The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

GM_รายงานผลภาพรวมชายแดนใต้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

GM_รายงานผลภาพรวมชายแดนใต้

GM_รายงานผลภาพรวมชายแดนใต้

รายงานสรุปภาพรวม การดำเนินงานประจำปี พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จ.ยะลา จ.ปัตตานี และ จ.นราธิวาส) สำนักงานบริหารพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา 2564 VISIT HERE EducationSandbox VISIT HERE EduSandbox.com


พ ื ้ นที ่ นวัตกรรมการศึกษา ในพ ื ้ นที ่ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ความเป็นมา พระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๒ เกิดขึ้นจากแนวความคิดหลักสองประการ คือ แนวคิดการ สนับสนุนการสร้างน วั ตกรรม เพื่อแก้ ไขปัญหาและเพิ่ม ประสิทธิภาพโดยการลองผิดลองถูกของผู้ปฏิบัติที่อยู่ในพื้นที่ ต่างๆ (Bottom-Up Solution) และแนวคิดการสร้างพื้นที่ที่มี ปัจจัยเกื้อหนุนให้ผู้ปฏิบัติสามารถทําการทดลองเพื่อสร้าง นวัตกรรมได้ (Sandbox) Sandbox หรือ กระบะทราย ถูกนําไปใช้เป็นคําอุปมาใน บริบทต่างๆ โดยปรากฏให้เห็นเด่นชัดเป็นพิเศษในบริบทของ เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งใช้คําว่า “กระบะทราย” (Sandbox) ในความหมายของกระบวนการทดลองแบบปิดที่ถูกสร้างขึ้นเพื่อ ให้ทําการทดลองกับเว็บไซต์หรือซอฟท์แวร์ได้อย่างปลอดภัย นอกเหนือไปจากน้ ัน คําว่า Sandbox ยังถูกนํามาเป็นคําอุปมาใน บริบทของการกํากับดูแลผู้ประกอบการเช่นกัน โดยมีจุดเริ่ มต้น มาจากภาคธุรกิจการเงิน (Fintech) ซึ่ง Sandbox ถูกใช้ในความ หมายของกลไกหรือกระบวนการกํากับดูแลที่สร้างพื้นที่ให้ผู้ ประกอบการ สามารถนํานวัตกรรมในการให้บริการทางการเงิน มาใช้ในขอบเขตที่จํากัด โดยผู้ประกอบการอาจต้องใช้มาตรการ บางอย่างเพื่อลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นต่อเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจและต่อผู้บริโภค เพื่อแลกกับการได้รับยกเว้นการ บังคับใช้กฎหมายที่เป็นอุปสรรคสําหรับการนํานวัตกรรมมาใช้ ในสินค้าหรือบริการจากจุดเริ่ มต้นดังกล่าว แนวคิดของการกํากับ ดูแลแบบ “กระบะทราย” จึงถูกนํามาขยายผลเพื่อปรับใช้กับ การกํากับดูแลในด้านอื่นๆ ซึ่งไม่จํากัดอยู่เฉพาะการกํากับดูแล ด้านเศรษฐกิจ แต่รวมถึงการกํากับดูแลด้านสังคมด้วย สืบเนื่องจากคณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา (กอปศ.) เห็นว่า ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๕๔ วรรคหน่ึง กําหนดให้รัฐต้องดําเนินการให้เด็กทุกคนได้รับ การศึกษาเป็นเวลาสิบสองปีต้ ังแต่ก่อนวัยเรียน จนจบการศึกษา ภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และที่ผ่านมาได้มี ความพยายามปฏิรูปการศึกษา แต่ยังประสบปัญหาและ อุปสรรคในการปฏิรูปหลายประการ กอปศ. จึงได้ดําเนินการ ศึกษาปัญหาคุณภาพการศึกษาไทย เพื่อนํามาวิเคราะห์ประกอบ การจัดทําร่างกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติและร่าง กฎหมายการศึกษาอื่นที่เกี่ยวข้อง รวมท้ ังได้ดําเนินการร่วมกับ กระทรวงศึกษาธิการในการวางแผนจัดทําโครงการนวัตกรรม ทางการศึกษาต่าง ๆ เช่น การจัดต้ ังสถาบันพัฒนาหลักสูตรและ การ เรียนการสอนและการจัดทําหลักสูตรแกนกลางที่มี สมรรถนะเป็นฐาน จากการศึกษาปัญหาคุณภาพการศึกษาไทยดังกล่าว กอปศ. เห็นว่าการปฏิรูปการศึกษาที่ผ่านมามีจุดอ่อนสําคัญ อย่างน้อยสามประการ ประการแรกยังไม่มีการบูรณาการการทํา งานระหว่างองค์กรที่ทําหน้าที่ในด้านหลักสูตร สื่อการสอน การ ทดสอบและการประเมินผล การบริหารบุคลากรครูการเงิน และ การบริหารจัดการ ประการที่สองยังขาดกลไกและกระบวนการ นํานโยบายไปปฏิบัติให้เป็นไปตามเจตนารมณ์และเป้าหมาย ของกฎหมาย เช่น กฎหมายกําหนดให้เขตพื้นที่การศึกษาทํา หน้าที่สนับสนุนการดําเนินงานของสถานศึกษาเพื่อให้เกิดการ กระจายอํานาจในการจัดการศึกษา แต่ในทางปฏิบัติเขตพื้นที่ การศึกษาหลายแห่งกลับมุ่งดําเนินนโยบายจากส่วนกลางแทน การสนับสนุนการดําเนินการของสถานศึกษา ทําให้การบริหาร การศึกษายังมีลักษณะสั่งการจากบนลงล่าง หรือปัญหาจาก การดําเนินงานของสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) ซึ่งนอกจากจะไม่ สะท้อนถึงคุณภาพของสถานศึกษาที่ได้รับการประเมิน ยังสร้าง ภาระการทําเอกสาร ส่งผลให้ครูมีเวลาสอนในห้องเรียนน้อยลง อีกด้วย และประการที่สามไม่มีกลไกให้สามารถนํานวัตกรรม ทางการศึกษาไปขยายผลเพื่อใช้กับสถานศึกษาอื่นได้ เพื่อให้คนรุ่นใหม่ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพอย่างท่ ัวถึงมี ทัศนคติการเรียนที่ดี (Attitude) มีทักษะสําคัญ (Skill) และมี ความรู้พื้นฐาน (Knowledge) พร้อมสําหรับการสร้างเศรษฐกิจ ไทย ๔.๐ และอุตสาหกรรมใหม่แห่งอนาคต (New S-Curve) จึงมี ความจําเป็นต้องสร้างกลไกให้เกิดนวัตกรรมทางการศึกษาที่ สามารถขยายผลนําไปใช้ได้อย่างท่ ัวถึง เช่น การจัดการเรียนรู้ แบบปฏิบัติจริง (Active Learning) ซึ่งส่งเสริมทักษะการทํางาน เป็นทีม การคิดสร้างสรรค์ และการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อน การ ออกแบบซอฟต์แวร์เพื่อการเรียนรู้การเขียนโปรแกรม (coding) หรือการสร้างชุมชนการเรียนรู้ของครูออนไลน์เพื่อเพิ่ มขีดความ สามารถของครู กอปศ. จึงเห็นว่า มีความจําเป็นต้องจัดต้ ัง “พื้นที่นวัตกรรมการศึกษา” เป็นพื้นที่การปฏิรูปที่สามารถแก้ไข ปัญหาได้อย่างเบ็ดเสร็จในพื้นที่และพัฒนานโยบายและแนว ปฏิบัติด้านต่างๆ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาและการขยายผล นวัตกรรม การเรียนรู้ในสถานศึกษาจนเกิดผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ ดีต่อนักเรียนและนําเสนอแนวปฏิบัติดังกล่าวสู่นโยบายการ ศึกษาแห่งชาติ ตัวอย่างการบริหารเขตพื้นที่การศึกษา รวมท้ ัง ขยายนวัตกรรมการเรียนรู้สู่สถานศึกษาอื่น สําหรับพื้นที่นวัตกรรมจังหวัดชายแดนภาคใต้ เดิม กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศให้ ๓ จังหวัดเป็น ๑ พื้นที่มี คณะกรรมการขับเคลื่อนฯ เพียง ๑ คณะ ต่อมาเมื่อพระราชบัญญัติ ประกาศใช้ได้มีการแยกเป็นรายจังหวัดเพื่อให้เกิดความคล่องตัว พร้อมท้ ังได้ดําเนินการสรรหาคณะกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่ นวัตกรรมการศึกษาของแต่ละจังหวัดตามเกณฑ์การสรรหาที่ คณะกรรมการนโยบายประกาศ ซึ่งคณะกรรมการนโยบายได้ ประกาศแต่งตงคณะกรรมการขับเค้ ั ลื่อนฯ ชุดใหม่ของทง้ ั๓ จังหวัด เมื่อวันที่ ๑๕ มี.ค. ๒๕๖๔ จึงถือเป็นจุดเริมต้นใหม่ ่ ที่แต่ละจังหวัด จะใช้พื้นที่เป็นฐานและคิดค้นพัฒนานวัตกรรมขับเคลื่อนคุณภาพ ของเด็กและเยาวชนตามอัตลักษณ์ท้องถิ่นและสอดคล้องกับ บริบทพื้นที่ เชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาประเทศ ร า ย ง า น ส รุ ป ภ า พ ร ว ม ก า ร ดํา เ นิ น ง า น ป ร ะ จ ําปี ๒๕๖๔ (จ.ยะลา จ.ปัตตานีและ จ.นราธิวาส)


ส่วนที่๑ ข้อมูลโรงเรียนนําร่อง จังหวัด อําเภอ รร. นราธิวาส ๒๘ เมืองนราธิวาส ๕ สุไหงโก-ลก ๔ บาเจาะ ๔ ระแงะ ๓ ยี่งอ ๒ จะแนะ ๒ ศรีสาคร ๑ สุไหงปาดี ๑ สุคิริน ๑ เจาะไอร้อง ๑ สุไหงโกลก ๑ รือเสาะ ๑ ตากใบ ๑ แว้ง ๑ ปัตตานี ๓๒ เมืองปัตตานี ๙ ยะรัง ๔ โคกโพธิ์๔ ยะหริ่ ง ๓ มายอ ๓ ปะนาเระ ๒ สายบุรี ๒ หนองจิก ๒ กะพ้อ ๑ ไม้แก่น ๑ แม่ลาน ๑ ยะลา ๓๐ เบตง ๗ เมืองยะลา ๖ ธารโต ๖ รามัน ๔ ยะหา ๒ กาบัง ๒ บันนังสตา ๒ กรงปินัง ๑ รวมท้ ัง ๓ จังหวัด ๙๐ จําแนกตามอําเภอในแต่ละจังหวัด จําแนกตามสังกัด ๖๖รร. สพฐ. จาก ๙๒๐ รร. ๑๙รร. สช. จาก ๓๒๓ รร. ๕รร. อปท. จาก ๔๕ รร. จํานวนโรงเรียนนําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ (จ.ยะลา จ.ปัตตานีและ จ.นราธิวาส) รวมท้ ังสิ้ น ๙๐ โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ ๒๑ ของ จํานวนโรงเรียนนําร่องในพื้นที่นวัตกรรมการศึกษาท้ ังประเทศ (จํานวน ๔๓๒ โรงเรียน) รวมท้ ัง ๓ จังหวัด มี๙๐รร. จังหวัด สังกัด ขนาดโรงเรียนแบ่งตามจํานวนนักเรียน (คน) รวม ๑ ถึง ๑๒๐ ๑๒๑ ถึง ๒๐๐ ๒๐๑ ถึง ๓๐๐ ๓๐๑ ถึง ๔๙๙ ๕๐๐ ถึง๑,๔๙๙ ๑,๕๐๐ ถึง ๒,๔๙๙ ๒,๕๐๐ ขึ้นไป นราธิวาส - ๖ ๓ ๗ ๙ ๒ ๑ ๒๘ สช. - - - ๑ ๔ - ๑ ๖ สพฐ. - ๖ ๒ ๖ ๓ ๒ - ๑๙ อปท. - - ๑ - ๒ - - ๓ ปัตตานี - ๔ ๕ ๙ ๗ ๔ ๓ ๓๒ สช. - - - ๒ ๕ ๑ ๓ ๑๑ สพฐ. - ๓ ๕ ๖ ๒ ๓ - ๑๙ อปท. - ๑ - ๑ - - - ๒ ยะลา ๔ ๘ ๓ ๗ ๕ ๓ - ๓๐ สช. - - - - - ๒ - ๒ สพฐ. ๔ ๘ ๓ ๗ ๕ ๑ - ๒๘ อปท. - - - - - - - - รวม ๔ ๑๘ ๑๑ ๒๓ ๒๑ ๙ ๔ ๙๐ ร้อยละ ๔.๔๔ ๒๐ ๑๒.๒๒ ๒๕.๕๖ ๒๓.๓๓ ๑๐ ๔.๔๔ ๑๐๐ ๑,๒๐๗ นราธิวาส ๑๐ % จาก ๑๑,๙๖๑ คน จํานวนครูในโรงเรียนนําร่อง รวม ๓ จังหวัด มี๓,๘๓๓ คน คิดเป็น ๑๒% ของทั้งหมด ๓๑,๕๘๖ คน* ๑,๕๙๔ ปัตตานี ๑๔ % จาก ๑๑,๒๙๐ คน ๑,๐๓๒ ยะลา ๑๒ % จาก ๘,๓๓๕ คน จํานวนนักเรียนในโรงเรียนนําร่อง รวม ๓ จังหวัด มี๖๓,๓๒๑ คน คิดเป็น ๑๔% ของทั้งหมด ๔๕๐,๙๔๙ คน* ๑๘,๘๒๕ นราธิวาส ๑๑ % จาก ๑๖๕,๗๔๗ คน ๒๙,๘๐๗ ปัตตานี ๑๘ % จาก ๑๖๖,๘๗๘ คน ๑๔,๖๘๙ ยะลา ๑๒ % จาก ๑๑๘,๓๒๔ คน ๒๘ นราธิวาส ๖ % จาก ๔๖๘ โรงเรียน จํานวนโรงเรียนนําร่อง รวม ๓ จังหวัด มี๙๐ โรงเรียน คิดเป็น ๗% ของทั้งหมด ๑,๒๘๘ โรงเรียน ๓๒ ปัตตานี ๗ % จาก ๔๘๓ โรงเรียน ๓๐ ยะลา ๙ % จาก ๓๓๗ โรงเรียน ๗% ของโรงเรียนท้ ังหมด ทุกสังกัดใน ๓ จังหวัด *สถิติจํานวนครูนักเรียน และโรงเรียน อ้างอิงข้อมูลจากศูนย์ข้อมูลการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ที่เผยแพร่ล่าสุด “รายชื่อสถานศึกษา ในระบบ นอกระบบ จําแนกรายสังกัด รายจังหวัด ปีการศึกษา 2563 [ประมวลผล ณ วันที่ 25 มี.ค. 63] บนเว็บไซต์http://www.mis.moe.go.th


๑. กำĀนดยุทธýาÿตร์และแผนการดำเนินงานเพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นüัตกรรมการýึกþา พื้นที่นüัตกรรมการýึกþาทั้งÿามจังĀüัด ได้มีการ กำĀนดยุทธýาÿตร์เพื่อขับเคลื่อนพื้นที่นüัตกรรมการýึกþา โดยมีจุดมุ่งเน้นที่มีคüามÿอดคล้องกัน ทั้งในด้านการÿร้างภาคี เครือข่ายคüามร่üมมือจากทุกภาคÿ่üนในพื้นที่ การพัฒนา ÿมรรถนะในการบริĀารจัดการของผู้บริĀาร การจัดการเรียนรู้ ของครูและในการÿนับÿนุนการเรียนรู้ของบุคลากรทาง การýึกþา รüมถึงการขับเคลื่อนด้านอื่น ๆ ตามบริบทĀรือ จุดมุ่งเน้นของแต่ละจังĀüัด ดังเช่นยุทธýาÿตร์ของพื้นที่ นüัตกรรมการýึกþาจังĀüัดยะลา มีการÿ่งเÿริมและÿนับÿนุน Āน่üยงานทางการýึกþาในการÿ่งเÿริมÿถานýึกþานำร่อง เพื่อใĀ้เป็นÿถานýึกþาต้นแบบ ÿำĀรับจังĀüัดปัตตานี มีการ ÿ่งเÿริมและÿนับÿนุนการเข้าถึงพื้นที่เรียนรู้ (Co-working space) และ Digital learning Platform ซึ่งจะเชื่อมโยงไปถึง การÿร้างช่องทางการเข้าถึงการýึกþาอย่างเท่าเทียมและทั่üถึง และจังĀüัดนราธิüาÿ มีการพัฒนาĀลักÿูตรฐานÿมรรถนะและ จัดการเรียนรู้อย่างมีคüามĀมาย รายละเอียดดังตาราง จ.ยะลา จ.ปัตตานี จ.นราธิüาÿ ๑. ÿ่งเÿริมÿนับÿนุนÿถานýึกþานำร่อง ใĀ้เป็นÿถานýึกþาต้นแบบ ๒. ÿ่งเÿริมÿนับÿนุนĀน่üยงานทาง การýึกþาในการÿ่งเÿริมÿถานýึกþา นำร่อง ๓. ÿร้างภาคีเครือข่ายคüามร่üมมือ ของĀน่üยงานทางการýึกþาและ ÿถานýึกþานำร่องในการจัดการýึกþา ๑. ÿ่งเÿริมและÿนับÿนุนการเข้าถึงพื้นที่ เรียนรู้ (Co-working space) และ Digital learning Platform ๒. ÿร้างช่องทางการเข้าถึงการýึกþา ทั้งด้านโอกาÿและคุณภาพอย่างเท่า เทียมและทั่üถึง ๓. พัฒนาÿมรรถนะด้านการÿอนของครู ยุคการýึกþา ๔.๐ ๑. พัฒนาĀลักÿูตรฐานÿมรรถนะและ จัดการเรียนรู้อย่างมีคüามĀมาย ๒. พัฒนาÿมรรถนะผู้บริĀาร ครู และ บุคลากรทางการýึกþามีÿมรรถนะ ในการบริĀารจัดการ การจัดการ เรียนรู้ และÿนับÿนุนการเรียนรู้ ๓. ÿร้างภาคีเครือข่ายคüามร่üมมือ ในการจัดการýึกþาจากทุกภาคÿ่üน ส่วนท ี่๒ ภาพรวมการขบัเคลอื่นงานพื้นทนี่วตักรรมการศกึษา ในพื้นทจี่งัหวดัชายแดนภาคใต้


๒. แต่งตั้งอนุกรรมการเพื่อทำการแทนĀรือปฏิบัติงานที่คณะกรรมการขับเคลื่อนมอบĀมาย พื้นที่นüัตกรรมการýึกþาทั้งÿามจังĀüัด ได้มีการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อทำการแทนĀรือปฏิบัติงานตามที่ คณะกรรมการขับเคลื่อนมอบĀมาย ในการขับเคลื่อนการบริĀารงานด้านต่าง ๆ ของแต่ละจังĀüัด เพื่อใĀ้เกิดคüามคล่องตัüยิ่งขึ้น เช่น ด้านงบประมาณ ด้านüิชาการ ด้านบุคคล การติดตามการดำเนินงานตามยุทธýาÿตร์ เป็นต้น รายละเอียดดังตาราง จ.ยะลา จ.ปัตตานี จ.นราธิüาÿ ๑. คณะอนุกรรมการด้านอำนüยการบริĀาร และÿ่งเÿริมการขับเคลื่อน ๒. คณะอนุกรรมการฝ่ายยุทธýาÿตร์ แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ๓. คณะอนุกรรมการฝ่ายüิชาการ ๔. คณะอนุกรรมการฝ่ายพัฒนาýักยภาพครู และบุคลากรทางด้านการýึกþา ๕. คณะอนุกรรมการÿร้างการรับรู้และÿร้าง กลไกการมีÿ่üนร่üม ๑. คณะอนุกรรมการด้านนโยบายยุทธýาÿตร์ ติดตามและประเมินผล ๒. คณะอนุกรรมการด้านการÿ่งเÿริม การบริĀารงานบุคคล ๓. คณะอนุกรรมการด้านกฎĀมาย ๔. คณะอนุกรรมการด้านการÿ่งเÿริม การบริĀารüิชาการ ๕. คณะอนุกรรมการด้านการÿ่งเÿริม การบริĀารงบประมาณ ๖. คณะอนุกรรมการด้านการÿื่อÿารและ การมีÿ่üนร่üม ๑. คณะอนุกรรมการด้านนโยบาย ยุทธýาÿตร์ ติดตาม และประเมินผล ๒. คณะอนุกรรมการด้านÿ่งเÿริม การบริĀารüิชาการ ๓. คณะอนุกรรมการด้านÿ่งเÿริม การบริĀารบุคคล ๔. คณะอนุกรรมการด้านÿ่งเÿริม การบริĀารงบประมาณ ๓. ประÿานใĀ้Āน่üยงานทางการýึกþา องค์กรปกครองÿ่üนท้องถิ่น Āน่üยงานอื่นของรัฐและเอกชน ร่üมดำเนินการขับเคลื่อนพื้นที่นüัตกรรมการýึกþาตามยุทธýาÿตร์และแผนงาน พื้นที่นüัตกรรมการýึกþาทั้งÿามจังĀüัด ได้มีการ ประÿานใĀ้Āน่üยงานทางการýึกþา ĀรือĀน่üยงานอื่น ๆ ทั้งใน พื้นที่และนอกพื้นที่ ในการดำเนินการร่üมกันเพื่อขับเคลื่อน พื้นที่นüัตกรรมการýึกþาตามยุทธýาÿตร์และแผนการ ดำเนินงาน โดยพื้นที่นüัตกรรมการýึกþาจังĀüัดยะลาและ จังĀüัดปัตตานี มีĀน่üยงานร่üมขับเคลื่อนร่üมกัน คือ มĀาüิทยาลัยÿงขลานครินทร์ üิทยาเขตปัตตานีและ มĀาüิทยาลัยฟาฏอนีนอกจากนี้จังĀüัดยะลายังมีมĀาüิทยาลัย ราชภัฏยะลา, มูลนิธิÿดýรี ÿฤþดิ์üงý์, และมĀาüิทยาลัยทักþิณ ร่üมขับเคลื่อน ÿำĀรับจังĀüัดปัตตานี มีĀน่üยงานร่üมขับเคลื่อน คือ มĀาüิทยาลัยÿงขลานครินทร์ üิทยาเขตĀาดใĀญ่ และจังĀüัดพื้นที่นüัตกรรมการýึกþาที่ต่างออกไป ÿ่üนจังĀüัดนราธิüาÿ มีĀน่üยงานร่üมขับเคลื่อน ได้แก่ มĀาüิทยาลัยเกþตรýาÿตร์ มĀาüิทยาลัยýรีนครินทรüิโรฒ องครักþ์ มĀาüิทยาลัยทักþิณ มĀาüิทยาลัยนราธิüาÿ ราชนครินทร์ üิทยาลัยชุมชนนราธิüาÿ และüิทยาลัยอาชีüýึกþา ๔. นำĀลักÿูตรแกนกลางทางการýึกþาขั้นพื้นฐานตามกฎĀมายü่าด้üยการýึกþาแĀ่งชาติไปปรับใช้ กับการจัดการýึกþาในÿถานนำร่องใĀ้เĀมาะÿมกับพื้นที่นüัตกรรมการýึกþา พื้นที่นüัตกรรมการýึกþาจังĀüัดยะลา ปัตตานี และ นราธิüาÿ ได้เริ่มดำเนินการจัดทำĀลักÿูตรของจังĀüัดที่อิง Āลักÿูตรแกนกลางการýึกþาขั้นพื้นฐาน พุทธýักราช ๒๕๕๑ เพื่อนำมาใช้ปรับเป็นĀลักÿูตรของÿถานýึกþานำร่อง ทั้งนี้ ในระดับÿถานýึกþา โรงเรียนนำร่องมากกü่าร้อยละ ๘๗ ได้ดำเนินการปรับปรุงĀลักÿูตรใĀ้มีคüามเĀมาะÿมกับบริบท เรียบร้อยแล้ü โดยจังĀüัดนราธิüาÿได้ผ่านคüามเĀ็นชอบ จากคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ แล้ü ÿ่üน จ.ยะลาและ จ.ปัตตานี อยู่ระĀü่างการเÿนอต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนฯ เพื่อขอ คüามเĀ็นชอบ ทั้งนี้ มีโรงเรียนยืนยันเข้าร่üมโครงการüิจัย กระบüนการ พัฒนาĀลักÿูตรÿถานýึกþาฐานÿมรรถนะของ ÿถานýึกþานำร่องในพื้นที่นüัตกรรมการýึกþา รüมทั้งÿิ้น จำนüน ๕๐ โรงเรียน (ปัตตานี จำนüน ๑๗ โรงเรียน, ยะลา จำนüน ๒๗ โรงเรียน และนราธิüาÿ จำนüน ๖ โรงเรียน)


๕.จัดใĀ้มีการออกแบบการทดÿอบผู้เรียนเพื่อüัดผลÿัมฤทธิ์ทางการýึกþาในพื้นที่นüัตกรรมการýึกþา พื้นที่นüัตกรรมการýึกþาจังĀüัดนราธิüาÿ ได้ออกแบบการทดÿอบผู้เรียนเพื่อüัดผลÿัมฤทธิ์ทางการýึกþา โดยมีมĀาüิทยาลัยเกþตรýาÿตร์ช่üยในการออกแบบเครื่องมือ ในการทดÿอบผู้เรียน โดยใช้การออกแบบการüัดและ ประเมินผลตามĀลักÿูตรฐานÿมรรถนะโดยใช้กระบüนการ จัดการเรียนรู้แบบ phenomenon based learning และ ใช้กระบüนการüัดทักþะ ๘C ÿ่üนพื้นที่นüัตกรรมการýึกþา จังĀüัดยะลาและจังĀüัดปัตตานี อยู่ในระĀü่างการพัฒนา เครื่องมือüัดผลÿัมฤทธิ์ทางการýึกþาเพื่อใช้ทดÿอบผู้เรียน เพื่อใĀ้ได้เครื่องมือที่เĀมาะÿมกับĀลักÿูตรที่ปรับปรุง ๖. จัดใĀ้มีการประเมินผลการจัดการýึกþาของÿถานýึกþานำร่องพื้นที่นüัตกรรมการýึกþา จากการที่Āลักÿูตรของโรงเรียนนำร่องในพื้นที่ นüัตกรรมการýึกþาจังĀüัดนราธิüาÿ ได้รับคüามเĀ็นชอบจาก คณะกรรมการขับเคลื่อนฯ แล้üนั้น จึงได้มีการจัดการเตรียม อบรมแนüทางการนิเทý ติดตามและประเมินผลการใช้ Āลักÿูตรของÿถานýึกþานำร่องพื้นที่นüัตกรรมการýึกþา โดยดำเนินการเพื่อเÿริมÿร้างคüามรู้คüามเข้าใจใĀ้ผู้บริĀาร ÿถานýึกþา ครู และผู้เกี่ยüข้อง ครอบคลุมตั้งแต่การบริĀาร จัดการĀลักÿูตร กระบüนการจัดการเรียนรู้ใĀ้มีประÿิทธิภาพ มุ่งüิเคราะĀ์ÿภาพปัญĀาการดำเนินการ เพื่อนำมาÿู่การพัฒนา Āลักÿูตรÿถานýึกþานำร่องในพื้นที่นüัตกรรมการýึกþาจังĀüัด นราธิüาÿ มีการüางแผนการดำเนินการนิเทýตามÿภาพปัญĀา และบริบทของÿถานýึกþา และเพื่อใĀ้ผู้บริĀารÿถานýึกþา ครูและผู้เกี่ยüข้องนำผลการนิเทýไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนา Āลักÿูตรÿถานýึกþาและใช้เป็นÿารÿนเทýเพื่อการพัฒนา คุณภาพการýึกþาในภาพรüมของจังĀüัดต่อไป


๗. การÿ่งเÿริม ÿนับÿนุน เตรียมคüามพร้อม และใĀ้คüามช่üยเĀลือÿถานýึกþานำร่องเพื่อเพิ่ม ขีดคüามÿามารถในการจัดการเรียนการÿอนและเกิดการพัฒนาĀรือนำนüัตกรรมการýึกþาไปใช้ ในภาพรüมของทั้งÿามจังĀüัดได้ดำเนินการใน ๓ รูปแบบที่มีลักþณะคล้ายกัน ได้แก่ ๑. การตั้งคณะทำงาน ▪ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการฝ่ายพัฒนาýักยภาพครูและ บุคลากรทางด้านการýึกþา ▪ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่นüัตกรรม การýึกþาจังĀüัด ๒. การประชุม/การประชุมเชิงปฏิบัติการ ▪ โครงการอบรมครูด้านการใช้ÿื่อมัลติมีเดียเพื่อพัฒนา การจัดการเรียนรู้ ▪ โครงการพัฒนาครูใĀ้มีทักþะการÿอนด้านภาþาไทย และภาþาอังกฤþ ▪ โครงการพัฒนาการÿอนของครูด้านทักþะการคิดขั้นÿูง ▪ โครงการพัฒนาครูด้านการÿอนüิทยาการคำนüณ, เข้าค่าย, ýึกþาดูงาน ▪ การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาการใช้Āลักÿูตรการ จัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ▪ การประชุมผู้อำนüยการกลุ่ม เพื่อüางแผนการบริĀาร งบประมาณ และขับเคลื่อนโครงการภายใต้กิจกรรมที่ กำĀนด ▪ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการÿร้างคüามรู้คüามเข้าใจในแนü ทางการปรับĀลักÿูตรกรอบร่างĀลักÿูตร Pattani Heritage ▪ การประชุมพิจารณาจัดÿรรงบประมาณแก่ÿถานýึกþา นำร่องพื้นที่นüัตกรรมการýึกþาจังĀüัดปัตตานี ÿำนักงานýึกþาธิการจังĀüัดปัตตานี ภายใต้การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไüรัÿโคโรนา (Covid-๑๙) ▪ ประชุมเชิงปฏิบัติการผลิตÿื่อเพื่อประชาÿัมพันธ์ ▪ การจัดทำข้อมูลÿารÿนเทýของพื้นที่นüัตกรรม การýึกþาจังĀüัด ▪ การอบรมเชิงปฏิบัติการการปรับĀลักÿูตรÿถานýึกþาไป ปรับใช้กับการจัดการýึกþาในÿถานýึกþานำร่อง ใĀ้เĀมาะÿมกับพื้นที่นüัตกรรมการýึกþา ▪ อบรมเชิงปฏิบัติการÿถานýึกþานำร่องพื้นที่นüัตกรรม การýึกþาเÿüนาทางüิชาการÿืบค้นต้นทุนนüัตกรรม การýึกþาของÿถานýึกþานำร่อง ประชุมเชิงปฏิบัติการ ÿร้างคüามรู้คüามเข้าใจ เรื่อง Āลักÿูตรฐานÿมรรถนะ และการüัดผล ประเมินผลของÿถานýึกþานำร่องพื้นที่ นüัตกรรมการýึกþา ๓. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ▪ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การจัดกิจกรรมการเรียนการ ÿอนในÿถานการณ์โคüิด ๑๙ กับพื้นที่ต้นแบบ (จังĀüัด ÿตูล) ระĀü่างผู้บริĀารและครูที่รับผิดชอบงานพื้นที่ นüัตกรรมในÿถานýึกþานำร่องพื้นที่นüัตกรรม การýึกþา ▪ การเÿนอข้อมูลÿภาพปัญĀาอุปÿรรคและข้อเÿนอแนüทาง การเพิ่มคüามอิÿระและคüามคล่องตัüในการบริĀาร งานบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการýึกþา ใĀ้เกิดคüามเĀมาะÿมกับการบริĀารงานของÿถานýึกþา นำร่องพื้นที่นüัตกรรมการýึกþา ▪ การจัดกิจกรรมüิชาการออนไลน์ Virtual Nara Academic Fair ๒๐๒๑ ๔. โครงการüิจัย/โครงการพัฒนาýักยภาพ ▪ โครงการüิจัยการขับเคลื่อนโรงเรียนนüัตกรรมการýึกþา ▪ การพัฒนาÿมรรถนะýึกþานิเทýก์ การพัฒนาเครื่องมือ ติดตามและประเมินผล ▪ ÿนับÿนุนงบประมาณแก่ÿถานýึกþานำร่องในการ ขับเคลื่อนนüัตกรรมการýึกþา และในการดำเนินการ เพื่อใĀ้ÿถานýึกþาจัดทำและผลิตÿื่อเพื่อนำเÿนอผล การดำเนินงานของÿถานýึกþา ▪ การพัฒนาĀลักÿูตรÿถานýึกþาฐานÿมรรถนะ ▪ การพัฒนาเทคนิคการตัดต่อüีดีโอเพื่อการจัดการเรียนรู้ ของครูผู้ÿอน


ส่วนท ี่๓ ผลการด าเนินงาน ด้านที่ ๑ คิดค้นและพัฒนานüัตกรรมการýึกþาเพื่อยกระดับผลÿัมฤทธิ์ทางการýึกþาของผู้เรียน ÿถานýึกþานำร่องในพื้นที่นüัตกรรมการýึกþาทั้ง ๓ จังĀüัด มีการคิดค้นและพัฒนานüัตกรรมการýึกþาและการเรียนรู้ เพื่อยกระดับผลÿัมฤทธิ์ทางการýึกþาของผู้เรียน ที่ÿอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ดังรายละเอียดตามที่ปรากฏตามตาราง จังĀüัดยะลา ▪ IS บูรณนาการข้ามÿาระ ▪ แดคูพาจงานĀัตถýิลป์ÿ่งเÿริมคüามคิดÿร้างÿรรค์ ÿร้างอาชีพเÿริมด้üยการเรียนรู้แบบ Active learning ▪ ภูมิปัญญาจาĀนันÿู่อาชีพชุมชน ▪ การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการÿู่การพัฒนาทักþะอาชีพ ผ่านกระบüนการเรียนรู้แบบ Active Learning ▪ เชื่อมโลกพัฒนาภาþาอังกฤþ skype for the classroom ▪ การบูรณาการการเรียนรู้โดยใช้แĀล่งเรียนรู้ก้าüทัน ๙ คüามพอเพียง (LFC BMW SHM ) ▪ นüัตกรรม “Active ETQ” ▪ นüัตกรรมการจัดการเรียนการÿอนแบบ PTS (PONGTA SCHOOL) ▪ ÿะเอะ 3G มีÿุข ▪ บ้านนักüิทยาýาÿตร์น้อย ▪ การÿ่งเÿริมการอ่านและเขียนภาþาไทย ป. ๑ ▪ โครงงานฐานüิจัย ▪ ภูมิปัญญาÿู่อาชีพโดยเน้นการเรียนการÿอนแบบโครงงานอาชีพ ▪ การเรียนรู้บูรณาการแบบโครงงาน ▪ การบริĀารÿถานýึกþาด้üยรูปแบบ "J-Prapat@tanoh Model" ▪ แก้ไขปัญĀาอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ โดยใช้บันได ๔ ขั้น ▪ ๑ Ā้องเรียน ๑ อาชีพ ▪ บันได ๕ ขั้น ▪ STN AL ▪ การจัดการเรียนการÿอนแบบ Dynamic School ▪ JUPO MODEL ▪ โครงการเรียนรู้จากท้องถิ่น ▪ นüัตกรรมการบริĀารจัดการปฐมüัยด้üย PECH MODEL ▪ การบริĀารÿถานýึกþาคุณภาพด้üย DEKWANG MODEL ▪ Coding For STEM ▪ การยกระดับผลÿัมฤทธิ์NT O-net ด้üยรูปแบบ SMITT ▪ รูปแบบโครงงานอาชีพระดับชั้นเรียน ▪ การใช้แบบฝึกทักþะพาเพลิน ▪ การÿอน Open Approach ▪ พี่ÿอนน้อง ÿู่ÿตรีต้นแบบ ▪ MORALITY MODEL ▪ เรียนรู้ทักþะอาชีพด้üยกิจกรรมตลาดนัดโรงเรียน จังĀüัดปัตตานี ▪ Open Approach /Lesson Study ▪ Phenomenal Base Learning ▪ Project based Learning ▪ ๕ steps Learning ▪ STEM Project based Learning ▪ Thematic Learning ▪ Team Learning and Doing ▪ QAIN Model (กออิน โมเดล) ▪ PWCN Model ▪ BMT Model ▪ ช้างน้อยร้อยภาþากับลิฟต์ ๖ ตัü ▪ การÿอนแบบทüิ-พĀุภาþา ▪ คุณธรรมนำเด็กไทยÿู่คüามพอเพียง ▪ การÿอนตามĀลักปรัชญาของเýรþฐกิจพอเพียง จังĀüัดนราธิüาÿ ▪ SK sandbox ▪ การเรียนรู้ตลาดนัดÿองแผ่นดินไทย-มาเลย์ ในรูปแบบ 4P MODEL ▪ üิชาบูรณาการ บาตูýึกþา “ýาÿนาดี üิชาการเด่น เก่งอาชีพ” ▪ อัตตัรบียะตุลอิÿลามียะĀ์ ▪ PASS MODEL


ด้านที่ ๒ การÿร้างและพัฒนากลไกในการจัดการýึกþาร่üมกันระĀü่างภาครัฐ องค์กรปกครองÿ่üนท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาชนÿังคมในพื้นที่นüัตกรรมการýึกþา ▪ เปิดโอกาÿใĀ้ทุกภาคÿ่üนมาร่üมการขับเคลื่อน งานผ่านกลไกการเป็นคณะอนุกรรมการฯ กล่าüคือ ทั้ง ๓ จังĀüัด มีการดำเนินการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนพื้นที่ นüัตกรรมการýึกþา โดยมีการแต่งตั้งผู้มีÿ่üนเกี่ยüข้อง กระจาย ไปในทุกภาคÿ่üนต่าง ๆ ทั้งบุคคลจากภาครัฐและตัüแทน บุคคลจากภาคเอกชน ได้มีโอกาÿเข้ามาร่ü มเป็น คณะอนุกรรมการฯ ซึ่งทำใĀ้เกิดการรับผิดชอบงานและ เกิดการบูรณาการคüามร่üมมือระĀü่างĀน่üยงานในการ ขับเคลื่อนงานพื้นที่นüัตกรรมการýึกþาของจังĀüัด ▪ จัดทำเü็บไซต์และเพจเฟซุ๊กเพื่อเป็นฐานข้อมูล และช่องทางในการเผยแพร่ประชาÿัมพันธ์การดำเนินงาน พื้นที่นüัตกรรมการýึกþาและÿร้างการมีÿ่üนร่üมและการรับรู้ ร่üมกันของทุกภาคÿ่üน เช่น เพจ Yala Education Sandbox : YES, เพจพื้นที่นüัตกรรมการýึกþาจังĀüัด นราธิüาÿ, www.sandbox.ptnpeo.go.th ▪ จัดเÿüนา ดำเนินการÿร้างกลไกการมีÿ่üนร่üม ผ่านการจัดเÿüนา เปิดรับฟังคüามคิดเĀ็นผ่านเüทีÿาธารณะ เช่น การจัดเÿüนาการปรับกระบüนทัýน์ใĀม่ในการจัดการ เรียนรู้ อันเป็นกิจกรรมที่ÿามารถดึงการมีÿ่üนร่üม ÿร้างใĀ้ เกิดคüามรู้ÿึกแĀ่งการเป็นเจ้าภาพในการร่üมดำเนินการจัด การýึกþา อีกทั้งยังเป็นการÿร้างการรับรู้ต่องานพื้นที่ นüัตกรรมการýึกþาใĀ้แก่ผู้ที่มีÿ่üนได้ÿ่üนเÿีย อันได้แก่ ผู้บริĀารโรงเรียน ครู บุคลากรในโรงเรียนนำร่อง กรรมการ ÿถานýึกþาขั้นพื้นฐาน และตัüแทนนักเรียน รüมถึง ผู้เกี่ยüข้องทั้งในÿำนักงานýึกþาธิการจังĀüัด ÿำนักงาน การýึกþาเอกชน ÿำนักงานเขตพื้นที่การýึกþา องค์การ บริĀารÿ่üนจังĀüัด องค์กรปกครองÿ่üนท้องถิ่น และ ภาคเอกชน ซึ่งมีการระดมคüามคิดเĀ็นจากภาคประชาÿังคม ในการกำกับทิýทางการพัฒนาคุณภาพการจัดการýึกþา โดยยึดĀลักการมีÿ่üนร่üมในการพัฒนาโรงเรียนนำร่องใน รูปแบบของเครือข่ายคüามร่üมมือจากทุกภาคÿ่üน อันเป็นÿิ่งที่ พิÿูจน์ใĀ้เĀ็นü่าÿามารถÿร้างกลไกในการจัดการýึกþาร่üมกัน ระĀü่างภาครัฐ องค์กรปกครองÿ่üนท้องถิ่นภาคเอกชน และ ภาคประชาชนÿังคมในพื้นที่นüัตกรรมการýึกþาได้เป็นอย่างดี


นักเรียนสุดเจ๋งผุดไอเดีย ประดิษฐ์เครื่องกดเจลแอลกอฮอล์อัตโนมัติ ต้านไวรัส “COVID–19” อนามัยโรงเรียนร่วมกับครูวิทยาศาสตร์และครู คอมพิวเตอร์ ร่วมออกแบบนําความรู้ STEM พัฒนาสร้างเครื่องกดเจล แอลกอฮอล์อัตโนมัติ เพื่อให้นักเรียนได้ลงมือทําและรู้จักช่วยเหลือผู้อื่น โดยใช้องค์ความรู้ของตนเอง โรงเรียนบ้านอัยเยอร์เวง จังหวัดยะลา กรณีตัวอย่าง การคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและ การเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียน https://www.edusandbox.com/28th-mar-alcoholgel-covid19 การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการสู่การพัฒนาทักษะอาชีพ ผ่านกระบวนการ เรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) ที่ใช้ภูมิปัญญาและพันธุ์กล้วยในท้องถิ่ น ในการออกแบบหลักสูตรบูรณาการ 8 กลุ่มสาระ เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการ ลงมือทําได้ฝึกการทํางานและการประกอบอาชีพต้ ังแต่ปลูกจนถึงแปรรูปผลผลิต มุ่งหวังให้นักเรียนเชื่อมโยงองค์ความรู้นําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน โรงเรียนบ้านบาตัน จังหวัดยะลา https://www.edusandbox.com/14th-jul-banbatan-school เดคูพาจงานหัตถศิลป์ เรียนรู้จากการลงมือทํา” เพื่อส่งเสริมความคิด สร้างสรรค์ สร้างอาชีพเสริม ด้วยการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยนํา วัสดุเหลือใช้มาเพิ่ มมูลค่า อีกท้ ังให้นักเรียนรู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์ใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่าและเข้าใจในการลดภาวะโลกร้อน โรงเรียนบ้านปอเยาะ จังหวัดยะลา https://www.edusandbox.com/9th-aug-2021-ban-poyok-school เรียนรู้จากการลงมือทําอย่างมีความหมาย ด้วยนวัตกรรมการจัดการเรียนแบบ PTS Model (PONGTA SCHOOL) เพื่อพัฒนาผู้เรียนผ่านการลงมือปฏิบัติด้วย ตนเอง ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมายและเกิดทักษะศตวรรษที่ 21 สามารถนําสิ่ งที่ได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวัน ผ่านกิจกรรมการเรียน การสอน ผ่านการจัดการเรียน (P) Project base Learning: PBL, (T) Total Physical Response: TPR, (S) Scientist house โรงบ้านปงตา จังหวัดยะลา https://www.edusandbox.com/27th-jul-2021-ban-pongta-school สํานั ก ง า น บ ริ ห า รพื้นที่น วั ต ก ร ร ม ก า ร ศึ ก ษ า www.EduSandbox.com


กรณีตัวอย่าง การคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียน การเรียนการสอนที่โรงเรียนบ้านระแว้งน้ ัน ได้ให้อิสระ เป็นการเรียนการสอน แบบ active learning ในรูปแบบใดก็ได้และมีการนําหลักกระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้ นตอน (5 STEPs) มาปรับใช้ซึ่งตอบโจทย์การเรียนการสอนในโรงเรียน เพราะ นักเรียนต้องตอบคําถาม เป็นการเรียนการสอนที่นักเรียนต้องฝึกทําด้วยตัวเอง ตรงตามจุดมุ่งเน้นในการทําให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตัวเองให้มากที่สุด โรงเรียนบ้านระแว้ง จังหวัดปัตตานี https://www.edusandbox.com/24th-aug-2021-ban-rawaeng-school การจัดการเรียนการสอนแบบทวิภาษา โดยเน้นไปที่ช่วงรอยต่อใน ระหว่างระดับชั้ นอนุบาลและประถมศึกษาปีที่ 1 ด้วยการใช้ภาษามลายู ถิ่ นในการสื่อสารก่อนเชื่อมโยงไปสู่การเรียนรู้ภาษาไทยอย่างเป็นขั้ นตอน ส่งผลให้นักเรียนมีพื้นฐานทางภาษาไทยที่ม่ ันคงขึ้น และเป็นที่ยอมรับ ของผู้ปกครอง โรงเรียนบ้านประจัน จังหวัดปัตตานี https://www.edusandbox.com/28th-jun-banprajan-school จัดทําและพัฒนาหลักสูตร โดยใช้พื้นฐานจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้ นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นํามาปรับให้เป็นรูปแบบการบริหารจัดการ หลักสูตรสู่การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ ซึ่งโรงเรียนมีการสอนท้ ังแบบ Content-Based และการสอนเชิงบูรณาการ หรือสอนโดยการเน้นการปฏิบัติ ที่ทําให้เกิดสมรรถนะ โดยใช้หลักการ Phenomenon-Based Learning (PhBL) ซึ่งถือเป็นจุดเด่นของโรงเรียน โรงเรียนบ้านคาโต จังหวัดปัตตานี https://www.edusandbox.com/2nd-aug-2021-bankato-school จัดทําหลักสูตรอิงสมรรถนะ ซึ่งนําการเรียนรู้แบบ Phenomenon-based learning (PhBL) และ Project Based learning (PBL) มาเชื่อมโยงเข้าด้วยกัน โดยได้หยิบยกเรื่องของนาเกลือมาเป็นหลักสูตร ให้ชื่อว่า “นาเกลือแห่ง การเรียนรู้สู่หลักสูตรบูรณาการอิงสมรรถนะ” เป็นหลักสูตรที่ทางโรงเรียน ต้องการบูรณาการวิชาการที่เกี่ยวข้องในด้านน้ ันๆ เพื่อให้มีกระบวนการจัดการ เรียนรู้ที่หลากหลาย เน้นให้ผู้เรียนฝึกทักษะวิชาชีพผ่านการปฏิบัติจริง โรงเรียนบ้านตันหยงลุโละ จังหวัดปัตตานี https://www.edusandbox.com/28th-jun-bantanyongluloh-school สํานั ก ง า น บ ริ ห า รพื้นที่น วั ต ก ร ร ม ก า ร ศึ ก ษ า www.EduSandbox.com


กรณีตัวอย่าง การคิดค้นและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาและการเรียนรู้เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาของผู้เรียน วิชาบูรณาการ: บาตูศึกษา “ศาสนาดีวิชาการเด่น เก่งอาชีพ” จัดการบูรณาการ วิชาการงานและอาชีพและหลายๆ วิชาที่ต้องติดตัวผู้เรียนเพื่อเพิ่ มทักษะที่ จําเป็นในศตวรรษที่ 21 ให้กับผู้เรียน เกิดจากการวิเคราะห์ความเป็นตัวตนของ โรงเรียนหาจุดเด่นจุดด้อย และตีโจทย์ว่าโรงเรียนต้องการพัฒนาผู้เรียนทางด้าน ใด สนับสนุนให้มีความสามารถเฉพาะตัว เป็นวิชาการเฉพาะด้าน จนนําไปสู่การ จัดการเรียนการสอนบนหลักสูตรฐานสมรรถนะวิชาบูรณาการดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนบ้านบาตูมิตรภาพที่ 66 จังหวัดนราธิวาส www.edusandbox.com/9th-aug-2021-bannatu-school SK Sandbox การบริหารจัดการเรียนการสอนแบบมีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมทําร่วมแก้ปัญหา มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนได้ค้นหาความถนัดของตนเองเลือก เรียนตามความถนัดและความสนใจ ได้มีโอกาสศึกษาความเป็นมาของ ถิ่ นฐานซึงท่ําให้เกิดความรักและหวงแหนในบ้านเกิด อันเป็นไปตามอุดมการณ์ ของโรงเรียน “รักและภาคภูมิใจในตนเองและถิ่ นที่อยู่อาศัย รักชาติมีจิตใจ ที่เป็นสากลสามารถสร้างงานสร้างอาชีพและมีชีวิตที่ดีบนแผ่นดินเกิด” โรงเรียนสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส www.edusandbox.com/16th-sep-2021-sungaikolok-school-11-9 การเรียนรู้ตลาดนัดสองแผ่นดินไทย-มาเลย์ ในรูปแบบ 4P MODEL ต้นแบบการเรียนรู้ในสังคมพหุวัฒนธรรม ไทย-มาเลย์ ด้วยการปรับปรุง หลักสูตรท้องถิ่ น บูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความ ต้องการของผู้ปกครอง ชุมชน และสภาพปัญหาในพื้นที่ที่เน้นการลงมือ ปฏิบัติสู่การยกระดับผลสัมฤทธของผู้เรียน ิ์ โรงเรียนบ้านมูโนะ จังหวัดนราธิวาส https://www.edusandbox.com/13th-aug-2021-anmuno-school หัวใจในการบูรณาการการจัดการเรียนรู้ของครูต้นแบบ สอนให้คิด ไม่ยึดติดตํารา เรียนรู้ภาษาไทยโดยใช้สิ่ งแวดล้อมเป็นสื่อ เนื่องด้วยนักเรียนทุกคนนับถือศาสนา อิสลาม ใช้ภาษามลายูท้องถิ่ นสื่อสารในชีวิตประจําวัน ดังน้ ันบริบทของโรงเรียน จึงมีความจําเป็นอย่างยิ่ งที่จะต้องหาแนวทางเพื่อพัฒนาการอ่าน การเขียน การสื่อสารภาษาไทยในรูปแบบและวิธีการที่ต่างไปจากโรงเรียนในภูมิภาคอื่นๆ หรือถึงขั้ นให้นsาหนักกับการเรียนภาษาไทยมากขึ้นเป็นเท่าตัว โรงเรียนบ้านมะนังกาหยี จังหวัดนราธิวาส www.edusandbox.com/niphon-rattanaphan-environment-as-medium สํานั ก ง า น บ ริ ห า รพื้นที่น วั ต ก ร ร ม ก า ร ศึ ก ษ า www.EduSandbox.com


Click to View FlipBook Version