The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แฟ้มสะสมผลงานเทอม2-กชพร

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 203กชพร หน่ายโย, 2024-01-26 00:22:35

แฟ้มสะสมผลงานเทอม2-กชพร

แฟ้มสะสมผลงานเทอม2-กชพร

แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี สังกัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กชพร หน่ายโย แฟ้มสะสมผลงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ๒ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ๒๕๖๖


แฟ้มปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี สังกัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กชพร หน่ายโย รหัสนักศึกษา ๖๒๑๐๐๑๐๑๒๐๓ แฟ้มสะสมผลงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ๒ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ๒๕๖๖


ก ค ำน ำ แฟ้มสะสมผลงาน (Portfolio) นี้ ข้าพเจ้าจัดท าขึ้นเพื่อเป็นตัวแทนน าเสนอข้อมูลเกี่ยวกับ ประวัติส่วนตัว ความรู้ ความสามารถ ทักษะ ตลอดจนพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของข้าพเจ้า โดยแฟ้ม สะสมผลงานนี้ ประกอบไปด้วย ประวัติเกี่ยวกับสถานศึกษาที่ได้ท าการปฏิบัติการสอน ในสถานศึกษา หน้าที่ที่รับผิดชอบและกิจกรรมต่าง ๆ ที่ได้ด าเนินการในสถานศึกษา ข้าพเจ้าหวังเป็น อย่างยิ่งว่าแฟ้มสะสมผลงานเล่มนี้ จะท าให้ทุกท่านที่อ่าน ได้เล็งเห็นถึง ประสิทธิภาพ และ ความสามารถของข้าพเจ้ายิ่งขึ้น ข้าพเจ้าขอขอบพระคุณ บิดามารดา คณาจารย์ ตลอดจนมิตรสหาย และผู้มีส่วนร่วม ในการช่วยเหลือ ให้ค าแนะน า รวบรวมเอกสาร หลักฐาน ข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพื่อจัดท าแฟ้มสะสม ผลงาน ในครั้งนี้ นางสาวกชพร หน่ายโย ผู้จัดท า


ข สำรบัญ เรื่อง หน้ำ ค ำน ำ………………………………………………………………………………………………................. ก สำรบัญ………………………………………………………………………………………………………….. ข สำรบัญภำพ……………………………………………………………………………………………………. ค สำรบัญตำรำง…………………………………………………………………………………………………. ง ประวัติโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ……………………………………………………. ๑ แผนที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี….…………………………………………………… ๕ แผนผังภายในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี………………………………………….. ๖ ท าเนียบผู้บริหาร…………………………………………………………………………………………………… ๗ แผนผังสายงานที่รับผิดชอบ……………………………………………………………………………………. ๘ หน้าที่ที่รับผิดชอบ…………………………………………………………………………………………………. ๙ ภำคผนวก…………………………………………………………………………………………………….... ๒๓ ภาคผนวก ก สถานที่ฝึกปฏิบัติการสอน……………………………………………………………………. ๒๔ ภาคผนวก ข ภาพด้านการจัดการเรียนรู้…………………………………………………………………… ๓๓ ภาคผนวก ค ภาพด้านการสัมพันธ์ชุมชน………………………………………………………………….. ๓๙ ภาคผนวก ง ภาพด้านการปฏิบัติหน้าที่ครูและจรรยาบรรณวิชาชีพ……………………………. ๔๓ ภาคผนวก จ ค าสั่ง/เอกสารอื่น ๆ……………………………………………………………………………. ๕๑ ภาคผนวก ช ประวัตินักศึกษา…………………………………………………………………………………. ๖๖


ค สำรบัญภำพ เรื่อง หน้ำ ภาพที่ ๑ ตราสัญลักษณ์ประจ าโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี …………………. ๓ ภาพที่ ๒ แผนที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี……………………………………….. ๕ ภาพที่ ๓ แผนผังภายในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี……………………………. ๖


ง สำรบัญตำรำง เรื่อง หน้ำ ตารางที่ ๑ โครงสร้างรายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท ๒๓๑๐๒………………………………………. ๑๑ ตารางที่ ๒ ตารางก าหนดการสอน……………………………………..……………………………………. ๑๔ ตารางที่ ๓ ตารางสอน……………………………………………………………………………………………. ๑๘ ตารางที่ ๔ เข้าร่วมกิจกรรมและจัดกิจกรรมด้านการสัมพันธ์ชุมชน…………………………….. ๒๑ ตารางที่ ๕ ค าสั่งแต่งตั้งปฏิบัติหน้าที่ครูและจรรยาบรรณวิชาชีพในสถานศึกษา…………... ๒๒


๑ ๑. ประวัติโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ๑.๑ ข้อมูลพื้นฐาน โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ตั้งอยู่ ละติจูด ๑๗.๓๙๔๗๓๐ ลองจิจูด ๑๐๒.๗๙๑๑๐๘ เลขที่ ๖๔ ถนนทหาร ต าบลหมากแข้ง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี รหัสไปรษณีย์ ๔๑๐๐๐ สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เลขรหัสประจ าบ้าน ๔๑๙๙๐๐๒๑๗๙-๔ โทรศัพท์ ๐๔๒-๒๑๑๐๔๐ ต่อ ๑๖๗๑ โทรสาร ๐๔๒-๒๔๑๔๑๘ เว็บไซต์ www.udru.ac.th/satit ปัจจุบันเปิดสอนระดับชั้นเตรียมอนุบาล อนุบาล ประถมศึกษา และ มัธยมศึกษา ๑.๒ การจัดตั้งและประวัติความเป็นมา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ได้จัดตั้งขึ้นตามประกาศสภามหาวิทยาลัย ราชภัฏอุดรธานี เรื่อง จัดตั้งโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ลงวันที่ ๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๔ โดยให้เป็นหน่วยงานภายในเทียบเท่าคณะ และเปิดท าการเรียนการสอนตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ โดยรับโอนนักเรียนและบุคลากรบางส่วนจากโรงเรียนสาธิตอนุบาลมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ที่สังกัดคณะกรรมการการศึกษาเอกชนซึ่งได้เลิกกิจการไป ต่อมาสภามหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ได้ปรับปรุงแก้ไขข้อบังคับ ว่าด้วยโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี พ.ศ.๒๕๕๕ และได้ออก ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีว่าด้วยมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี พ.ศ. ๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ให้โรงเรียนสาธิตเป็นหน่วยงานอิสระ ไม่เทียบเท่าคณะ และเป็นหน่วยงาน ในก ากับของมหาวิทยาลัย เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๓๖ คณะครุศาสตร์โดยภาควิชาอนุบาลศึกษา ได้เปิดท าการรับดูแลเด็ก เด็กอายุ ๒-๓ ปี เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักศึกษา สาขาปฐมวัยโดยใช้ชื่อว่า “บ้านเด็ก ราชภัฏ” มีผู้ช่วยศาสตราจารย์ มานิต ถนอมพวงเสรี คณบดีคณะครุศาสตร์ เป็นผู้บริหาร พ.ศ. ๒๕๓๗ ได้เปลี่ยนชื่อบ้านเด็กราชภัฏเป็นโรงเรียนอนุบาลสาธิต รับนักเรียนอายุระหว่าง ๒-๖ ปี จัดชั้นเรียนเป็น ๔ ชั้น คือ บริบาลศึกษา อนุบาล ๑ อนุบาล ๒ และอนุบาล ๓ พ.ศ. ๒๕๔๔ ย้ายอาคารเรียนจากบ้านเด็กราชภัฏมาอยู่สถานที่ปัจจุบัน และเปลี่ยนชื่อเป็น โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี โดยมี อาจารย์ปราณีต มาลัยวงษ์ เป็นผู้บริหารโรงเรียน พ.ศ. ๒๕๔๗ มีอาจารย์จุฑานาถ รอดภิรมย์ เป็นผู้บริหารโรงเรียน พ.ศ. ๒๕๔๘ เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนสาธิตอนุบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เข้าอยู่ใน สังกัดส านักงานคณะกรรมการการศึกษาเอกชน โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์จรูญ ถาวรจักร อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เป็นผู้รับใบอนุญาตและมีอาจารย์จุฑานาถ รอดภิรมย์ เป็นผู้จัดการ นางลักษณา สุนทรสัจบูลย์ เป็นผู้อ านวยการ ต่อมา พ.ศ. ๒๕๕๐ เปลี่ยนผู้อ านวยการเป็นนางเขมิกา รอดขันเมือง พ.ศ. ๒๕๕๒ เปิดสอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ มี ดร.ณัติเทพ พิทักษานุรัตน์ อธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เป็นผู้รับใบอนุญาต ผู้ช่วยศาสตราจารย์จินตนา ด้วงแพง เป็นผู้จัดการ และในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ มีนางภวิศา พงษ์เล็ก เป็นผู้อ านวยการ เมื่อวันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ โรงเรียนสาธิตอนุบาล มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ได้รับอนุญาตให้เลิกกิจการและได้จัดส่งนักเรียนต่อตามระดับชั้นต่าง ๆ ที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย


๒ ราชภัฏอุดรธานี ซึ่งได้จัดตั้งขึ้นตามประกาศสภามหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เรื่อง จัดตั้งโรงเรียน สาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ลงวันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ โดยให้เป็นหน่วยงานภายใน เทียบเท่าคณะ และเปิดท าการเรียนการสอนตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ เมื่อวันที่ ๓๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ โรงเรียนสาธิตอนุบาลได้รับอนุญาตให้เลิกกิจการ และ ได้จัดส่งนักเรียนต่อตามระดับชั้นต่าง ๆ ที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ๑.๓ หลักการในการจัดตั้งโรงเรียน ๑.๓.๑ เป็นการจัดตั้งโรงเรียนสาธิต ที่เป็นตัวอย่างที่ดีให้กับนักศึกษาวิชาชีพครู ทั้งในระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา ๑.๓.๒ เป็นโครงการที่จัดท าขึ้นเพื่อจัดการเรียนการสอน ที่มีมาตรฐานของการจัด การศึกษาขั้นพื้นฐาน ส านักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ๑.๓.๓ เปิดรับนักเรียนทั้งในระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการบริหารโรงเรียนก าหนด โดยอาศัยวิธีการคัดเลือกด้วยการทดสอบพัฒนาการ เบื้องต้นและหรือทดสอบความรู้ ตามระดับการศึกษา ๑.๓.๔ ค่าใช้จ่ายงบด าเนินการได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาลบางส่วน ๑.๔ วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งโรงเรียน ๑.๔.๑ เพื่อจัดการศึกษาระดับก่อนประถมศึกษา ระดับประถมศึกษา และระดับ มัธยมศึกษา ๑.๔.๒ เพื่อเป็นแหล่งศึกษา วิจัย และเป็นห้องปฏิบัติการทดลองเกี่ยวกับการพัฒนาการ ของเด็กในวัยเรียน ทั้งในด้านจิตวิทยาการศึกษา การแนะแนวการศึกษา และทฤษฎีการเรียนรู้ ในทุกระดับการศึกษาให้มีความงอกงามในทุกด้าน ๑.๔.๓ เพื่อเป็นแหล่งสาธิต ทดลอง วิจัยงานด้านหลักสูตร วิธีการสอน และการ พัฒนาการเรียนการสอน การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา และ การวัดและประเมินผลหลักสูตร ทุกระดับการศึกษา ๑.๔.๔ เพื่อเป็นสถานที่ปฏิบัติงานด้านฝึกสอน ฝึกงาน และพัฒนาวิชาชีพของนักศึกษา ของคณะครุศาสตร์ และคณะอื่น ๆ ในมหาวิทยาลัยหรือสถาบันอื่น ๑.๔.๕ เพื่อเป็นโรงเรียนต้นแบบในพื้นที่บริการการศึกษาของมหาวิทยาลัย ๑.๔.๖ เพื่อเป็นแหล่งอบรมศึกษา เผยแพร่งานศิลปะและวัฒนธรรม เพื่อเป็นการปลูกฝัง วัฒนธรรมและอนุรักษ์ให้เป็นมรดกสืบไป


๓ ๑.๕ ตราประจ าโรงเรียน ภาพที่ ๑ ตราสัญลักษณ์โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี เป็นรูปวงรี ๒ วงซ้อนกัน ระหว่างวงรีส่วนบนเขียนเป็นภาษาไทยว่า “มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานี” ส่วนล่างเขียนเป็นภาษาอังกฤษว่า “UDON THANI RAJABHAT UNIVERSITY” ภายใต้วงรี ด้านในมีตราพระราชลัญจกรประจ าพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ซึ่งเป็นรูป พระที่นั่งอัฐทิศประกอบด้วยวงจักร กลางวงจักรมีอักขระเป็นอุหรือเลข ๙ รอบวงจักรมีรัศมีเปล่งออก โดยรอบ เหนือจักรเป็นรูปเศวตฉัตรเจ็ดชั้นตั้งอยู่บนพระที่นั่งอัฐทิศ แปลความหมายว่า ทรงมีพระบรม เดชานุภาพในแผ่นดินภายใต้วงรีด้านนอกเขียนเป็นภาษาไทยว่า “โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานี” สีน้ าเงิน หมายถึง สถาบันพระมหากษัตริย์ผู้ให้ก าเนิดและพระราชทานนาม“สถาบันราชภัฏ” สีเขียว หมายถึง แหล่งที่ตั้งของมหาวิทยาลัยราชภัฏซึ่งอยู่ในแหล่งธรรมชาติและ มีสภาพแวดล้อมที่สวยงาม สีทอง หมายถึง ความเจริญรุ่งเรืองทางปัญญา สีส้ม หมายถึงความเจริญรุ่งเรืองของศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นที่ก้าวไกลในมหาวิทยาลัย ราชภัฏ สีขาว หมายถึง ความคิดอันบริสุทธิ์ของนักปราชญ์แห่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ๑.๖ อัตลักษณ์ของนักเรียน สุขภาพดี มีทักษะชีวิต คิดสร้างสรรค์ ๑.๗ เอกลักษณ์ของโรงเรียน สังคมแห่งการเรียนรู้ เชิดชูความเป็นไทย ๑.๘ ปรัชญา (Philosophy) การศึกษา เป็นการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้เจริญ ทั้งร่างกาย จิตใจและสติปัญญา ๑.๙ ปณิธาน (Will) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีจะมุ่งมั่นพัฒนานักเรียนให้เป็นคนเก่ง คนดี มีจิตมั่นคง ด ารงชีวิตอย่างมีความสุข จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้เป็นเลิศ ได้มาตรฐานสากล เป็นต้นแบบในการพัฒนาศักยภาพสูงสุดของนักเรียน


๔ ๑.๑๐ วิสัยทัศน์ (Vision) ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๖๕ มุ่งพัฒนาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี สู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ที่มีความเป็นเลิศในการจัดการศึกษา พัฒนาองค์ความรู้ใหม่ เสริมสร้างศักยภาพของนักเรียน ครูและบุคลากร ได้ตามมาตรฐานสากลในบริบทของความเป็นไทย ๑.๑๑ พันธกิจ (Mission) ๑. จัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาในระดับประเทศและสากล เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้เรียนดี มีวินัย จิตใจงาม และมีความสุข ๒. พัฒนางานวิจัยด้านหลักสูตรและการสอนบนฐานการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนและ การปฏิบัติงาน ๓. สร้างแหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียนทั้งเชิงกายภาพและวัฒนธรรมการเรียนรู้ให้เป็น องค์กรแห่งการเรียนรู้ ๔. พัฒนาโรงเรียนให้มีความเข้มแข็ง และพึ่งพาตนเองได้


๕ ภาพที่ ๒ แผนที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาราชภัฏอุดรธานี แผนที่โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาราชภัฏอุดรธานี


๖ A สนามกีฬา G โรงอาหาร B อาคาร ๖ อาคารมัธยมศึกษาต้นต้น H หอประชุม C อาคารประถมศึกษา D อาคารบริบาลและอนุบาล E อาคารอนุบาล F อาคาร ๑๐ อาคารมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาพที่ ๓ แผนผังโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาราชภัฏอุดรธานี


๗ ๔. ท าเนียบผู้บริหารโรงเรียน รองศาสตราจารย์ ดร. วรัญญา จีระวิพูลวรรณ ผู้อ านวยการโรงเรียน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดวงสมร กิจโกศล รองผู้อ านวยการโรงเรียน นายอภิชาต แซ่อึ้ง รองผู้อ านวยการโรงเรียน


๘ ๕. บุคลากรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย นางสาวตุลย์ลดา ชิสุกะ ครูกลุ่มสาระภาษาไทย นางสาวสุจิตรา ประชามิ่ง ครูกลุ่มสาระภาษาไทย นางจิราภรณ์ เหลาสิทธิ์ หัวหน้ากลุ่มสาระภาษาไทย นางสาวศุลีพร พรมกสิกร นักศึกษาฝึกประสบการณ์ นางสาวหน่ายโย นักศึกษาฝึกประสบการณ์ รองศาสตราจารย์ ดร. วรัญญา จีระวิพูลวรรณ ผู้อ านวยการโรงเรียน นายเมธี อายุยืน ครูกลุ่มสาระภาษาไทย


๙ ๖. หน้าที่ที่รับผิดชอบ การฝึกประสบการณ์ในครั้งนี้ผู้จัดท าได้รับหน้าที่ปฏิบัติงานท าหน้าที่ที่ได้รับผิดชอบระหว่าง ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ณ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี อ าเภอเมือง จังหวัด อุดรธานีสามารถแบ่งหน้าที่ที่ได้รับผิดชอบ ๓ ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านสัมพันธ์ชุมชน และด้านการปฏิบัติหน้าที่ครูและจรรยาบรรณวิชาชีพ ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ ๖.๑ ด้านการจัดการเรียนรู้ ในภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ได้รับมอบหมายให้สอนในรายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ห้อง จ านวน ๓ ห้อง ได้แก่ ม.๓/๑ จ านวนนักเรียน ๒๗ คน ม.๓/๒ จ านวนนักเรียน ๓๑ คน และ ม.๓/๓ จ านวนนักเรียน ๓๐ คน จ านวนคาบสอน ๙ คาบ/สัปดาห์ กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ (Learning Skill) ๒ คาบ/สัปดาห์ กิจกรรมลูกเสือ/เนตรนารี ๑ คาบ/สัปดาห์ กิจกรรมชุมนุม ๑ คาบ/สัปดาห์ รวม ๑๓ คาบ/สัปดาห์ทั้งนี้ผู้สอนได้จัดการเรียนรู้ ที่เน้นนักเรียนเป็นส าคัญ และมีการจัดท าแผนการจัดการเรียนรู้ล่วงหน้า เพื่อเตรียมในการจัดการ เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นักเรียนได้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเองในทุก ๆ ด้านไปสู่ ความส าเร็จในชีวิต และมีทักษะความรู้ได้ครบถ้วนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัดภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ซึ่งเป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นนักเรียนเป็นส าคัญ มีส่วนร่วมในการท ากิจกรรม และสามารถต่อยอดความรู้ สามารถพัฒน าตนได้รอบด้าน ประประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ในชีวิตประจ าวัน ๖.๑.๑ โครงสร้างรายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท๒๓๑๐๒ ค าอธิบายรายวิชา ศึกษาและอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วที่เป็นบทความทั่วไป บทร้อยกรองได้ถูกต้อง เหมาะสมตามฉันทลักษณ์ อ่านจับใจความจากสื่อต่าง ๆ เช่น วรรณคดีในบทเรียน ข่าวและเหตุการณ์ ส าคัญ ต านาน งานเขียนเชิงสร้างสรรค์ เรื่องราวจากบทเรียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและ กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ระบุความแตกต่างของค าที่มีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนัย ระบุใจความส าคัญ รายละเอียดของข้อมูลที่สนับสนุนจากเรื่องที่อ่าน วิเคราะห์วิจารณ์ ประเมินเรื่อง ที่อ่านโดยใช้กลวิธีการเปรียบเทียบเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจได้ดีขึ้น ประเมินความถูกต้องของข้อมูลที่ใช้ สนับสนุนในเรื่องที่อ่านวิจารณ์ความสมเหตุสมผล การล าดับความและความเป็นไปได้ของเรื่อง วิเคราะห์เพื่อแสดงความคิดเห็น โต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านิ อ่าหนังสือนอกเวลา หนังสืออ่าตาม ความสนใจและตามวัย หนังสืออ่านที่ครูและนักเรียนร่วมกันก าหนด ตีความและประเมินคุณค่า แนวคิดที่ได้จากงานเขียน อย่างหลากหลายเพื่อน าไปแก้ปัญหาในชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง มีมารยาทในการอ่าน เขียนคติพจน์ สุนทรพจน์ โดยใช้ถ้อยค าได้ถูกต้องตามระดับของ ภาษา เขียนอธิบายชี้แจง แสดงความคิดเห็นและโต้แย้งในเรื่องต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์และแสดงความรู้ ความคิดเห็นหรือโต้แย้งจากสื่อ ต่าง ๆ เช่น บทโฆษณา บทความทาง วิชาการ มีมารยาทในการเขียน พูดแสดงความคิดเห็นและประเมิลเรื่องจากการฟังและการดู วิเคราะห์วิจารณ์เรื่องที่ฟังและดู น าข้อคิดมาประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิตใช้สอดคล้องกับหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง พูดโน้มน้าวโดยน าเสนอหลักฐานตามล าดับเนื้อหาอย่างมีเหตุผลและ น่าเชื่อถือ มีมารยาทในการฟัง การดูและการพูด สรุปเนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรมและ


๑๐ วรรณกรรมท้องถิ่นในระดับที่อยากขึ้นเกี่ยวกับสุภาษิต ค าสอน เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ บันเทิง คดี วิเคราะห์วิถีไทยและคุณค่าจากวรรณคดีและวรรณกรรมสรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน เพื่อน าไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง โดยใช้กระบวนการฝึกทักษะการอ่าน เขียน ฟัง ดู พูด คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ ลงสรุป เพื่อให้เกิดความรู้ความคิด ความเข้าใจ การวิเคราะห์ การตัดสินใจ และสามารถน าความรู้ที่ได้ ไปใช้แก้ปัญหาในการด าเนินชีวิตอย่างมีวิจารณญาณ และสร้างสรรค์ สอดคล้องตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง มีนิสัยรักการอ่าน มีมารยาทที่ดีทั้งในด้านการอ่าน เขียน ฟัง ดู พูด รัก และ ภาคภูมิใจในภาษาไทย ใช้ภาษาไทยได้อย่างมีวัฒนธรรม ถูกต้องสละสลวย เหมาะสมกับกาลเทศะ และบุคคลทั้งในการพูดและการเขียน ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ม๓/๖ ม๓/๗ ม๓/๘ ม๓/๙ ม๓/๑๐ ท ๒.๑ ม๓/๔ ม๓/๖ ม๓/๗ ม๓/๘ ม๓/๙ ม๓/๑๐ ท ๓.๑ ม๓/๑ ม๓/๒ ม๓/๕ ท ๔.๑ ม๓/๕ ม๓/๖ ท ๕.๑ ม๓/๑ รวม ๑๗ ตัวชี้วัด คุณลักษณะอันพึงประสงค์ จ านวน ๘ ข้อ 1. มีความรักชาติศาสน์ กษัตริย์ 2. มีความซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการท างาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน จ านวน ๕ ข้อ 1. ความสามารถในการสื่อสาร ... 2. ความสามารถในการคิด ... 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ... 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต ... 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี


๑๑ ล าดับ ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา (นาที) คะแนน ๑ รู้เฟื่องเรื่องประโยค ท ๑.๑ ม.๓/๑๐ ปฐมนิเทศ ๕๐ ท ๔.๑ ม.๓/๒ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับประโยค ๕๐ ท ๔.๑ ม.๓/๒ ชนิดของประโยค ๕๐ ท ๔.๑ ม.๓/๒ ประโยคสามัญ ๕๐ ท ๔.๑ ม.๓/๒ ประโยคความซ้อน ๕๐ ท ๔.๑ ม.๓/๒ ประโยคความรวม ๕๐ ท ๔.๑ ม.๓/๒ ประโยคสามัญที่ซับซ้อน ๕๐ ท ๔.๑ ม.๓/๒ ประโยคความซ้อนที่ซับซ้อน ๕๐ ท ๔.๑ ม.๓/๒ ประโยคความรวมที่ซับซ้อน ๕๐ ๒ อิศรญาณภาษิต ท ๓.๑ ม.๓/๑ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณคดีเรื่อง อิศรญาณภาษิต ๕๐ ท ๑.๑ ม.๓/๑ ท ๕.๑ ม.๓/๑ ม. ๓/๒ ม.๓/๓ เนื้อเรื่องอิศรญาณภาษิต ด้านการคบมิตร ๕๐ ท ๑.๑ ม.๓/๑ ท ๕.๑ ม.๓/๑ ม. ๓/๒ ม.๓/๓ เนื้อเรื่องอิศรญาณภาษิต ด้านการคบมิตร ๕๐ ท ๑.๑ ม.๓/๑ ท ๕.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ ข้อคิดด้านการปฏิบัติตนในสังคม เรื่องอิศร ญาณภาษิต ๕๐ ท ๑.๑ ม.๓/๑ ท ๕.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ การประยุกต์ใช้ค าสอน เรื่องอิศรญาณภาษิต เพื่อปรับใช้ในชีวิต ๕๐ ท ๑.๑ ม.๓/๕ ส านวน สุภาษิต ค าพังเพย ๕๐ ท ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๖ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสาร ๕๐ ท ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๖ ความรู้เบื้องต้นการวิเคราะห์วิจารณ์ ๕๐ ท ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๖ การฟังและการดูสารประเภทข่าว ๕๐ ท ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๖ การฟังและการดูสารประเภทจรรโลงใจ ๕๐ ท ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๖ การฟังและการดูสารประเภทโน้มน้าวใจ ๕๐ ๓ บทพากย์เอราวัณ ท ๕.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๓ ความรู้เบื้องต้นวรรณคดีบทพากย์เอราวัณ ๕๐ ท ๕.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๓ เนื้อเรื่องวรรณคดีบทพากย์เอราวัณ ๑ ๕๐ ท ๕.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๓ เนื้อเรื่องวรรณคดีบทพากย์เอราวัณ ๒ ๕๐ โครงสร้างรายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท ๒๓๑๐๒ นางสาวกชพร หน่ายโย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง คะแนน ๑๐๐ คะแนน


๑๒ ล าดับ ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา (นาที) คะแนน ท ๑.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๑๐ ท ๕.๑ ม.๓/๔ การอ่านออกเสียงร้อยกรองวรรณคดี บทพากย์เอราวัณ ๕๐ ท ๕.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ วิเคราะห์คุณค่าบทพากย์เอราวัณ ๑ ๕๐ ท ๕.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ วิเคราะห์คุณค่าบทพากย์เอราวัณ ๒ ๕๐ ท ๑.๑ ม.๓/๓ ท ๕.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวรรณกรรมท้องถิ่น ๕๐ ท ๔.๑ ม ๓/๑ ความแตกต่างระหว่างภาษาไทยมาตรฐานกับ ภาษาถิ่น ๕๐ ท ๔.๑ ม ๓/๑ ภาษาถิ่น ๕๐ ๔ การเขียนสร้างสรรค์ ท ๒.๑ ม.๓/๒ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน ๕๐ ท ๒.๑ ม.๓/๒ การเขียนสร้างสรรค์ ๕๐ ท ๒.๑ ม.๓/๒ การเขียนค าขวัญ ๕๐ ท ๒.๑ ม.๓/๒ การเขียนค าอวยพร ๕๐ ท ๒.๑ ม.๓/๒ การแต่งหนังสื่อนิทานส าหรับเด็ก ๑ ๕๐ ท ๒.๑ ม.๓/๒ การแต่งหนังสื่อนิทานส าหรับเด็ก ๒ ๕๐ ท ๒.๑ ม.๓/๒ การเขียนอธิบาย ๕๐ ท ๒.๑ ม.๓/๒ การเขียนแสดงความคิดเห็น ๕๐ ท ๒.๑ ม.๓/๒ การเขียนโต้แย้งสร้างสรรค์ ๕๐ ๕ พูดดีวจีเด่น ท ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ หลักทั่วไปของการพูด ๕๐ ท ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ มารยาทในการพูด ๕๐ ท ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ การพูดแสดงความคิดเห็น และประเมินเรื่อง จากการฟังและการดู ๕๐ ท ๓.๑ ม.๓/๑ ม.๓/๒ ม.๓/๓ การพูดวิเคราะห์วิจารณ์ ๕๐ ท ๑.๑ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๘ ม.๓/๑๐ การอ่านเชิงวิเคราะห์และประเมินคุณค่า ๕๐ ท ๑.๑ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๘ ม.๓/๑๐ การอ่านเชิงวิเคราะห์และประเมินคุณค่าจาก นิทาน ๕๐ ท ๑.๑ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๘ ม.๓/๑๐ การอ่านเชิงวิเคราะห์และประเมินคุณค่าจาก ข่าว ๕๐ ท ๑.๑ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๘ ม.๓/๑๐ การอ่านเชิงวิเคราะห์และประเมินคุณค่าจาก บทความ ๕๐ ท ๑.๑ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๘ การอ่านเชิงวิเคราะห์และประเมินคุณค่าจาก เรื่องสั้น ๕๐


๑๓ ล าดับ ที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ เวลา (นาที) คะแนน ม.๓/๑๐ ท ๑.๑ ม.๓/๔ ม.๓/๕ ม.๓/๘ ม.๓/๑๐ การอ่านเชิงวิเคราะห์และประเมินคุณค่าจาก บทเพลง ๕๐ ท ๓.๑ ม.๓/๔ ม.๓/๖ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด โต้วาที ๕๐ ท ๓.๑ ม.๓/๔ ม.๓/๖ การพูดโต้วาที ๕๐ ท ๓.๑ ม.๓/๔ ม.๓/๖ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูดโน้มน้าวใจ ๕๐ ท ๓.๑ ม.๓/๔ ม.๓/๖ การพูดโน้มน้าวใจ ๕๐ ท ๓.๑ ม.๓/๔ ม.๓/๖ การพูดอภิปราย ๕๐ ท ๓.๑ ม.๓/๔ ม.๓/๖ การพูดสุนทรพจน์ ๕๐ รวม ๕๐ สอบกลางภาค ๒๐ สอบปลายภาค ๓๐ รวมคะแนนทั้งหมด ๑๐๐ ตารางที่ ๑ โครงสร้างรายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท ๒๓๑๐๒


๑๔ ๖.๑.๒ ก าหนดการสอน รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท๒๓๑๐๒ ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๓ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๖๖ หน่วยการ เรียนรู้ ล าดับ ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา/ นาที วัน/เดือน/ปี ชั้นสอน เวลา หมาย เหตุ หน่วยที่ ๑ รู้เฟื่องเรื่อง ประโยค (๙ ชั่วโมง) ๑ ปฐมนิเทศ ๕๐ ๓๐ ต.ค.๖๖ ๓๐ ต.ค.๖๖ ๓๑ ต.ค.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๒ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับประโยค ๕๐ ๓๐ ต.ค.๖๖ ๓๑ ต.ค.๖๖ ๑ พ.ย.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๓ ชนิดของประโยค ๕๐ ๑ พ.ย.๖๖ ๒ พ.ย.๖๖ ๒ พ.ย.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๔ ประโยคสามัญ ๕๐ ๖ พ.ย.๖๖ ๖ พ.ย.๖๖ ๗ พ.ย.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๕ ประโยคความซ้อน ๕๐ ๖ พ.ย.๖๖ ๗ พ.ย.๖๖ ๘ พ.ย.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๖ ประโยคความรวม ๕๐ ๘ พ.ย.๖๖ ๙ พ.ย.๖๖ ๙ พ.ย.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๗ ประโยคสามัญที่ซับซ้อน ๕๐ ๑๓ พ.ย.๖๖ ๑๓ พ.ย.๖๖ ๑๔ พ.ย.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๘ ประโยคความซ้อนที่ซับซ้อน ๕๐ ๑๓ พ.ย.๖๖ ๑๔ พ.ย.๖๖ ๑๕ พ.ย.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๙ ประโยคความรวมที่ซับซ้อน ๕๐ ๑๕ พ.ย.๖๖ ๑๖ พ.ย.๖๖ ๑๖ พ.ย.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. หน่วยที่ ๒ อิศรญาณ ภาษิต (๑๑ ชั่วโมง) ๑๐ ความรู้เบื้องต้นเรื่องอิศรญาณ ภาษิต ๕๐ ๒๐ พ.ย.๖๖ ๒๐ พ.ย.๖๖ ๒๑ พ.ย.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๑๑ เนื้อเรื่องอิศรญาณภาษิต ด้านการพูดและการฟัง ๕๐ ๒๐ พ.ย.๖๖ ๒๑ พ.ย.๖๖ ๒๒ พ.ย.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ก าหนดการสอน วิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท ๒๓๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ห้องที่สอน ม.๓/๑ ม.๓/๒ และ ม.๓/๓ เวลาเรียน ๕๔ ชั่วโมง/ภาคเรียน จ านวน ๕ หน่วยการเรียนรู้ ครูผู้สอนนางสาวกชพร หน่ายโย ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


๑๕ หน่วยการ เรียนรู้ ล าดับ ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา/ นาที วัน/เดือน/ปี ชั้นสอน เวลา หมาย เหตุ ๑๒ เนื้อเรื่องอิศรญาณภาษิต ด้านการ คบมิตร ๕๐ ๒๒ พ.ย.๖๖ ๒๓ พ.ย.๖๖ ๒๓ พ.ย.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๓ ข้อคิดด้านการปฏิบัติตนในสังคม เรื่องอิศรญาณภาษิต ๕๐ ๒๗ พ.ย.๖๖ ๒๗ พ.ย.๖๖ ๒๘ พ.ย.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๑๔ การประยุกต์ใช้ค าสอน เรื่องอิศร ญาณภาษิต เพื่อปรับใช้ในชีวิต ๕๐ ๒๗ พ.ย.๖๖ ๒๘ พ.ย.๖๖ ๒๙ พ.ย.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๕ ส านวน สุภาษิต ค าพังเพย ๕๐ ๒๙ พ.ย.๖๖ ๓๐ พ.ย.๖๖ ๓๐ พ.ย.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๖ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสาร ๕๐ ๔ ธ.ค.๖๖ ๔ ธ.ค.๖๖ ๕ ธ.ค.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๑๗ ความรู้เบื้องต้นการวิเคราะห์ วิจารณ์ ๕๐ ๔ ธ.ค.๖๖ ๕ ธ.ค.๖๖ ๖ ธ.ค.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๘ การฟังและการดูสารประเภทข่าว ๕๐ ๖ ธ.ค.๖๖ ๗ ธ.ค.๖๖ ๗ ธ.ค.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๙ การฟังและการดูสารประเภท จรรโลงใจ ๕๐ ๑๑ ธ.ค.๖๖ ๑๑ ธ.ค.๖๖ ๑๒ ธ.ค.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๒๐ การฟังและการดูสารประเภท โน้ม น้าวใจ ๕๐ ๑๑ ธ.ค.๖๖ ๑๒ ธ.ค.๖๖ ๑๓ ธ.ค.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. หน่วยที่ ๓ การเขียน สร้างสรรค์ (๙ ชั่วโมง) ๒๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน ๕๐ ๑๓ ธ.ค.๖๖ ๑๔ ธ.ค.๖๖ ๑๔ ธ.ค.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๒๒ การเขียนสร้างสรรค์ ๕๐ ๑๘ ธ.ค.๖๖ ๑๘ ธ.ค.๖๖ ๑๙ ธ.ค.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๒๓ การเขียนค าขวัญ ๕๐ ๑๘ ธ.ค.๖๖ ๑๙ ธ.ค.๖๖ ๒๐ ธ.ค.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๒๔ การเขียนค าอวยพร ๕๐ ๒๐ ธ.ค.๖๖ ๒๑ ธ.ค.๖๖ ๒๑ ธ.ค.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๒๕ การเขียนอธิบาย ๕๐ ๒๕ ธ.ค.๖๖ ๒๕ ธ.ค.๖๖ ๒๖ ธ.ค.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๒๖ การเขียนแสดงความคิดเห็น ๕๐ ๒๕ ธ.ค.๖๖ ๒๖ ธ.ค.๖๖ ๒๗ ธ.ค.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น.


๑๖ หน่วยการ เรียนรู้ ล าดับ ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา/ นาที วัน/เดือน/ปี ชั้นสอน เวลา หมาย เหตุ ๒๗ การเขียนโต้แย้งสร้างสรรค์ ๕๐ ๒๗ ธ.ค.๖๖ ๒๘ ธ.ค.๖๖ ๒๘ ธ.ค.๖๖ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๒๘ การแต่งหนังสื่อนิทานส าหรับเด็ก ๑ ๕๐ ๑ ม.ค.๖๗ ๑ ม.ค.๖๗ ๒ ม.ค.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๒๙ การแต่งหนังสื่อนิทานส าหรับเด็ก ๒ ๕๐ ๑ ม.ค.๖๗ ๒ ม.ค.๖๗ ๓ ม.ค.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. หน่วยที่ ๔ บทพากย์ เอราวัณ (๙ ชั่วโมง) ๓๐ ความรู้เบื้องต้นวรรณคดีบทพากย์ เอราวัณ ๕๐ ๓ ม.ค.๖๗ ๔ ม.ค.๖๗ ๔ ม.ค.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๓๑ เนื้อเรื่องวรรณคดีบทพากย์ เอราวัณ ๑ ๕๐ ๘ ม.ค.๖๗ ๘ ม.ค.๖๗ ๙ ม.ค.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๓๒ เนื้อเรื่องวรรณคดีบทพากย์ เอราวัณ ๒ ๕๐ ๘ ม.ค.๖๗ ๙ ม.ค.๖๗ ๑๐ ม.ค.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๓๓ การอ่านออกเสียงร้อยกรอง วรรณคดีบทพากย์เอราวัณ ๕๐ ๑๐ ม.ค.๖๗ ๑๑ ม.ค.๖๗ ๑๑ ม.ค.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๓๔ วิเคราะห์คุณค่าบทพากย์เอราวัณ ๑ ๕๐ ๑๕ ม.ค.๖๗ ๑๕ ม.ค.๖๗ ๑๖ ม.ค.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๓๕ วิเคราะห์คุณค่าบทพากย์เอราวัณ ๒ ๕๐ ๑๕ ม.ค.๖๗ ๑๖ ม.ค.๖๗ ๑๗ ม.ค.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๓๖ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ วรรณกรรมท้องถิ่น ๕๐ ๑๗ ม.ค.๖๗ ๑๘ ม.ค.๖๗ ๑๘ ม.ค.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๓๗ ความแตกต่างระหว่างภาษาไทย มาตรฐานกับภาษาถิ่น ๕๐ ๒๒ ม.ค.๖๗ ๒๒ ม.ค.๖๗ ๒๓ ม.ค.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๓๘ ภาษาถิ่น ๕๐ ๒๒ ม.ค.๖๗ ๒๓ ม.ค.๖๗ ๒๔ ม.ค.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. หน่วยที่ ๕ พูดดีวจีเด่น (๑๖ ชั่วโมง ) ๓๙ หลักทั่วไปของการพูด ๕๐ ๒๔ ม.ค.๖๗ ๒๕ ม.ค.๖๗ ๒๕ ม.ค.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๔๐ มารยาทในการพูด ๕๐ ๒๙ ม.ค.๖๗ ๒๙ ม.ค.๖๗ ๓๐ ม.ค.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๔๑ การพูดแสดงความคิดเห็น และ ประเมินเรื่องจากการฟังและ การดู ๕๐ ๒๙ ม.ค.๖๗ ๓๐ ม.ค.๖๗ ๓๑ ม.ค.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น.


๑๗ หน่วยการ เรียนรู้ ล าดับ ที่ แผนการจัดการเรียนรู้ เวลา/ นาที วัน/เดือน/ปี ชั้นสอน เวลา หมาย เหตุ ๔๒ การพูดวิเคราะห์วิจารณ์ ๕๐ ๓๑ ก.พ.๖๗ ๑ ก.พ.๖๗ ๑ ก.พ.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๔๓ การอ่านเชิงวิเคราะห์และประเมิน คุณค่า ๕๐ ๕ ก.พ.๖๗ ๕ ก.พ.๖๗ ๖ ก.พ.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๔๔ การอ่านเชิงวิเคราะห์และประเมิน คุณค่าจากนิทาน ๕๐ ๕ ก.พ.๖๗ ๖ ก.พ.๖๗ ๗ ก.พ.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๔๕ การอ่านเชิงวิเคราะห์และประเมิน คุณค่าจากข่าว ๕๐ ๗ ก.พ.๖๗ ๘ ก.พ.๖๗ ๘ ก.พ.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๔๖ การอ่านเชิงวิเคราะห์และประเมิน คุณค่าจากบทความ ๕๐ ๑๒ ก.พ.๖๗ ๑๒ ก.พ.๖๗ ๑๓ ก.พ.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๔๗ การอ่านเชิงวิเคราะห์และประเมิน คุณค่าจากเรื่องสั้น ๕๐ ๑๒ ก.พ.๖๗ ๑๓ ก.พ.๖๗ ๑๔ ก.พ.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๔๘ การอ่านเชิงวิเคราะห์และประเมิน คุณค่าจากบทเพลง ๕๐ ๑๔ ม.ค.๖๗ ๑๕ ก.พ.๖๗ ๑๕ ก.พ.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๔๙ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด โต้วาที ๕๐ ๑๙ ก.พ.๖๗ ๑๙ ก.พ.๖๗ ๒๐ ก.พ.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๕๐ การพูดโต้วาที ๕๐ ๑๙ ก.พ.๖๗ ๒๐ ก.พ.๖๗ ๒๑ ก.พ.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๕๑ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการพูด โน้มน้าวใจ ๕๐ ๒๑ ก.พ.๖๗ ๒๒ ก.พ.๖๗ ๒๒ ก.พ.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๕๒ การพูดโน้มน้าวใจ ๕๐ ๒๖ ก.พ.๖๗ ๒๖ ก.พ.๖๗ ๒๗ ก.พ.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๐๙.๒๗-๑๐.๑๐ น. ๐๙.๒๐-๑๐.๑๐ น. ๕๓ การพูดอภิปราย ๕๐ ๒๖ ก.พ.๖๗ ๒๗ ก.พ.๖๗ ๒๘ ก.พ.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๑๑.๑๐-๑๒.๐๐ น. ๕๔ การพูดสุนทรพจน์ ๕๐ ๒๘ ก.พ.๖๗ ๒๙ ก.พ.๖๗ ๒๙ ก.พ.๖๗ ม.๓/๓ ม.๓/๒ ม.๓/๑ ๐๘.๓๐-๐๙.๒๐ น. ๑๐.๒๐-๑๑.๑๐ น. ๑๓.๐๐-๑๓.๕๐ น. ตารางที่ ๒ ตารางก าหนดการสอน รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท๒๓๑๐๒ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๖


๑๘ ๖.๑.๓ ตารางสอนรายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท ๒๓๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ตารางที่ ๓ ตารางสอนรายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ท ๒๓๑๐๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ๖.๑.๔ การปฏิบัติหน้าที่ด้านครูที่ปรึกษาและครูประจ าวิชา การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาครั้งนี้ ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ต่าง ๆ ดังนี้ ๑. การสอนในรายวิชาหลัก กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โดยการเข้าสอน ตามตารางสอนซึ่งมี ๙ ชั่วโมง/สัปดาห์ แบ่งเป็นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๑ จ านวน ๓ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๒ จ านวน ๓ ชั่วโมง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓/๓ จ านวน ๓ ชั่วโมง การเข้าสอน ทุกครั้งครูผู้สอนจะต้องเตรียมความพร้อมทั้งด้านความรู้ และสื่อการเรียนรู้ มีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลาในการเข้าสอนและเมื่อหมดคาบเรียนในแต่ละครั้ง เพื่อไม่ให้ส่งผลกระทบต่อรายวิชาเรียน ต่อไป และควรแต่งกายเป็นระเบียบเรียบร้อย เพื่อสร้างแบบอย่างที่ดีให้กับนักเรียน ๒. การสอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และการสอนชุมนุมความเชื่อคติชนในภาพยนตร์ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ๒.๑) การสอนลูกเสือ การสอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ลูกเสือ) โดยการเข้าสอน และ ช่วยดูแลแบบปฏิบัติตามค าสั่งที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์ ซึ่งมี ๑ ชั่วโมง/สัปดาห์ โดยมีหน้าที่ ในการจัดการเรียนการสอนให้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ จ านวน ๘๘ คน ซึ่งในการจัดการเรียน การสอนนั้นจะรวมลูกเสือทั้งหมดให้ฝึกพิธีเปิด-ปิด กองลูกเสือการจัดระเบียบแถว การเก็บและถือ อาวุธ การท่องกฎและค าปฏิญาณ การร้องเพลงของลูกเสือ การผูกเงื่อน การปฐมพยาบาล การบ าเพ็ญประโยชน์ และนันทนาการ เป็นต้น ๒.๒) การสอนชุมนุม ความเชื่อคติชนในภาพยนตร์โดยในการจัดการเรียนการสอน ได้รับมอบหมายให้สอนร่วมกับคุณครูสุจิตรา ประชามิ่ง ลักษณะของการจัดการเรียนรู้เป็นชุมนุมเป็น การให้ความรู้เกี่ยวกับความเชื่อที่ปรากฏในภาพยนตร์ ทั้งประเทศไทยและต่างประเทศ ยกตัวอย่าง


๑๙ ภาพยนตร์ เรื่อง ประเพณี ๑๒ เดือน และฝึกให้นักเรียนวิเคราะห์ความเชื่อที่ตนเองเคยเห็นในชีวิตจริง เปรียบเทียบกับในภาพยนตร์ ๓) ครูที่ปรึกษา โดยได้รับมอบหมายให้เป็นครูประจ าชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔/๑ ร่วมกับคุณครู ที่ปรึกษาร่วมกับคุณครูสุจิตรา ประชามิ่ง ซึ่งมีหน้าที่ดูแลช่วยเหลือนักเรียน การให้ค าปรึกษา ด้านการเรียนหรือเรื่องส่วน การแนะน าในเรื่องต่าง ๆ และให้ค าปรึกษาเมื่อนักเรียนเกิดปัญหา นอกจากนั้น ยังได้ติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองเพื่อแจ้งและรับทราบข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของ นักเรียน และแจ้งข้อมูลข่าวสารจากทางโรงเรียนเพื่อให้ผู้ปกครองรับทราบ ๔) การจัดการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง ครูจะต้องมีการศึกษาเนื้อหา วิเคราะห์หลักสูตร และ นักเรียนอยู่เสมอ แล้วน าข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ โดยเขียนแผนตาม ก าหนดการสอน จ านวน ๕๔ แผน/ภาคเรียน ทั้งนี้ต้องเขียนแผนเป็นระเบียบเรียบร้อยองค์ประกอบ ครบถ้วน การจัดท าสื่อการเรียนรู้ในแต่ละเนื้อหาวิชาที่สอนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ และตรงตาม จุดประสงค์การเรียนรู้ ๖.๑.๕ การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานีในครั้งนี้สามารถแบ่งหัวข้อย่อยของการจัดการเรียนรู้ได้ดังนี้ ๑. สภาพการจัดการเรียนรู้การพัฒนาคุณภาพในการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยให้ มีประสิทธิภาพและสัมฤทธิ์ผลนั้น ในเบื้องต้นจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องพัฒนาให้ผู้เรียนให้สามารถ เรียนรู้เนื้อหารายวิชาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ได้ เนื่องจากโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานีเป็นโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนแบบเรียนร่วม ซึ่งในแต่ละห้องเรียนจะมีนักเรียนที่ บกพร่องทางการเรียนรู้ หรือเด็กพิเศษ จึงจ าเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องคิดค้นและปรับเปลี่ยนการจัดการ เรียนการสอนให้สอดคล้องกับสภาพบุคคลของผู้เรียนในแต่ละห้อง เพื่อที่จะได้รับการเรียนรู้ ที่เท่าเทียมกับผู้เรียนบุคคลอื่น ทั้งนี้ต้องเปิดโอกาสให้นักเรียนแสดงความสามารถได้อย่างเต็มที่ในด้าน ที่ตนถนัด ส่งเสริมการเรียนรู้โดยการสนับสนุนความคิดที่ดีและแนะน าการเรียนรู้ที่ให้เกิด ประสิทธิภาพในรายวิชาภาษาไทย ๖.๑.๖ การวิเคราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน ปัญหาข้อแรก ในการจัดการเรียนการสอน คือ นักเรียนส่วนใหญ่ไม่มีสมาธิในการเรียน สนใจโทรศัพท์มือถือ และพูดคุยกันในเวลาเรียน ไม่ตั้งใจจดบันทึกในแต่ละชั่วโมงเรียน และไม่ตั้งใจฟัง ในเวลาที่ผู้สอนอธิบายเนื้อหาและแบบฝึกหัด ปัญหาข้อที่สอง ในด้านพฤติกรรมของผู้เรียน คือ นักเรียนบางกลุ่มมักจะขออนุญาตไปเข้า ห้องน้ าตั้งแต่ต้นชั่วโมงเรียน และไม่กลับเข้ามาในห้องเรียนอีกเลย จึงท าให้ครูผู้สอนต้องตามหาให้ กลับเข้ามาเรียน ปัญหาข้อที่สาม ในด้านการใช้ค าพูดของผู้เรียน คือ นักเรียนบางคนมักพูดค าหยาบและไม่มี หางเสียงเวลาที่พูดกับครูผู้สอน และมักจะพูดโต้แย้งกับครูผู้สอนในเวลาที่ครูให้จดบันทึก และท าแบบฝึกหัด เมื่อครูไม่ตกลงในข้อเสนอของผู้เรียนก็ท าให้เกิดความไม่พอใจ และชักชีหน้า เป็นประจ า


๒๐ ๖.๑.๗ การวิเคราะห์และประเมินทางเลือกในการแก้ไขปัญหาการเรียนการสอน การแก้ปัญหาในข้อแรก คือ ให้ผู้เรียนเก็บโทรศัพท์มือถือไว้ในกล่องที่ครูเตรียมมา ปิดเครื่อง หรือปิดเสียงขนาดที่ครูเก็บโทรศัพท์ เมื่อหมดเวลาเรียนในชั่วโมงจึงจะสามารถขอโทรศัพท์คืนได้ การแก้ปัญหาในข้อที่สอง คือ ผู้สอนและผู้เรียนสร้างข้อตกลง ไม่อนุญาตให้ไปเข้าห้องน้ า หรือออกไปนอกห้องเรียน จนกว่าจะท างานส่งหรือหมดชั่วโมงเรียนแล้ว ยกเว้นเหตุจ าเป็น การแก้ปัญหาในข้อที่สาม คือ ผู้สอนตั้งบทลงโทษหากผู้เรียนคนใดพูดค าหยาบออกมา จะถูกหักคะแนน ๑ คะแนนต่อ ๑ ค า และพูดคุยกลับนักเรียนที่มักชักสีหน้าให้เข้าใจและบอกเหตุผล ในการท างานนั้น เพื่อให้นักเรียนเห็นถึงความส าคัญของการท าแบบฝึกหัด


๒๑ ๖.๒. ด้านสัมพันธ์ชุมชน ในการปฏิบัติการสอนในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีได้เข้าร่วมกิจกรรมและ จัดกิจกรรมด้านการสัมพันธ์ชุมชน ดังต่อไปน ี้ ที่ วัน/เดือน/ปี เรื่อง/กิจกรรม การสัมพันธ์ชุมชน หมายเหตุ ๑ ๓๐ ตุลาคม ๒๕๖๖ กิจกรรมดูแลสุขภาพฟัน ของบุคลากรทาง การศึกษาและนักเรียน เข้าร่วมกิจกรรมดูแลสุขภาพฟันของ บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน ร่วมกับโรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี ๒ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ กิจกรรมการแข่งขัน กล่าวสุนทรพจน์ เนื่องในโอกาสครบรอบ ๑ ศตวรรษราชภัฏ อุดรธานี ฝึกซ้อมนักเรียนเพื่อเข้าแข่งขันกล่าว สุนทรพจน์ เนื่องในโอกาสครบรอบ ๑ ศตวรรษราชภัฏอุดรธานี ๓ ๒๑ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ กิจกรรมให้ความรู้ด้าน ความปลอดภัยบนท้อง ถนน และอบรม การท าใบขับขี่ ยานพาหนะ เข้าร่วมกิจกรรมให้ความรู้ด้าน ความปลอดภัยบนท้องถนน และอบรม การท าใบขับขี่ยานพาหนะ ๔ ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ การอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพคนใน ชุมชนด้านการผลิตสื่อ เข้าร่วมรับฟังการอบรมเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพคนในชุมชนด้าน การผลิตสื่อ ๕ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ วันลอยกระทง ปี๒๕๖๖ เทศบาลนครอุดรธานี จัดท ากระทงเพื่อน าไปประกวดเนื่องใน วันลอยกระทง ปี๒๕๖๖ เทศบาลนคร อุดรธานี ๒๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๖ ติวเข้ม เต็มสปีด กับ ทรู5G ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาตอนปลาย เข้าร่วมการติวเข้ม เต็มสปีด กับ ทรู5G ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เซนทรัลพลาซ่าอุดรธานี ตารางที่ ๔ เข้าร่วมกิจกรรมและจัดกิจกรรม ด้านการสัมพันธ์ชุมชน


๒๒ ๖.๓ ด้านการปฏิบัติหน้าที่ครูและจรรยาบรรณวิชาชีพ ในการปฏิบัติการสอนในโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ได้รับมอบหมาย ให้ปฏิบัติหน้าที่ครูและจรรยาบรรณวิชาชีพตามค าสั่ง ดังต่อไปน ี้ เลขที่ค าสั่ง เรื่อง การสัมพันธ์ชุมชน ๓๐๗/๒๕๖๖ แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินโครงการเข้าค่าย ลูกเสือ-เนตรนารี ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๖ จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในฐานทดสอบ รับลูกเสือ-เนตรนารีไปที่ฐาน ด าเนิน กิจกรรม และดูแลความปลอดภัยพร้อม ทั้งให้คะแนนการปฏิบัติในระหว่างที่ท า กิจกรรม ๓๓๐/๒๕๖๖ แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินงาน วันลอยกระทง ปีการศึกษา ๒๕๖๖ กรรมการฝ่ายจัดบอร์ดท าป้าย นิทรรศการ ๓๓๘/๒๕๖๖ มอบหมายครูและบุคลากรทางการศึกษาดูแล นักเรียนไปทัศนศึกษานอกสถานที่ ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น ประจ าปีการศึกษา ๒๕๖๖ ประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ และให้การสนับสนุนช่วยเหลือ ในระหว่างกิจกรรม ๓๗๑/๒๕๖๖ แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการ วันคริสต์มาส และกิจกรรมส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ๒๕๖๖ ประสานงานกับคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ และให้การสนับสนุนช่วยเหลือ ในระหว่างกิจกรรม ๓๕๔/๒๕๖๖ แต่งตั้งคณะกรรมการด าเนินการสอบวัดผล กลางภาคระดับมัธยมศึกษา ประจ าภาคเรียน ที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๖ คณะกรรมการฝ่ายอ านวยการสอบ ๐๐๗/๒๕๖๗ แต่งตั้งคณะกรรมการและผู้ควบคุมการฝึกซ้อม นักเรียน และน านักเรียนเข้าร่วมการแข่งขัน ทักษะวิชาการ “สาธิตราชภัฏร่วมใจ ก้าวไกล สู่อาเซียนครั้งที่ ๘” ปีการศึกษา ๒๕๖๖ ควบคุมการฝึกซ้อมนักเรียน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๑๑๘/๒๕๖๗ ให้พนักงานมหาวิทยาลัย และนักศึกษาน า นักเรียนเดินทางไปราชการเพื่อเข้าร่วมการ แข่งขัน โครงการสร้างความร่วมมือเครือข่าย โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี สาธิตราชภัฏร่วมใจก้าวไกลสู่อาเซียน ครั้งที่ ๘ ควบคุมการฝึกซ้อมนักเรียน ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตารางที่ ๕ ค าสั่งแต่งตั้งปฏิบัติหน้าที่ครูและจรรยาบรรณวิชาชีพในสถานศึกษา


๒๓ ภาคผนวก


๒๔ ภาคผนวก ก สถานที่ฝึกปฏิบัติการสอน


๒๕ ภาพที่ ๔ : ป้ายหน้าโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี วันที่ : วันจันทร์ที่ ๔ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีอ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ภาพที่ ๕ : อาคารปฏิบัติการสอน (อาคาร ๖) วันที่ : วันจันทร์ที่ ๔ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานีอ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี


๒๖ ภาพที่ ๖ : อาคาร ๖ (มัธยมศึกษา ตึกกลาง ๓ ชั้น) วันที่ : วันอังคาร ที่ ๒๒ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : หน้าอาคาร ๖ (ฝ่ายมัธยม ตึกกลาง ๔ ชั้น) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานี ภาพที่ ๗ : อาคาร ๖ (มัธยมศึกษา ตึก ๒ ชั้น) วันที่ : วันอังคาร ที่ ๒๒ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : หน้าอาคาร ๖ (ฝ่ายมัธยม ตึก ๒ ชั้น) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


๒๗ ภาพที่ ๘ : อาคารประถมศึกษา (อาคารหลังใหม่) วันที่ : วันพุธ ที่ ๒๓ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : หน้าอาคารประถมศึกษา (อาคารหลังใหม่)โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานี ภาพที่ ๙ : อาคารบริบาล และอนุบาล วันที่ : วันพุธ ที่ ๒๓ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : อาคารบริบาล และอนุบาลโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


๒๘ ภาพที่ ๑๐ : อาคาร ๘ (อาคารมัธยมศึกษาตอนปลาย) วันที่ : วันจันทร์ที่ ๑๑ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : อาคาร ๘ (อาคารมัธยมศึกษาตอนปลาย) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาพที่ ๑๑ : หน้าเสาธง (ฝั่งมัธยมตอนต้น) วันที่ : วันจันทร์ ที่ ๒๒ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : หน้าเสาธง (ฝั่งมัธยมตอนต้น) โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


๒๙ ภาพที่ ๑๒ : หน้าประตูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี วันที่ : วันศุกร์ ที่ ๔ เดือน สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : หน้าประตูโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาพที่ ๑๓ : โรงอาหาร วันที่ : วันอังคาร ที่ ๘ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : หน้าโรงอาหารโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


๓๐ ภาพที่ ๑๔ : ห้องประชุม วันที่ : วันอังคาร ที่ ๘ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : ห้องประชุมโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาพที่ ๑๕ : อาคารอเนกประสงค์ วันที่ : วันพุธ ที่ ๙ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : หน้าอาคารอเนกประสงค์


๓๑ ภาพที่ ๑๖ : สนามกีฬาฝั่งประถมศึกษา วันที่ : วันพุธ ที่ ๙ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : สนามกีฬาฝั่งประถมศึกษา ภาพที่ ๑๗ : สนามกีฬาฝั่งมัธยมศึกษา วันที่ : วันพุธ ที่ ๙ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : สนามกีฬาฝั่งมัธยมศึกษา


๓๒ ภาพที่ ๑๘ : โรงอาหารฝั่งบริบาล และอนุบาล วันที่ : วันศุกร์ที่ ๑๑ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : โรงอาหารฝั่งบริบาล และอนุบาลโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาพที่ ๑๙ : สนามเด็กเล่นฝั่งบริบาล และอนุบาล วันที่ : วันศุกร์ที่ ๑๑ เดือน กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : สนามเด็กเล่นฝั่งบริบาล และอนุบาลโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


๓๓ ภาคผนวก ข ภาพด้านการจัดการเรียนรู้


๓๔ ภาพที่ ๒๑ : จัดกิจกรรมการเรียน เรื่อง การเขียนโฆษณา วันที่ : วันพฤหัสบดีที่ ๒๐ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : ห้อง ม.๓/๑ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาพที่ ๒๐ : จัดกิจกรรมการเรียน เรื่อง การสื่อสาร วันที่ : วันพฤหัสบดีที่ ๒๐ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : ห้อง ม.๓/๒ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


35 ภาพที่ ๒๒ : จัดกิจกรรมการเรียน เรื่อง ส านวน สุภาษิต ค าพังเพย วันที่ : วันพุธ ที่ ๒๖ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : ห้อง ม.๓/๓ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาพที่ ๒๓ : จัดกิจกรรมการเรียน เรื่อง อิศรญาณภาษิต วันที่ : วันจันทร์ที่ ๔ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : ห้อง ม.๓/๓ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


36 ภาพที่ ๒๔ : จัดกิจกรรมการเรียน เรื่อง การพูดในโอกาสต่างๆ วันที่ : วันพุธ ที่ ๖ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : ห้อง ม.๓/๓ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาพที่ ๒๕ : จัดกิจกรรมการเรียน เรื่อง การพูดแสดงความคิดเห็น วันที่ : วันพุธ ที่ ๑๓ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : ห้อง ม.๓/๓ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


37 ภาพที่ ๒๖ : ปฏิบัติการสอนรายวิชาลูกเสือ-เนตรนารี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๓ วันที่ : วันศุกร์ที่ ๒๔ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : ห้อง ม.๓/๓ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาพที่ ๒๗ : จัดกิจกรรมทบทวนบทเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ วันที่ : วันศุกร์ที่ ๑๕ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : ห้อง ป.6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


38 ภาพที่ ๒๘ : นิเทศการสอนครั้งที่ ๑ เรื่อง ประโยคความรวม วันที่ : วันพฤหัสบดี ที่ ๗ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : ห้อง ม.๓/๑ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาพที่ ๒๙ : นิเทศการสอนครั้งที่ ๒ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นบทพากย์เอราวัณ วันที่ : วันพฤหัสบดี ที่ ๒๑ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : ห้อง ม.๓/๑ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


39 ภาคผนวก ค ภาพด้านการสัมพันธ์ชุมชน


40 ภาพที่ ๓๐ : เข้าร่วมกิจกรรมดูแลสุขภาพฟันของบุคลากรทางการศึกษาและนักเรียน วันที่ : วันจันทร์ที่ ๓๐ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาพที่ ๓๑ : เข้าร่วมกิจกรรมการแข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ในนามผู้ฝึกซ้อม วันที่ : วันศุกร์ที่ ๓ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี(ศูนย์สามพร้าว)


41 ภาพที่ ๓๒ : เข้าร่วมโครงการความปลอดภัยบนท้องถนน วันที่ : วันจันทร์ที่ ๒๐ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : ห้องประชุม ชั้น ๒ อาคาร ๑๗ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาพที่ ๓๓ : เข้าร่วมกิจกรรมวันลอยกระทง โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี วันที่ : วันจันทร์ที่ ๒๗ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


42 ภาพที่ ๓๔ : เข้าร่วมการติวเข้ม เพื่อศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา วันที่ : วันพฤหัสบดี ที่ ๒๘ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : ศูนย์การค้าเซนทรัลพลาซ่าอุดรธานี ภาพที่ ๓๕ : เข้าร่วมโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนด้านการผลิตสื่อ วันที่ : วันพฤหัสบดี ที่ ๒๓ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


43 ภาคผนวก ง ภาพด้านการปฏิบัติหน้าที่ครูและจรรยาบรรณวิชาชีพ


44 ภาพที่ ๓๗ : เข้าร่วมกิจกรรม open house วันที่ : วันพฤหัสบดีที่ ๗ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ภาพที่ ๓๖ : ปฏิบัติหน้าที่จัดเตรียมงาน open house วันที่ : วันพุธ ที่ ๖ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ สถานที่ : โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี


Click to View FlipBook Version