช้ ดั เจน

๔. อ่านออกเสียงใหเ้ ป็ นเสียงพูดอย่างธรรมชาติท่ีสุด ไม่พยายาม
ดดั แปลงเสยี ง

๕. เนน้ เสียงและถอ้ ยคาตามนา้ หนกั ความสาคญั ของใจความ ใช้เสยี งและ
จงั หวะใหเ้ ป็ นไปตามเน้ือเรือ่ ง เชน่ ดุ ออ้ นวอน จรงิ จงั โกรธ ฯลฯ

๖. อา่ นออกเสยี งใหเ้ หมาะกบั ประเภทของเรอ่ื ง รูจ้ กั ใสอ่ ารมณใ์ หเ้ หมาะสม
ตามเน้ือเรอื่ ง

๗. ควรสบสายตาผฟู้ ังเป็ นบางครงั้ โดยกระทาอยา่ งเป็ นธรรมชาติ

๘. การจบั หนงั สือ จบั หนงั สือใหม้ นั่ ใหช้ ่วงสายตากบั ตวั หนงั สืออยู่ใน
ระดบั ทเ่ี หมาะสม



กจิ กรรมทา้ ยบท

ใหน้ กั เรียนแต่งนทิ าน ๑ เร่อื ง แลว้ ออกมาอ่านหนา้ ชน้ั เรยี น

ภมู ิปัญญาทอ้ งถน่ิ กระบ่ี

บทที่ ๒

เน้ือหา

เครอ่ื งแกงทา่ เลน ตาบลเขาทอง อาเภอเมืองกระบี่
ผลิตภณั ฑเ์ ตยปาหนนั ตาบลคลองทอ่ ม อาเภอคลองทอ่ ม
การอา่ นจบั ใจความ
กิจกรรมทา้ ยบท
มโนทศั น์ การอ่านจบั ใจความเป็ นการอ่านเพื่อมุ่งหา

สาระสาคญั หรือความคิดหลกั ของเรื่องที่อา่ น การอ่านจบั
ใจความจงึ มคี วามสาคญั ในการอา่ น เพื่อใหอ้ า่ นสามารถจบั
ใจความสาคญั ของเร่ืองนน้ั ๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง



สวสั ดเี ราชอ่ื โดนทั วนั น้ีเราจะพาเพ่ือนๆ ไปศึกษาภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินของ
จงั หวดั กระบ่ี ซ่ึงถา้ พูดถึงจงั หวดั กระบี่แลว้ เป็ นจงั หวดั ท่ีข้ึนช่ือเร่ืองการ
ทอ่ งเทีย่ ว อาหาร และผลิตภณั ฑท์ ่ีหนา้ สนใจ มากมาย ซ่ึงผลิตภณั ฑเ์ หล่านนั้
ลว้ นเป็ นฝี มือของชาวบา้ นในพ้ืนที่ตา่ งๆของจงั หวดั กระบี่ จนกลายมาเป็ นภูมิ
ปัญญาทอ้ งถิ่น ซงึ่ แตล่ ะทอ้ งถ่ินจะมีผลติ ภณั ฑท์ แี่ ตกตา่ งกนั ไป เชน่ กลา้ ยฉาบ
ทุง่ ประสาน เตยปาหนนั เม็ดมะม่วงหินมะพานต์ และเครื่องแกงทา่ เลน ฯลฯ
และน้ีคอื สว่ นหน่ึงในผลิตภณั ฑข์ องจงั หวดั กระบี่ ในวนั น้ีโดนทั จะพาเพ่ือนๆ ไป
ศกึ ษาถึงสามภูมปิ ัญญาดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ เคร่ืองแกงทา่ เลน เตยปาหนนั กอ่ นอนื่
โดนทั จะพาเพื่อนๆ ไปดูภูมิปัญญาเครื่องแกงทา่ เลน ซ่ึงเคร่ืองแกงถือไดว้ า่
เป็ นวฒั นธรรมการบริโภคอาหารของคนปักษใ์ ต้ ซึ่งคนใตจ้ ะนิยมรบั ประทาน
อาหารทม่ี รี สจดั เพ่ือรสชาตทิ ถ่ี ึงใจสาหรบั คนใต้ ตามตาหรบั อาหารของชาวใต้
เคร่ืองแกงยงั มีประโยชนอ์ กี มากมาย เพราะในสว่ นของเคร่ืองแกงแตล่ ะรสนนั้
มีสมุนไพร่หลากหลายชนิด และยงั สามารถบารุงร่างกายรกั ษาโรคต่างๆ ได้
อกี ดว้ ย



วนั น้ีโดนทั จะมาใหค้ วามรู้ ประวตั ิและความเป็ นมาของเครื่องแกงท่า
เลน หมู่ที่ ๓ ตาบทเขาทอง ซ่ึงหลงั จากเกิดเหตุการณ์สึนามิ ในปี พ.ศ.
๒๕๔๗ สง่ ผลกระทบใหช้ าวบา้ นทา่ เลนเป็ นอย่างมาก ชาวบา้ นขาดรายได้ ไม่
มีงานทา เพราะรายไดส้ ว่ นหนึ่งชาวบา้ นก็นาเอาไปซอ่ มแซมบา้ นเรือนทโ่ี ดนสึ
นามิ อกี สว่ นหนึ่งก็นาไปใชซ้ ้อื ของใชภ้ ายในบา้ น อาหารการกินตา่ งๆ แตใ่ ชว่ า่
ชาวบา้ นจะอยู่กินกนั อยากปกติ มนั ก็ตอ้ งมีบา้ งท่ีตอ้ งอดม้ือกินม้ือ และเมื่อปี
พ.ศ.๒๕๔๘ ชาวบา้ นไดเ้ ล็งเห็นถึงส่ิงสาคญั ทมี่ ีในหมู่บา้ นและยงั เป็ นสงิ่ ที่ติด
ครวั เรือนของทุกๆ บา้ น นัน้ คือ ข่า ตะไคร้ และขิง ประกอบกบั กา รคิด
วเิ คราะห์

วิถีชีวิตที่เร่งรีบในปัจจุบัน ทาให้ผู้คนไม่มีเวลาท่ีจะมาประกอบ
เคร่ืองแกงเอง เพราะเคร่ืองตอ้ งมีของใหค้ รบ ตอ้ งนงั่ ตาจนกวา่ สว่ นผสมทุก
อย่างจะเขา้ กนั ซ่ึงมนั ก็ใชเ้ วลานานพอสมควร นายสราวุธ บารุง ซึ่งเป็ น
ผูใ้ หญ่บา้ นพรอ้ มดว้ ยชาวบา้ นในตาบลทา่ เลน ไดร้ ิเริ่มทาเคร่ืองแกงแบบตา
มือออกจาหน่าย ซ่ึงไดร้ บั การตอบรกั จากชาวบา้ นคนอ่ืนๆ และหมู่บา้ น
ใกลเ้ คียงเป็ นอย่างดี โดยในระยะเวลา ๘ เดือนของการจาหน่ายเคร่ืองแกง
ชาวบา้ นท่ีเป็ นสมาชิกทุกคนไดร้ บั เงินปันผลตามท่ีตกลงกนั ไว้ ซ่ึงผลกาไรท่ี
เหลือนนั้ ไดม้ ีการตกลงกนั ใหเ้ ป็ นผลกาไรของกลุ่มนน้ั เอง ซึ่งจุดเด่นของ
ผลิตภณั ฑน์ ้ีคอื การใชว้ ตั ถุดบิ ทอ่ี ยใู่ นทอ้ งถิ่น

๑๐

และยงั มคี วามสะอาด ปลอดสารพิษอีกดว้ ย รสชาตขิ องผลิตภณั ฑก์ ็ตรงตามใจชาว
ปักษใ์ ตเ้ ป็ นอย่างมาก อีกทง้ั เครื่องแกงท่าเลนยงั มีการส่งไปต่างๆ อาเภอภายใน
กระบ่ี และจงั หวดั อ่ืนๆอกี ดว้ ย จากกิจกรรมน้ีสามารถทาใหป้ ระชากรในหมูบ่ า้ นมี
รายได้ มีภูมิปัญญาเป็ นของตน้ เอง ไม่วา่ จะเป็ นฝี มือ แรงงานก็คือคนในชุมชน
อย่างแทจ้ ริงที่ถ่ายทอดกนั จากรุ่นสู่รุ่น จนมาถึงปัจจุบัน จึงทาใหช้ าวบา้ นใน
หมู่บ้านมีความรักความสามัคคีกันมีความผูกพันกันเหมือนพี่เหมือนน้อง
ผลิตภณั ฑช์ ้นิ แรกไดผ้ า่ นไปแลว้

ทุกคนเป็ นไงกนั บา้ งคบั งน้ั โดนทั จะพาไปดูผลิตภณั ฑช์ ้ินท่ีสองกนั ซ่ึง
ผลิตภัณฑ์ช้ินที่สองน้ีก็คือเตยปาหนัน ท่ีเป็ นสินคา้ OTOP ของกลุ่มพัฒนา
หตั ถกรรมบา้ นวงั หนิ หมทู่ ี่ ๖ ตาบลคลองทอ่ มใต้ อาเภอคลองทอ่ ม จงั หวดั กระบี่
ลกั ษณะของเตยปาหนนั นน้ั เป็ นเตยทข่ี ้ึนอยรู่ มิ หาดชายทะเล ป่ าโกงกาง มีลกั ษณะ
ลาตน้ เป็ นกอและแตกก่ิงใบยาวเป็ นพุ่ม มีขาดเล็กบา้ งใหญ่บา้ งตามอายุและสภาพ
ดนิ ลาตน้ สงู ประมาณ ๕ เมตร ทงั้ ตน้ สามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ดห้ ลากหลาย ไม่
วา่ จะเป็ น ใบ สามารถนามาสานเป็ นภาชนะได้ รากเป็ นสมุนไพรขบั ปัสสาวะแกน้ ่ิว
ดอกนามาสานเป็ นเครื่องใชป้ ระดบั ร่างกาย ผลนามาทาเป็ นอาหารเสริมของสตั ว์
พ้ืนบา้ น ในสว่ นของกลุม่ พฒั นาหตั ถกรรมบา้ นวงั หินท่มี ีเอกลกั ษณะเฉพาะถิ่นและ
วธิ ีการสาน ตลอดจนการใชว้ สั ดุอ่ืนๆ ในทอ้ งถิ่นที่แตกตา่ งกนั ไป ซึ่งวธิ ีการทาแต่
ละขนั้ ตอนก็มคี วามยากงา่ ยพอสมควร แตส่ าหรบั มือใหมค่ งจะยากมากน่าดู

๑๑

ผลิตสภรณั ุปฑเรท์ อื่ แี่งปยอ่รรูปมาจากตน้ เตยปาหนนั มี เสอื่ หมวก หมอน หมุกยา และห
มุกใส่ของใชต่ า่ งๆ จุดเดน่ ของผลิตภณั ฑใ์ นบา้ นวงั หินนน้ั คงเกิดจากฝี มือที่มี
ความสวยงามของสมาชกิ ในกลุม่ ความหลากหลายของผลิตภณั ฑ์ ความงาม
ของผลิภณั ฑท์ เี่ กิดจากโครงสรา้ ง รูปทรง สสี นั และลวดลายทมี่ ีความละเอียด
ประณีต การใชว้ สั ดุทอ้ งถิ่นในการจกั สาร สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงคตินิยมของ
ทอ้ งถ่ิน ลกั ษณะวฒั นธรรมการประกอบอาชพี การดารงชพี และลกั ษณะทาง
ภูมศิ าสตรข์ องแตล่ ะทอ้ งถ่ิน เพราะฝี มอื ทโ่ี ดดเดน่ เหลา่ น้ีจงึ ไดร้ บั ใหเ้ ป็ นสนิ คา้
OTOP ของจงั หวดั กระบ่ีนนั้ เอง

ทง้ั สองผลิตภณั ฑท์ ่ียกมาขา้ งตน้ น้ีเป็ นผลิตภณั ฑท์ ่ีเป็ นของข้ึนช่ือของ
จงั หวดั กระบ่ี เป็ นสง่ิ ท่คี นในจงั หวดั ใชแ้ ละบริโภคผลิตภณั ฑน์ ้ีเป็ นอยา่ งดี และ
ยงั เป็ นสินคา้ ท่ีสง่ ออกไปต่างจงั หวดั อีกดว้ ย ทงั้ สองผลิตภณั ฑถ์ ือวา่ เป็ นภูมิ
ปัญญาที่คนในทอ้ งถ่ินไดค้ ิดคน้ และลงมือทาดว้ ยนา้ พกั นา้ แรงของผูค้ นใน
ชมุ ชน สงิ่ เหลา่ น้ียงั สง่ ไปถึงรุน่ ลกู รุน่ หลานไดใ้ ชไ้ ดท้ ากนั เพื่อสืบตอ่ ภูมิปัญญา
ทอ้ งถิ่นและยงั ถือวา่ เป็ นเอกลกั ษณข์ องแตล่ ะทอ้ งถิ่น

๑๒

ความรเู้ รอื่ งการอ่านจบั ใจความ

ผกาสรี เย็นบุตร (2542:137) การอ่านจบั ใจความ คือ การอ่านท่ีตอ้ ง
แยกแยะเร่ืองที่อ่านใหไ้ ดว้ า่ ส่วนใดเป็ นใจความหรือขอ้ ความที่สาคญั ที่สุด
และส่วนใดเป็ นขอ้ ความประกอบ การจบั ใจความจะช่วยใหผ้ ูอ้ ่านเขา้ ใจว่า
ผเู้ ขียนตอ้ งการสอื่ อะไรอยา่ งถกู ตอ้ ง โดยผอู้ า่ นตอ้ งใชค้ วามสามารถทางภาษา
ประสบการณห์ รอื ภมู หิ ลงั ในดา้ นการแปลความหมายของคา ขอ้ ความ เพ่ือจบั
ใจความใหร้ วดเร็ว

ใจความสาคญั

จิตตน์ ิภา ศรีไสย์ (2549:30) หมายถึง ใจความท่ีสาคญั และเดน่ ทีส่ ุด
ในย่อหนา้ เป็ นแก่นของย่อหนา้ ที่สามารถคลอบคลุมเน้ือความในประโยค
อ่ืนๆ ในย่อหนา้ นน้ั หรือประโยคที่เป็ นหวั เร่ืองของย่อหนา้ นน้ั ได้ ถา้ ตดั
เน้ือความของประโยคอ่ืนออกหมด หรือสามารถเป็ นใจความหรือประโยค
เดยี่ วๆ ได้ โดยไมต่ อ้ งมปี ระโยคอน่ื ประกอบ ซึ่งในแตล่ ะย่อหนา้ จะมีประโยค
ใจความสาคญั เพียงประโยคเดยี ว หรือไมเ่ กิน ๒ ประโยค

๑๓

ใจความรอง

หรือ พลความ (พน-ละ-ความ) หมายถึงใจความ หรือประโยคท่ีขยาย
ความประโยคใจความสาคญั เป็ นใจความสนบั สนุนใจความสาคญั ใหช้ ัดเจน
ข้ึน อาจเป็ นการอธิบายใหร้ ายละเอียด ใหค้ าจากัดความ ยกตวั อย่าง
เปรียบเทียบ หรือแสดงเหตุผลอย่างถี่ถว้ น เพื่อสนบั สนุนความคิด สว่ นท่ี
มิใชใ่ จความสาคญั และมิใชใ่ จความรอง แตช่ ว่ ยขยายความใหม้ ากข้ึน หรือ
รายละเอยี ด

หลกั การจบั ใจความสาคญั

๑. จดุ มุง่ หมายในการอา่ นชดั เจน
๒. อา่ นเรือ่ งราวอยา่ งครา่ วๆ พอเขา้ ใจ และเก็บใจความสาคญั ของแตล่ ะยอ่
หนา้
๓. เม่ืออา่ นจบใหต้ งั้ คาถามตนเองวา่ เรือ่ งทอ่ี า่ น มใี คร ทาอะไร ทไี่ หน
เมอื่ ไหร่ อยา่ งไร
๔. นาสง่ิ ทส่ี รุปไดม้ าเรยี บเรยี งใจความสาคญั ใหมด่ ว้ ยสานวนของตนเอง
เพื่อใหเ้ กิดความสละสลวย

๑๔

วิธีการจบั ใจความสาคญั

วธิ ีการจบั ใจความมีหลายอย่าง ข้ึนอยู่กบั ความชอบวา่ อย่างไร เชน่
การขดี เสน้ ใต้ การใชส้ ีตา่ งๆ กนั แสดงความสาคญั มากนอ้ ยของขอ้ ความ
การบนั ทึกย่อเป็ นส่วนหน่ึงของการอ่านจบั ใจความสาคญั ที่ดี แต่ผูท้ ่ีย่อ
ควรยอ่ ดว้ ยสานวนภาษา และสานวนของตนเอง ไมค่ วรยอ่ ดว้ ยการตดั เอา
ขอ้ ความสาคญั มาเรียงตอ่ กนั เพราะอาจทาใหผ้ ูอ้ า่ นพลาดสาระสาคญั บาง
ตอนไป อนั เป็ นเหตุใหก้ ารตีความผิดพลาดคลาดเคลื่อนได้ วิธีการจบั
ใจความสาคญั หลกั มีดงั น้ี
๑. พิจารณาทลี ะยอ่ หนา้ หาประโยคใจความสาคญั ของแตล่ ะประโยค
๒. ตดั ส่วนที่เป็ นรายละเอียดออกได้ เช่น ตวั อย่าง สานวนโวหาร
อุปมาอุปไมย (การเปรียบเทียบ) ตวั เลข สถิติ ตลอดจนคาถามหรือ
คาพูดของผเู้ ขยี นซง่ึ เป็ นสว่ นขยายใจความสาคญั
๓. สรุปใจความสาคญั ดว้ ยสานวนของตน

๑๕

การพจิ ารณาตาแหน่งใจความสาคญั

หลกั ในการพิจารณาใจความสาคญั ของขอ้ ความในแตล่ ะยอ่ หนา้ มกั จะ
ปรากฏในสว่ นตา่ งๆ ดงั น้ี
๑. ประโยคใจความสาคญั อยตู่ อนตน้ ของยอ่ หนา้
๒. ประโยคใจความสาคญั อยูต่ อนกลางของยอ่ หนา้
๓. ประโยคใจความสาคญั อยตู่ อนทา้ ยของยอ่ หนา้
๔. ประโยคใจความสาคญั อยตู่ อนตน้ และตอนทา้ ย
๕. ผอู้ า่ นสรุปข้นึ เองจากการอา่ นทง้ั ยอ่ หนา้

๑๖

กจิ กรรมทา้ ยบท

ตอนท่ี ๑ ใหน้ กั เรยี นสรปุ ใจความสาคญั จากเรอ่ื ง
ท่ีอ่าน

..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................
..........................................................................................

๑๗
ตอนที่ ๒ ใหน้ กั เรียนวาดรปู ผลติ ภณั ฑท์ อ้ งถน่ิ

บทท่ี ๓

เน้ือหา

ประวตั ิ ความเป็นมา จดุ สาคญั ของเขาหงอนนาค
อา่ นเสรมิ เพิ่มความรู้
ความรูเ้ รอ่ื งการเขยี นจดหมาย
กจิ กรรมทา้ ยบท

มโนทศั น์ การเขียนจดหมายเป็นการสอื่ สารแทนการ

พดู เป็ นการตดิ ตอ่ สมั พนั ธก์ นั ระหวา่ งบุคคลทไี่ มร่ ูจ้ กั กนั
หรอื อยูห่ า่ งไกลกนั จดหมายยงั เป็ นเอกสารทสี่ ามารถ
เก็บไวเ้ ป็ นหลกั ฐานไดอ้ กี ดว้ ย เพื่อใหผ้ อู้ า่ นไดเ้ ขา้ ใจถึง
การเขยี นจดหมาย และเขยี นจดหมายไดถ้ กู ตอ้ ง

๑๙

จดหมายจากเขาหงอนนาค

บา้ นเลขท่ี ๑๑๕/๑ ตาบทคลองเขมา้
อาเภอเหนือคลอง จงั หวดั สงขลา
๘๑๑๓๐

๒๑ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๖๔

ถึง เบียรน์ อ้ งรกั

สวสั ดเี บียรน์ อ้ งรกั ของพ่ี พ่ีทางานหนกั จนไมไ่ ด้
ตดิ ตอ่ กบั ทบ่ี า้ นเลย ตอนน้ีเบียรแ์ ละพ่อแมเ่ ป็ นอยา่ งไรบา้ ง
สบายดไี หมพี่อยูท่ างน้ีสบายดี

พี่มเี รอ่ื งทจ่ี ะเลา่ ใหเ้ บียรแ์ ละพ่อกบั แมฟ่ ังมากเลยเก่ียวกบั
การทางานของพ่ีน่ีแหละ พ่ีไดอ้ อกเดนิ ลาดตระเวรตามภูเขา
ทเี่ บียรเ์ คยบ่นอยากมาหลายทเี่ ลย แตล่ ะภูเขามีความ
สวยงามทแ่ี ตกตา่ งกนั มีบรรยากาศทส่ี ดชน่ื ความรูส้ กึ ของ
แตล่ ะภูเขาชา่ งมหศั จรรย์ แตม่ อี ยูเ่ ขาหนึ่ง ทพ่ี ี่ชอบและอยาก
ใหเ้ บียรช์ วนพอ่ กบั แมม่ าใหไ้ ด้

๒๐

นน้ั คอื เขาหงอนนาคทเี่ บียรพ์ ูดถึงบอ่ ยๆ ไง ระหวา่ ง
ทางเดนิ ข้นึ เขามีตน้ หมอ้ ขา้ วหมอ้ แกงข้นึ เป็ นจานวนมาก มมี อสสี
เขียวข้นึ ปกคลุมพ้ืนหนิ มองดูเหมือนพรมปูพ้ืนสเี ขียว

เขาหงอนนาคเป็ นเสน้ ทางทเ่ี หมาะในการศกึ ษาธรรมชาติ
มาก พ่ีอยากใหเ้ บียรม์ าเทย่ี วทนี่ ้ี เพราะมนั จะไดอ้ ะไรอกี มากมาย
เมื่อเดนิ ไปถึงจดุ ยอดสุดทสี่ งู ของเขาจะมองเหน็ ววิ ทวิ ทศั นท์ ่ี
สวยงาม รอบๆ จงั หวดั กระบี่ และจงั หวดั ใกลเ้ คยี ง แตก่ ารเดนิ ทาง
ครงั้ น้ีมนั ลาบาก เบียรต์ อ้ งบ่นพ่ีหชู า้ แน่ๆ

พี่คงตอ้ งไปทางานตอ่ แลว้ หวงั วา่ พ่ีคงไดร้ บั คาตอบจาก
เบียร์ และคงจะเป็ นคาตอบทน่ี ่าดใี จ ในเร็วๆ น้ี ฝากบอกพ่อกบั แม่
ดว้ ย วา่ พ่ีรกั และคดิ ถึงมากเสร็จงานทางน้ีจะรีบกลบั ไปหา

ดว้ ยรกั และคดิ ถึง
ภผู า

กญั ญารตั น์ ศรีนาค

อ่านเสรมิ เพม่ิ ความรู้ ๒๑

เขาหงอนนาค" ซง่ึ มี "โตะ๊ นาค" ปกป้ องคมุ้ ครองรกั ษา ซงึ่
“โตะ๊ นาค” ถือเป็ นสงิ่ ศกั ดสิ์ ทิ ธิ์และเป็ นทเี่ คารพบูชาของคนกระบ่ี
เชอ่ื กนั วา่ โตะ๊ นาคไดค้ อยปกป้ องดแู ลใหท้ ุกคนไดอ้ ยูก่ นั อยา่ ง
ปลอดภยั และมี ความรม่ เย็นเป็ นสุข มกี ารสรา้ งทส่ี กั การะบูชาโตะ๊
นาคทสี่ านกั สงฆบ์ า้ นคลองมว่ ง โดยชาวบา้ นนิยมนาเคร่ืองสกั การะ
มาถวายไม่ วา่ จะเป็ นไกต่ ม้ ไขต่ ม้ ดอกไม้ และทขี่ าดไมไ่ ดค้ อื
ประทดั “โตะ๊ ” เป็ นคาทชี่ าวมุสลมิ ใชเ้ รียกผหู้ ลกั ผใู้ หญท่ ท่ี ุกคนให้
ความเคารพนบั ถือ “นาค” หมายถึง พญานาค

โดยชาวบา้ นเชอื่ วา่ พ้ืนทลี่ ะแวกน้ีเป็ นที่ ของพญานาค
ตามตานานเกา่ แกท่ เ่ี ลา่ สบื ตอ่ กนั มา โดยตานานดงั กลา่ วเป็ นตน้
กาเนิดของชอื่ สถานทต่ี า่ งๆ ทมี่ ีความเกี่ยวขอ้ งกบั พญานาค ทง้ั เขา
หงอนนาค หนองทะเล และเขาแหลมหางนาค สง่ิ ทน่ี า่ สนใจและ
สรา้ งความประหลาดใจใหก้ บั ทุกคนนน่ั คอื “นา้ ตานาค” เป็ นบอ่
นา้ เล็กๆ ทม่ี นี า้ ใสไหลตลอดปีอยบู่ นเขาหงอนนาค

๒๒

ชาวบา้ นเชอ่ื วา่ เม่ือไดอ้ ธิษฐานขอพรจากโตะ๊ นาคพรอ้ มทงั้ ด่ืมนา้ น้ีแลว้ จะ
ได้ สมปรารถนาในสิ่งที่ขอและถือเป็ นสริ ิมงคลของชีวติ และอีกสถานที่ท่ี
น่าสนใจ ไดแ้ ก่ “สะดือนาค” ซ่ึงเป็ นบ่อนา้ เล็กๆ และมีนา้ ไหลตลอดปี
เช่นเดียวกนั เชื่อกนั ว่าทงั้ นา้ ตานาคและสะดือนาคนน้ั เป็ นนา้ ที่มาจาก
แหล่งเดียวกนั แต่สถานท่ีของบ่อนา้ ทง้ั 2น้ันห่างกันมากโดยมีการ
เชื่อมต่อตามแนวภูเขาซึ่งเชื่อวา่ เป็ นลาตวั พญานาคท่ี ทอดยาวออกไป
จากหงอนนาคจนถึงสะดอื นาค

๒๓

เสรมิ ความรเู้ รอ่ื งการเขยี นจดหมาย

ประภสั สร ภทั รนาวกิ (2559 :45) การเขยี นจดหมาย คือ วธิ ีการท่ี
นิยมใชเ้ พ่ือส่ือสารแทนการพูด เม่ือผูร้ บั และผูส้ ่งอยู่ห่างไกลกนั หรือมีความ
จาเป็ นบางประการทที่ าใหไ้ มส่ ามารถพูดจากนั ได้ นอกจากน้ีจดหมายยงั ใชเ้ ป็ น
สื่อสมั พนั ธ์ระหวา่ งบุคคลท่ีไม่รูจ้ กั กนั และจดหมายอาจใชเ้ ป็ นเอกสารสาคญั
สาหรบั อา้ งเป็ นหลกั ฐานไดอ้ กี ดว้ ยจดหมายเป็ นวกี ารตดิ ตอ่ ส่ือสารโดยทเี่ จา้ ตวั
ไมต่ อ้ งเป็ นผตู้ ดิ ตอ่ เองการเขียนจดหมายจาเป็ นทตี่ อ้ งใชภ้ าษาใหถ้ ูกตอ้ ง และใช้
ถอ้ ยคาทชี่ ดั เจนแจม่ แจง้ จะไดไ้ มเ่ ป็ นปัญหาแกผ่ อู้ า่ น

จดุ มุ่งหมายของการเขยี นจดหมาย

๑.เพื่อสอื่ สารแทนการพูด
๒.เพ่ือเป็ นสอื่ สมั พนั ธร์ ะหวา่ งบุคคลทไ่ี มร่ ูจ้ กั กนั
๓.เพ่ือเป็ นเอกสารสาคญั สาหรบั อา้ งเป็ นหลกั ฐาน

๒๔

หลกั ทวั่ ไปในการเขยี นจดหมายมีดงั น้ี

๑. เขยี นใหถ้ ูกตามรูปแบบทนี่ ิยมใชก้ นั
๒. ใจความในจดหมายตอ้ งใหช้ ดั เจน สมบูรณค์ รบถว้ น
๓. เลือกใชก้ ระดาษเขยี นและซองทม่ี ีสสี นั ทเี่ หมาะสม
๔. เขยี นดว้ ยลายมอื ทอ่ี า่ นงา่ ยสะอาดเรียบรอ้ ยเป็ นระเบียบไมม่ ีรอยขูด
ลบ หรือขีดฆ่า
๕.ใชภ้ าษาถกู ตอ้ งตามหลกั ตามหลกั ภาษาและตามความนิยมโดยคานึงถึง
ความสุภาพและถกู กาลเทศะ
๖. ระบุทอ่ี ยขู่ องผเู้ ขยี นใหช้ ดั เจน เพราะหากผรู้ บั จะตอบจดหมายจะไดส้ ง่
ถูกตอ้ ง
๗. บอกวนั ทข่ี องผเู้ ขยี นดว้ ย เพราะจะชว่ ยใหผ้ รู้ บั คะเนเรอ่ื งราวไดถ้ ูกตอ้ ง
ย่ิงข้ึน
๙. เน้ือเรอ่ื งในจดหมายจะมีความแตกตา่ งกนั ดงั น้ี

๙.๑ หากเป็ นจดหมายถึงเพ่ือนหรือญาตผิ ใู้ หญ่ การเขียนจะมีลกั ษณะ
คลา้ ยเรียงความ คอื มกี ารเกร่นิ เล็กนอ้ ยแลว้ จงึ เขียนเลา่ เรือ่ งไปตามลาดบั
ขน้ั ตอนใหมท่ กุ ครง้ั ควรมียอ่ หนา้ จะไดด้ สู วยงามและเป็ นสดั สว่ น

๒๕

๙.๒ หากเป็ นจดหมายถึงบุคคลอนื่ ก็เขยี นตามเน้ือเรอ่ื งทตี่ อ้ งการ
สอ่ื สารตอ้ งระมดั ระวงั เรอื่ งถอ้ ยคาภาษามากกวา่ จดหมายสว่ นตวั
๑๐. หากมกี ารใหพ้ ร ก็ควรอา้ งคณุ พระศรีรตั นตรยั วา่ เป็ นผใู้ ห้ (ผนู้ อ้ ยไม่
ควรใหพ้ รผใู้ หญ)่
๑๑. คาลงทา้ ยตอ้ งใหเ้ หมาะแกก่ าลเทศะและบุคคล
๑๒. การลงชอ่ื ผเู้ ขียน ตอ้ งเขยี นใหอ้ า่ นออก

ประเภทของจดหมาย

การเขยี นจดหมาย แบง่ ออกเป็ นประเภทใหญๆ่ ได้ ๓ ประเภท ดงั น้ี
๑. จดหมายสว่ นตวั เป็ นจดหมายท่ีเขียนกนั ในวงศญ์ าติสนิท มิตร

สหาย และบุคคลที่รูจ้ กั คุน้ เคย เพื่อสง่ ข่าวคราวไตถ่ ามทุกขส์ ุข แสดงความ
รกั ความระลึกถึงที่มีต่อกนั หรือเล่าเร่ืองราวเหตุการณท์ ี่น่ารูน้ ่าสนใจใหฟ้ ัง
ตลอดจนขอความช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั เป็ นการติดต่อกนั อย่างไม่เป็ น
ทางการ ภาษาและสานวนท่ีใชไ้ ม่เคร่งครดั ภาษาท่ีใชใ้ นหนงั สือราชการและ
จดหมายธุรกิจการเขียนข้ึนตน้ ลงทา้ ย จดหมายส่วนตวั ไม่มีกฎเกณฑ์
ตายตวั แตค่ วรระมดั ระวงั และเลอื กใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั บุคคลทจี่ ะเขียนถึง

๒๖

โดยประเภทของจดหมายสว่ นตวั แบง่ ออกเป็ น ๓ ประเภท คอื จดหมาย
ขอโทษ จดหมาย
แนะนา และจดหมายแสดงความขอบใจ เห็นใจ หรือยินดีมีรายละเอียด
ดงั ตอ่ ไปน้ี

๑.๑ จดหมายสว่ นตวั ทข่ี อโทษ เป็ นจดหมายทเี่ ขียนขอโทษหรอื ช้แี จง
ขอ้ ผิดพลาดในกรณีตา่ ง ๆ จดหมายชนิดน้ีจะใชข้ อ้ ความสนั้ ๆ เพื่อขอ
โทษหรอื แสดงความเสยี ใจ ตอ่ เหตุการณท์ เ่ี กิดข้ึน และไดท้ าผิดพลาดไป
ถา้ เป็ นกรณีผดิ นดั อาจช้แี จงความจาเป็ นทผี่ ดิ นดั

๑.๒ จดหมายส่วนตวั เพื่อแนะนา จดหมายประเภทน้ีเขียนเพื่อ
แนะนาตดิ ตอ่ ใหผ้ ูท้ ยี่ งั ไมค่ ุน้ เคยไดร้ ูจ้ กั กนั ขอ้ ความในจดหมายชนิดน้ีจะ
เป็ นการเขยี นเฉพาะใจความ บอกถึงสาเหตแุ หง่ การแนะนา

๑.๓ จดหมายส่วนตวั ท่ีแสดงความขอบใจ เห็นใจ หรือ ยินดี
จดหมาย ชนิดน้ีถือเป็ นมารยาททางสงั คม แสดงถึงความเป็ นผู้มี
อธั ยาศยั ไมตรตี อ่ กนั จดหมายที่แสดงความขอบใจ เป็ นจดหมายทเ่ี ขียน
เน่ืองในโอกาสที่เราไดร้ บั เชญิ ไปงานเล้ียงปกติมกั เป็ นวนั ถดั ไปโดยมีคา
สนั้ ๆระบุถึงความสนุกสนานเพลดิ เพลนิ ความอบอุน่ ทใ่ี หก้ ารตอบรบั

๒๗

๒. จดหมายธุรกจิ หมายถึง จดหมายระหวา่ งหา้ งรา้ นและบรษิ ทั ต่าง ๆ
หรือจดหมายทเี่ อกชนมตี อ่ หา้ งรา้ นดว้ ยกจิ ธุระตา่ ง ๆ เชน่ จดหมายสง่ั
ของจากรา้ น จดหมายทวงหน้ี จดหมายสมคั รงาน จดหมายสอบถาม
เร่ืองตา่ ง ๆ จดหมายตอบรบั หรอื ปฏิเสธคาเชญิ
เป็ นทางการ ขอ้ ความตอ้ งรดั กุม กระชบั สน้ั แตไ่ ดใ้ จความครบบรบิ ูรณ์

ส่วนต่าง ๆ ของจดหมายกจิ ธรุ ะ มีดงั น้ี

๑. หวั จดหมาย หมายถึง สว่ นที่เป็ นช่ือขององคก์ รหรือหน่วยงานท่ีเป็ น
ตานสงั กดั ของผอู้ อกจดหมาย ถา้ ใชก้ ระดาษหน่วยงาน หรือองคก์ รทีม่ ีหวั
กระดาษหรือหวั จดหมายก็จะข้ึนตน้ ดว้ ยชอื่ หนว่ ยงานทรี่ บั ผิดชอบและชอ่ื ที่
อยู่
๒. ลาดบั ท่ีของจดหมายจะใชค้ าว่าที่ ตามดว้ ยเลขท่ีบอกลาดบั ที่ของ
จดหมาย และปี พ.ศ. จะมีเครื่องหมาย / (ทบั ) คน่ั กลาง ลาดบั ทน่ี ้ีจะอยู่
ทางดา้ นซา้ ยของจดหมาย

๒๘

๓. วนั เดือน ปี เร่ิมเขียนจากกลางหนา้ กระดาษไปทางขวามือ ไมต่ อ้ งเขียน
คาวา่ วนั ทเี่ ดอื น ปี เชน่ ๙ ธนั วาคม ๒๕๕๐
๔. เรื่องเป็ นข้อความสรุปสาระสาคัญของจดหมาย เช่น เชิญชวน
ขอขอบคณุ ขอความอนุเคราะห์ ฯลฯ
๕. คาข้ึนตน้ จะใชค้ าว่า เรียน ตามดว้ ยชื่อและนามสกุล หรือตามดว้ ย
ตาแหน่งของผรู้ บั จดหมายก็ได
๖. ส่ิงที่ส่ิงมาดว้ ย ผูส้ ง่ จดหมายตอ้ งระบุเอกสารหรือสิ่งทส่ี ่งมาดว้ ยพรอ้ ม
กบั จดหมายนนั้ ดว้ ยวา่ เป็ น กาหนดการ,แผ่นซีดี,หนงั สือ หรือรายงานการ
ประชุม ฯลฯ
๗. ขอ้ ความ ขอ้ ความท่ีเป็ นเน้ือหาหลกั ของจดหมายตอ้ งมี ๒ ย่อหนา้ เป็ น
อยา่ งนอ้ ย ยอ่ หนา้ แรกบอกสาเหตใุ นการเขียนจดหมาย ใหข้ ้ึนตน้ ดว้ ยคาวา่
ดว้ ย เนื่องดว้ ย หรอื เนื่องจาก ยอ่ หนา้ ท่ี ๒ บอกวตั ถุประสงคข์ องจดหมาย
ซง่ึ มกั ข้ึนตน้ ดว้ ย จงึ เรียนมาเพ่ือ
๘. คาลงทา้ ย ใชว้ า่ ขอแสดงความนบั ถือ อยูต่ รงกบั วนั ท่ี
๙. ลายมอื ชอ่ื ตอ้ งเป็ นลายมือชอ่ื จริงของผลู้ งชอื่
๑๐. ชอ่ื เต็มของผูเ้ ขียนจดหมาย พิมพอ์ ยู่ในในวงเล็บ ตอ้ งมีคานาหนา้ ชื่อ
เสมอ

๒๙

๑๑. ตาแหน่งของผเู้ ขยี นจดหมาย ตอ้ งกากบั ไวท้ กุ ครง้ั
๑๒.หน่วยงานท่ีออกจดหมายและหมายเลขโทรศพั ทข์ องผูเ้ ขียนจดหมาย
นิยมพิมพไ์ วล้ าดบั สุดทา้ ยของจดหมายชดิ ขอบของจดหมายดา้ นซา้ ยหากมี
หมายเลขโทรสารและทอี่ ยไู่ ปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนิกสก์ ็ใหร้ ะบุมาดว้ ย
๑๓.ซองจดหมาย ใชไ้ ดท้ งั้ ซองจดหมายมาตรฐานคือ ๕×๗ น้ิว และซอง
จดหมายราชการ รหสั ไปรษณียท์ ี่ระบุหนา้ ซองใหใ้ ชเ้ ลขอาราบิก รูปแบบ
ของจดหมายกิจธุระ โดยทว่ั ไปแลว้ จดหมายกจิ ธุระจะมี ๒ รูปแบบ คอื

๑๓.๑ จดหมายกจิ ธุระเต็มรูปแบบ ใชใ้ นการเขียนที่เป็ นทางการ เป็ น
จดหมายที่วางรูปแบบเหมือนหนงั สือราชการภายนอกแต่มีการดดั แปลง
รายละเอียดเพ่ือใหเ้ หมาะสมกบั หน่วยงานของตนและใชภ้ าษาที่เป็ น
ทางการ

๑๓.๒ จดหมายกิจธุระไม่เต็มรูปแบบ ใชใ้ นการเขียนจดหมายกิจธุระ
ส่วนตัว ใช้รูปแบบเหมือนกับจดหมายส่วนตัวจะแตกต่างก็ตรง
วตั ถุประสงคแ์ ละใชภ้ าษาระดบั กงึ่ ทางราชการหรอื ทางราชการ

๓๐

จดหมายกจิ ธรุ ะท่ีดี

การเขยี นจดหมายกิจธุระทด่ี นี น้ั ผเู้ ขียนจะตอ้ งคานึงถึงสงิ่ ตอ่ ไปน้ี
๑.ความชดั เจนจดหมายทเี่ ป็ นทางการจะตอ้ งพิมพไ์ มใ่ ชเ้ ขียนกระดาษท่ี

ใชถ้ า้ ไมม่ ตี ราของหนว่ ยงานก็ควรเป็ นกระดาษขาวขนาด เอส่ี ไมม่ เี สน้
๒. ความสมบูรณ์ ตอ้ งระบุสงิ่ ทจ่ี า่ เป็ นไวใ้ นจดหมายใหค้ รบถว้ น
๓. ความกะทดั รดั ภาษาท่ีเขียนตอ้ งเป็ นภาษาท่ีกระชบั ไดใ้ จความ

ชดั เจน ใชภ้ าษาระดบั ทางการ
๔.ความถูกตอ้ งตอ้ งมีการทบทวนใหถ้ ูกต้องทุกคร้ังก่อนท่ีจะส่ง

จดหมาย โดยเฉพาะช่ือและตาแหน่งผูร้ บั จดหมาย วนั เวลาที่นดั หมาย
เพราะหากเกิดการผดิ พลาดแลว้ วจะทาใหเ้ สยี หายได้

๕. ความสุภาพตอ้ งใชภ้ าษาที่สุภาพรูจ้ กั เลือกใชก้ ระดาษและพิมพ์
เรยี บรอ้ ยสะอาดสะอา้ น จา่ หนา้ ซองเหมาะสม

๓. จดหมายราชการหรือหนงั สือราชการ เป็ นหนงั สือที่ติดต่อส่ือสาร
ระหว่างส่วนราชการหนึ่งกับอีกส่วนราชการหนึ่ง หรือติดต่อส่ือสาร
ระหว่างกระทรวง ทบวง กรมกอง เดียวกนั รวมทงั้ ติดต่อส่ือสารกบั
หน่วยงานเอกชนตา่ ง ๆ

๓๑

กลวิธีในการเขยี นจดหมาย

การเขียนจดหมายใหม้ ีประสิทธิผลนน้ั จะตอ้ งเขียนขอ้ ความใหช้ ัดเจน
ลายมือเรียบรอ้ ยอ่านง่าย สะดวกแก่ผูอ้ ่านและผูร้ ับจดหมาย การ เขียน
จดหมายจะบรรลุ จดุ ประสงค์ มี ๒ ประการ คอื

๑.เขียนโดยใชถ้ ้อยคาตรงไปตรงมาตอ้ งระวงั อย่าใหห้ ว้ นหรือกระด้าง
จนเกินไปควรใชถ้ อ้ ยคาสุภาพสละสลวยไม่ออ้ มคอ้ มเพื่อใหผ้ ูร้ บั จดหมายได้
ทราบเรื่องราวอย่างรวดเร็วและเขา้ ใจทนั ที สามารถปฏิบตั ิไดถ้ ูกตอ้ ง การ
เขียนแบบน้ีมกั ใชใ้ นจดหมายธุรกิจ และ จดหมายราชการ
๒.เขียนเชงิ สรา้ งสรรคผ์ เู้ ขยี นตอ้ งเลือกใชถ้ อ้ ยคาใหช้ วนอา่ นถา้ จาเป็ นตอ้ งสง่
ข่าวที่กระทกกระเทือนใจ เช่น แจง้ ข่าวรา้ ย จะตอ้ งระมดั ระวงั เป็ นพิเศษ เกิด
อุบตั ิเหตุ ควรส่งข่าวเป็ นขน้ั ๆ เพ่ือใหผ้ ูร้ บั เตรียมใจไดก้ ่อนท่ีจะไดร้ บั ข่าว
รา้ ยแรง การเขียนประเภทน้ีมกั ใชก้ บั จดหมายส่วนตวั ท่ีตอ้ งแสดงไมตรีจิต
เพ่ือรกั ษาความสมั พนั ธไ์ มใ่ หห้ า่ งเหนิ กนั

๓๒

มารยาทในการเขยี นจดหมาย

การเขียนจดหมายเป็ นเคร่ืองแสดงนิสยั ใจคอความรูส้ ึกนึกคิดของผูเ้ ขียน
ตลอดจนความรูส้ ึกท่ีมีต่อผูร้ บั วา่ เคารพนบั ถือ และใหเ้ กียรติผูร้ บั จดหมาย
หรือไม่ จงึ ควรมีมารยาทในการเขยี นจดหมาย ดงั น้ี

๑. ควรเลือกกระดาษและซองที่สะอาดเรียบรอ้ ย ไม่มีรอยยบั ถา้ เป็ นกระดาษ
สคี วรใชส้ สี ุภาพ และเขา้ กนั กบั ซอง ขนาดใหไ้ ดม้ าตรฐาน ไมค่ วรฉีกกระดาษจาก
สมุดมาใชเ้ ขียนจดหมาย ไมค่ วรเขียนลวดลายหรือถอ้ ยคาสานวนท่ีไมจ่ าเป็ นลง
บนซอง เพราะจะทาใหเ้ ลอะเทอะ

๒.ไม่ควรเขียนดว้ ยดินสอหรือหมึกสีแดง เพราะถือกนั วา่ เป็ นมารยาทไม่ดี
พยายามเขียนใหช้ ดั เจน ไม่ขีดฆ่าขูดลบ หรือเขียนทบั ลงไป วางรูปจดหมายให้
เหมาะสม

๓. ถา้ ตอ้ งการเขียนจดหมายติดต่อเป็ นทางการจะตอ้ งศึกษาใหด้ ีว่าควรจะ
เขียนถึงใครจึงจะถูกตอ้ งตามตาแหน่งหนา้ ท่ี ทง้ั น้ีเพื่อใหไ้ ดผ้ ลสาเร็จตาม
วตั ถุประสงค์

๔. เมื่อประสงค์จะเขียนถึงผูใ้ ด จะตอ้ งรูจ้ กั ใชค้ าข้ึนตน้ และคาลงทา้ ยให้
เหมาะสม ถา้ เขียนจดหมายราชการตอ้ งข้ึนตน้ และลงทา้ ยตามแบบแผนท่ี
กาหนดไวใ้ นหนงั สอื ระเบียบงานสารบรรณของสานกั นายกรฐั มนตรี

๓๓

กจิ กรรมทา้ ยบท

ใหน้ กั เรียนฝึ กเขียนจดหมายสว่ นตวั จานวน ๑ ฉบบั

.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................
.......................................................................................

บรรณนานุกรรม

กล่นิ คงเหมือนเพรช. (๒๕๓๔). ประวตั ิ ตานาน นิทาน ความ เช่ือเก่ียวกับช่ือบ้าน
นามเมืองจงั หวดั กระบี่. ศูนยว์ ฒั นธรรมจงั หวดั กระบี่.
อาภรณ์ อกุ ฤษณ.์ (๒๕๓๔). ขอ้ มูลวฒั นธรรมทอ้ งถ่ินกระบี่. ศูนยว์ ฒั นธรรมจงั หวดั
กระบ่ี.
ธิดารตั น์ ศรนี าค สมั ภาษณว์ นั ที่ 20 มกราคม 2564
อไุ ร บุญชู สมั ภาษณว์ นั ที่ 24 มกราคม 2564
เอยี ด ชา่ งเชาว์ สมั ภาษณว์ นั ท่ี 30 มกราคม 2564


Click to View FlipBook Version