43 บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยน าเสนอการสรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ดังนี้ วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาการออกแบบงานสถาปัตยกรรมด้วยเกม Minecraft โดยใช้รูปแบบการสอน แบบ GPAS 5 Steps ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ 2. เพื่อศึกษาและพัฒนาหลักสูตรการเรียนรู้เรื่องการออกแบบงานสถาปัตยกรรมโดยมีสื่อ เทคโนโลยีเข้ามาผสมผสาน สมมติฐานการวิจัย 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖/2 เรียนหลักการออกแบบงานสถาปัตยกรรมด้วยเกม Minecraft โดยใช้ขั้นตอนการสอนแบบ GPAS 5 Steps มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ที่เรียนหลักการออกแบบงานสถาปัตยกรรมด้วยเกม Minecraft โดยใช้ขั้นตอนการสอนแบบ GPAS 5 Steps มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 หลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียน 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2 ที่เรียนหลักการออกแบบงานสถาปัตยกรรมด้วยเกม Minecraft โดยใช้ขั้นตอนการสอนแบบ GPAS 5 Steps มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลป์ หลัง เรียนสูงกว่าก่อนเรียน วิธีด าเนินการวิจัย ขั้นที่ 1 ระบุค าถาม ครูน าภาพตัวอย่างงานสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อมมา ให้ดู จากนั้นให้นักเรียนช่วยกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพดังกล่าว ขั้นที่ 2 แสวงหาความรู้ 1.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ตามความสมัครใจ โดยให้แต่ละกลุ่มช่วย ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อม จากหนังสือเรียนพื้นฐาน รายวิชา ทัศนศิลป์ ม.6 หน้า 22-27 ของ บริษัท ศูนย์หนังสือเมืองไทย จ ากัด 2. นักเรียนรวมกันศึกษาการใช้เกม Minecraft เพื่อด าเนินการสร้างสรรค์งาน ออกแบบสถาปัตยกรรม ขั้นที่ 3 สร้างความรู้และสรุปความรู้ ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสร้างงานทัศนศิลป์ด้านการออกแบบและจัดวาง สถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อม โดยใช้เกม Minecraft พร้อมค าอธิบายภาพอย่าง ละเอียด
44 ขั้นที่ 4 สื่อสารและน าเสนอ 1. ครูให้แต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอผลงานที่หน้าชั้นเรียน โดยครูเปิดโอกาสให้ นักเรียนในชั้นร่วมแสดงความคิดเห็นได้อย่างเต็มที่ 2. ครูอธิบายความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อม และให้นักเรียนร่วมกันสรุปเป็นความรู้ โดยครูเขียนสรุปความรู้ไว้บนกระดาน ขั้นที่ 5 ประเมินและบริการสังคม 1. ครูประเมินความรู้ของนักเรียนจากกิจกรรมที่ท าภายในชั่วโมงเรียน 2. ครูประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนด้วยวิธีตั้งค าถามเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมที่ เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อม เช่น พุทธบาทสระบุรีมีการออกแบบและสร้างได้อย่างเหมาะสมกับ โอกาสและสถานที่อย่างไร สรุปผลการวิจัย นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลป์ เรื่อง ศึกษาการออกแบบงานสถาปัตยกรรม ด้วยเกม Minecraft โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ GPAS 5 Steps ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ได้คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 10.6 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 53 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียน เท่ากับ 12.63 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 63.13 และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนกับเกณฑ์ไม่ ต่ ากว่าร้อยละ 75 พบว่าคะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน อภิปรายผลการวิจัย ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยมีประเด็นที่จะอภิปรายผลการวิจัย ดังนี้ จากการศึกษาผลการจัดการเรียนรู้วิชาทัศนศิลป์ เรื่อง การออกแบบงานสถาปัตยกรรมด้วย เกม Minecraft โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ GPAS 5 Steps ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ดังนี้ ประการที่หนึ่ง การจัดการเรียนการสอนทัศนศิลป์ เรื่อง การออกแบบงานสถาปัตยกรรมด้วย เกม Minecraft โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ GPAS 5 Steps ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ได้ คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 10.6 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 53 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 12.63 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 63.13 และเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนกับเกณฑ์ไม่ต่ ากว่า ร้อยละ 75 พบว่าคะแนนหลังเรียนสูงกว่าคะแนนก่อนเรียน ซึ่งผู้วิจัยได้คิดขั้นตอนการจัดการเรียนที่ เหมาะสมมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และน าไปเสนออาจารย์ที่ปรึกษางานวิจัย พร้อมเสนอ ตรวจสอบความสอดคล้องจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน ได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง หรือค่า IOC ทั้ง 2 แผน ได้ค่าเท่ากับ 1.00 ทุกแผน ซึ่งท าให้ได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่มีค่าความเที่ยงตรงด้านเนื้อหาที่ เหมาะสมที่จะน าไปใช้ในการทดลองภาคสนามกับกลุ่มตัวอย่างได้
45 ประการที่สอง แผนการจัดการเรียนรู้วิชาทัศนศิลป์ เรื่อง การออกแบบงานสถาปัตยกรรม ด้วยเกม Minecraft โดยใช้รูปแบบการสอนแบบ GPAS 5 Steps ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ที่ผู้วิจัยเลือกน ามาใช้ในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาทัศนศิลป์ นั้น เป็นการจัดการเรียนรู้โดยแบ่งเป็นกลุ่มเพื่อให้นักเรียนท ากิจกรรมร่วมกัน ซึ่งสอดคล้องกับค ากล่าว ของ (ทิศนา แขมณี. 2545 : 251- 245) ได้น าเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติไว้ว่า ทักษะส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วยทักษะย่อย ๆ จ านวนมาก การฝึกให้ผู้เรียนสามารถท าทักษะย่อย ๆ เหล่านั้นได้ก่อนแล้วค่อยเชื่อมโยงต่อกันไปเป็นทักษะใหญ่ จะช่วยให้ผู้เรียนประสบผลส าเร็จได้ดีและ รวดเร็วขึ้น ซึ่งความส าเร็จนั้นได้มาจากการท าคะแนนสูงสุด โดยเกิดจากการท าแบบทดสอบสมาชิก รายบุคคล แล้วจึงน ามาคิดเป็นคะแนนพัฒนาเมื่อท าแบบทดสอบครั้งต่อไป ด้วยนักเรียนอยู่ในวัยที่ให้ ความส าคัญแก่เพื่อน เมื่อเข้ามาเป็นสมาชิกกลุ่มเดียวกัน นักเรียนจึงต้องการยอมรับจากเพื่อน จึงท า ให้ความรับผิดชอบและเกิดทักษะในการปฏิบัติและน าไปสู่การสร้างสรรค์ของผู้เรียน มากยิ่งขึ้น เดวีส์ (Davies, 1971: 50-56) ได้น าเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะปฏิบัติไว้ว่า ทักษะส่วนใหญ่ จะประกอบไปด้วยทักษะย่อย ๆ จ านวนมาก การฝึกให้ผู้เรียนสามารถท าทักษะย่อย ๆ เหล่านั้นได้ ก่อนแล้วค่อยเชื่อมโยงต่อกันเป็นทักษะใหญ่ จะช่วยให้ผู้เรียนประสบผลส าเร็จได้ดีและเร็วขึ้นโดย วัตถุประสงค์ของรูปแบบรูปแบบนี้มุ่งช่วยพัฒนาความสามารถด้านทักษะปฏิบัติของผู้เรียนได้ดียิ่งขึ้น ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะในการน าผลการวิจัยไปใช้ 1.1 ผู้ที่สนใจจะน ากิจกรรมการเรียนรู้เรื่อง การออกแบบงานสถาปัตยกรรมด้วยเกม Minecraft โดยใช้ขั้นตอนการสอนแบบ GPAS 5 Steps ควรศึกษาเนื้อหา วิธีการ สภาพแวดล้อมและ ความส าคัญของครูในโรงเรียนอย่างละเอียด เพื่อจะได้จัดกิจกรรมได้บรรลุวัตถุประสงค์ 1.2 ควรศึกษาผลการเรียนของนักเรียนก่อนว่าแต่ละคนอยู่ในระดับใด เพื่อจะได้แบ่งกลุ่ม หรือจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ GPAS 5 Steps ได้ง่ายขึ้น 1.3 ควรเลือกเนื้อหาที่จะสอนให้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบ GPAS 5 Steps 2. ข้อเสนอแนะในการท าวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรมีการศึกษาผลการกิจกรรมการเรียนรู้ออกแบบงานสถาปัตยกรรมด้วยเกม Minecraft โดยใช้ขั้นตอนการสอนแบบ GPAS 5 Steps ที่มีต่อการพัฒนาครูในหัวข้ออื่นที่สอดคล้อง กับความต้องการของครู 2.2 ควรวิจัยเปรียบเทียบการกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการออกแบบงาน สถาปัตยกรรมด้วยเกม Minecraft โดยใช้ขั้นตอนการสอนแบบ GPAS 5 Steps เพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเนื้อหาเดียวกัน และจะได้พัฒนาการสอนให้มีประสิทธิภาพต่อไป
46 บรรณานุกรม
47 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ, กรมวิชาการ. 2544. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพมหานคร : พัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว). กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและหลักสูตรแกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุม สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. กมล เวียสุวรรณ และนิตยา เวียสุวรรณ. แนวคิดการพัฒนาสื่อการเรียนการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : คอมแพคท์พริ้นท์, 2540. จิระ อ านวยสิทธิ์. 2559. สถาปัตยกรรมกับพื้นที่ระหว่าง : ความกลมกลืนภายใต้บริบทที่ แตกต่าง. มหาวิทยาลัยศิลปากร. ชวลิต ดาบแก้ว. หนังสือเสริมความรู้และอ่านเพิ่มเติม กลุ่มสร้างเสริมลักษณะนิสัย ศิลปศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2533. ดร.วิษณุ เครืองาม รองนายกรัฐมนตรี. 2565. ความส าคัญการปฏิรูปการศึกษา 8 ด้าน เน้น Active Learning โดยครูเป็นผู้อ านวยความสะดวก เป็นโค้ช ส่วนนักเรียนมีส่วน ร่วมท ากิจกรรม อภิปราย เรียนรู้เชิงรุก คิดเป็นกระบวนการชั้นสูงเชิงระบบ GPAS 5 Steps” อีทีวีแม็ค เวทีสาธารณะเพื่อการศึกษา. ดิลก ดิลกานนท์. (2554). ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. นิรมล สวัสดิบุตร และตีรณสาร สวัสดิบุตร. ศิลปศึกษากับครูประถม. กรุงเทพฯ : ตรีรณสาร, 2534. ประภากร มะโน. 2559. สถาปัตยกรรมปะติด-ปะต่อ : การสร้างความอิสระในการแสดงออก ของพื้นที่ใช้สอย เพื่อน าไปสู่การตีความที่หลากหลาย. มหาวิทยาลัยศิลปากร. พัทธดนย์ กิจชัยนุกูล. 2566. Minecraftกับงานสถาปัตยกรรม. Minecraft Architecture. สฤณี อาชวานันทกุล. 2560.การพัฒนาตัวเอง การพัฒนาสังคมกับMinecraft , thematter.com. หนังสือเรียน. 2551. รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. จัดพิมพ์ โดยบริษัท ศูนย์หนังสือ เมืองไทย จ ากัด. Benjamin Riordan and Damian Scarf. 2017. สร้างจิตใจและชุมชนด้วย Minecraft” (Creating minds and communities with Minecraft). thematter.com. Douglas Gentile. 2562. Study finds some video games can boost creativity in players. www.slashgear.com. University of Washington. 2017. Mining for Social Skills: Minecraft in Home and Therapy for Neurodiverse Youth. University of Washington.
48 ภาคผนวก
49 ภาคผนวก ก. รายนามผู้เชี่ยวชาญ ตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
50 รายชื่อผู้เชี่ยวชาญที่ตรวจสอบเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย อาจารย์ ธิดารัตน์ ชุ่มจังหรีด อาจารย์ประจ าสาขาวิชาทัศนศิลป์ สังกัดคณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฏอุดรธานี ผศ.ดร.เรืองศักดิ์ ปัดถาวะโร อาจารย์ประจ าสาขาวิชาทัศนศิลป์ สังกัดคณะ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราช ภัฏอุดรธานี นายสัญญา ศรีนุกูล ครูช านาญการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ โรงเรียนพรเจริญ วิทยา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา บึงกาฬ นายพิชิต อุปสิทธ์ รองผู้อ านวยการ ฝ่ายบริหารทั่วไป โรงเรียนพรเจริญวิทยา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบึงกาฬ
51 ภาคผนวก ข. แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาทัศนศิลป์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
52 แผนการจัดการเรียนรู้1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์) รหัส ศ 33101 หน่วยการเรียนรู้ที่2 เรื่องการออกแบบงานทัศนศิลป์ เวลาเรียน 3 ชวั่โมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3เรื่อง การออกแบบงานสถาปัตยกรรมกบัสิ่งแวดลอ้มเวลาเรียน 1 ชวั่โมง ช้นัมธัยมศึกษาปีที่6 ชื่อครูผสู้อน นางสาวศิริญญายนืยงั่ ตา แหน่ง นกศึกษาฝึ กสอน ั 1.เป้าหมายการเรียนรู้ 1.1. ตวัช้ีวดั 1.1.1. ออกแบบงานทศันศลิป์ไดเ้หมาะกบัโอกาสและสถานที่(ศ 1.1 (ม. 4-6/6) 1.2 จุดเนน้ที่ตอ้งพฒันาผเู้รียนแห่งศตวรรษที่21 ทกัษะที่จา เป็นแห่งศตวรรษที่ 21 สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลาง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางและ สถานศึกษา 1.ทักษะชีวิตและการท างาน -ความสามารถในการสื่อสาร -ความสามารถในการคิด -ความสมารถในการใช้ทักษะ ชีวิต 1.มีวินัย 2.ใฝ่ เรียนรู้ 3.มุ่งมนั่ในการทา งาน 1.3 สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด สถาปัตยกรรม (Architecture) เป็นงานทศันศิลป์ขนาดใหญ่ที่ใหค้วามสา คญักบั ประโยชน์ ใชส้อยและความเหมาะสมสวยงาม และเนื่องจากเป็นสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ที่มนุษยเ์ขา้ไปใช้ ประโยชน์ได้จึงตอ้งสร้างใหม้ีความมนั่คงแขง็แรง ปลอดภยัมีอายยุนืยาว ท้งัโครงสร้างและสถาน ที่ต้งัสภาพแวดลอ้ม
53 1.4 สาระการเรียนรู้ 1.4.1.การเรียนวิชาศิลปะ ม.6 1.4.2.กระบวนการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็ นศูนย์กลาง 1.4.3.การวดัผล ประเมินผลและเกณฑก์ารผา่นรายวชิาทศันศิลป์ม.6 1.5 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.5.1. นกัเรียนสามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกบัการออกแบบและจดัวางสถาปัตยกรรมกบั สภาพสิ่งแวดลอ้มได้ 1.5.2. นักเรียนสามารถฝึ กปฏิบัติและสร้างงานทัศนศิลป์ ด้านการออกแบบและจัดวาง สถาปัตยกรรม ที่เหมาะสมกบัสภาพสิ่งแวดลอ้มได้ 1.5.3. นกัเรียนเห็นคุณค่าของงานสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกบัสภาพสิ่งแวดลอ้ม 2. หลักฐานการเรียนรู้ ภาระงาน/ชิ้นงานที่แสดงผลการเรียนรู้ - สรุปความรู้ลงในสมุดจดบันทึก -การทา งานกลุ่มและการนา เสนอ 3.กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นัที่1ระบุคา ถาม ครูน าภาพตวัอย่างงานสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดล้อมมาให้ดู จากน้นั ใหน้กัเรียนช่วยกนัแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบัภาพดงักล่าว (ตวัอยา่งคา ตอบ ดูในหวัขอ้2.1.2 ) ข้นัที่2 แสวงหาความรู้
54 1.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ตามความสมัครใจ โดยให้แต่ละกลุ่มช่วย ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกบัสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกบัสภาพสิ่งแวดลอ้ม จากหนังสือเรียนพ้ืนฐาน รายวิชา ทัศนศิลป์ ม.6 หน้า 22-27ของ บริษทัศูนยห์นงัสือเมืองไทยจา กดั 2. นักเรียนรวมกันศึกษาการใช้เกม Minecraft เพื่อด าเนินการสร้างสรรค์งาน ออกแบบสถาปัตยกรรม ข้นัที่3 สร้างความรู้และสรุปความรู้ ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสร้างงานทัศนศิลป์ด้านการออกแบบและจัดวาง สถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกับสภาพสิ่งแวดลอ้ม โดยใช้เกม Minecraft พร้อมคา อธิบายภาพอย่าง ละเอียด ข้นัที่4 สื่อสารและน าเสนอ 1. ครูให้แต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอผลงานที่หน้าช้ันเรียน โดยครูเปิดโอกาสให้ นักเรียนในช้นัร่วมแสดงความคิดเห็นไดอ้ยา่งเตม็ที่ 2. ครูอธิบายความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกับสภาพ สิ่งแวดลอ้ม และใหน้กัเรียนร่วมกนัสรุปเป็นความรู้โดยครูเขียนสรุปความรู้ไวบ้นกระดาน ข้นัที่5 ประเมินและบริการสังคม 1. ครูประเมินความรู้ของนกัเรียนจากกิจกรรมที่ทา ภายในชวั่โมงเรียน 2.ครูประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนดว้ยวิธีต้งัคา ถามเกี่ยวกบัสถาปัตยกรรมที่ เหมาะสมกบัสภาพสิ่งแวดลอ้ม เช่น - พระพุทธบาทสระบุรีมีการออกแบบและสร้างไดอ้ยา่งเหมาะสมกบัโอกาสและ สถานที่อยา่งไร (ตัวอย่างคา ตอบ พระพุทธบาทสระบุรีมีการออกแบบเป็นอาคารทางพระพุทธ ศาสนานับเป็นงานพุทธศิลป์ที่ออกแบบและสร้างไดอ้ยา่งเหมาะสมกับโอกาสและสถานที่โดย สร้างมณฑปครอบรอยพระพุทธบาทไว้ต้งัอยู่บนเนินสูงลงรักปิดทอง ทา ให้ดูสวยเด่นเป็นสง่า ภายในมณฑปมีพ้นืที่วา่งและกวา้งพอที่จะให้พุทธศาสนิกชนเข้าไปกราบไหว้ สักการบูชารอยพระ พุทธบาทเพื่อความเป็ นสิริมงคลของชีวิต)
55 สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ สื่อ/วัสดุอุปกรณ์ 1. หนงัสือเรียน รายวิชาพ้นืฐาน ทศันศิลป์ม.6ของ บริษทัศูนยห์นงัสือเมืองไทย จา กดั 2. สื่อสิ่งพิมพ์เวบ็ ไซต์และรูปภาพเกี่ยวกบัการออกแบบและจดัวางสถาปัตยกรรมที่ เหมาะสมกบัสภาพสิ่งแวดลอ้ม 3. เกม Minecraft แหล่งเรียนรู้ 1. ห้องสมุดโรงเรียน 2. ห้องเรียน 3. อินเทอร์เน็ต 5. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ รายงานประเมิน วิธีวัดและการ ประเมิน/หลักฐาน การเรียนรู้ เครื่องมือวัดผล และประเมินผล เกณฑ์การวัดและ ประเมินผล ความรู้ (K) สามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกบั การออกแบบและจัดวาง สถาปัตยกรรมกบัสภาพ สิ่งแวดลอ้มได้ ประเมินผลงาน จากใบงาน -แบบสังเกตการ ตอบค าถาม คะแนนต้งัแต่ 4- 9 ผา่น ทักษะกระบวนการ (P) สามารถฝึ กปฏิบัติและสร้าง งานทัศนศิลป์ ด้านการ ออกแบบและจัดวาง สถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกบั สภาพสิ่งแวดลอ้มได้ -การออกมาน าเสนอ -การทา งานกลุ่ม -แบบสังเกตการ ตอบค าถาม คะแนนต้งัแต่ 4- 9 ผา่น
56 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) เห็นคุณค่าของงาน สถาปัตยกรรมที่เหมาะสมกบั สภาพสิ่งแวดลอ้ม -การสังเกต พฤติกรรมรายบุคคล -แบบสังเกต พฤติกรรม รายบุคคล นักเรียนที่ได้ ระดับคุณภาพ พอใชข้้ึนไป ถือวา่ผา่น ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พ้นืฐาน พทุธศกัราช 2551 - ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของ ผู้เรียน -แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของ ผู้เรียน ผา่นข้นัต่า ไม่นอ้ย กวา่ร้อยละ60 ด้านสมรรถนะส าคัญของ ผู้เรียน -ความสามารถในการสื่อสาร -ความสามารถในการคิด -ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต -ความสามารถในการ แกป้ัญหา -ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี - ประเมินสมรรถนะ ส าคัญของผู้เรียน -แบบประเมิน สมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียน ผา่นข้นัต่า ไม่นอ้ย กวา่ร้อยละ60
57 แผนการจัดการเรียนรู้2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ(ทัศนศิลป์) รหัส ศ 33101 หน่วยการเรียนรู้ที่2 เรื่องการออกแบบงานทัศนศิลป์ เวลาเรียน 3 ชวั่โมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4เรื่องการออกแบบศาลานงั่เล่นใหเ้หมาะสมกบัสภาพแวดลอ้ม เวลาเรียน 1 ชวั่โมง ช้นัมธัยมศึกษาปีที่6 ชื่อครูผสู้อน นางสาวศิริญญายนืยงั่ ตา แหน่ง นกัศึกษาฝึกสอน 1.เป้าหมายการเรียนรู้ 1.1. ตวัช้ีวดั 1.1.1. ออกแบบงานทศันศลิป์ไดเ้หมาะกบัโอกาสและสถานที่(ศ 1.1 (ม. 4-6/6) 1.2 จุดเนน้ที่ตอ้งพฒันาผเู้รียนแห่งศตวรรษที่21 ทกัษะที่จา เป็นแห่งศตวรรษที่ 21 สมรรถนะส าคัญของผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลาง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางและ สถานศึกษา 1.ทักษะชีวิตและการท างาน -ความสามารถในการสื่อสาร -ความสามารถในการคิด -ความสมารถในการใช้ทักษะ ชีวิต 1.มีวินัย 2.ใฝ่ เรียนรู้ 3.มุ่งมนั่ในการทา งาน 1.3 สาระส าคัญ/ความคิดรวบยอด ศาลานงั่เล่น ศาลาพกัผอ่น มีหลายแบบ หลายขนาด ตามวตัถุประสงคข์องผใู้ชแ้ละ งบประมาณค่าก่อสร้างศาลานงั่เล่นซ่ึงมีท้งัที่สร้างใหเ้ป็นที่พกัสาธารณะ ประชาชนสามารถเขา้ใช้ ประโยชน์ไดอ้ยา่งอิสระ การออกแบบและก่อสร้างจะใหค้วามสา คญักบัความแขง็แรง ปลอดภัย ในขณะที่ศาลานงั่เล่นที่เป็นส่วนบุคคลหรือเฉพาะตวัจะมีความเป็นส่วนตวัหรือมีเอกลกัษณ์ตาม
58 ตอ้งการโดยนอกจากจะแขง็แรงปลอดภยัแลว้ยงัมีความเหมาะสม และทา ใหใ้ชป้ระโยชน์ไดอ้ยา่งมี ความสุข 1.4 สาระการเรียนรู้ 1.4.1.การเรียนวิชาศิลปะ ม.6 1.4.2.กระบวนการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็ นศูนย์กลาง 1.4.3.การวดัผล ประเมินผลและเกณฑก์ารผา่นรายวชิาทศันศิลป์ม.6 1.5 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1.5.1. นกัเรียนสามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกบัการออกแบบศาลานงั่เล่นใหเ้หมาะสมกบั สภาพแวดล้อมได้ 1.5.2. นกัเรียนสามารถฝึกปฏิบตัิและสร้างงานทศันศิลป์ดา้นการออกแบบศาลานงั่เล่นให้ เหมาะสมกบัสภาพแวดลอ้มได้ 1.5.3. นกัเรียนเห็นประโยชน์ของการออกแบบศาลานงั่เล่นใหเ้หมาะสมกบัสภาพแวดลอ้ม 2. หลักฐานการเรียนรู้ ภาระงาน/ชิ้นงานที่แสดงผลการเรียนรู้ - สรุปความรู้ลงในสมุดจดบันทึก -การทา งานกลุ่มและการนา เสนอ 3.กิจกรรมการเรียนรู้ ข้นัที่1ระบุคา ถาม ครูนา ภาพตวัอยา่งงานออกแบบศาลานงั่เล่นใหเ้หมาะสมกบัสภาพแวดลอ้มมาให้ดู จากน้นั ใหน้กัเรียนช่วยกนัแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกบัภาพดงักล่าว (ตวัอยา่งคา ตอบ ดูในหวัขอ้2.2 ) ข้นัที่2 แสวงหาความรู้ 1.นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ตามความสมัครใจ โดยให้แต่ละกลุ่มช่วย ศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับการออกแบบศาลานั่งเล่นให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม จาก
59 หนังสือเรียนพ้ืนฐานรายวิชา ทศันศิลป์ม.6 หน้า 28 ของ บริษัท ศูนย์หนังสือเมืองไทย จา กดั 2. นกัเรียนรวมกนัศึกษาการใชเ้กม Minecraft ข้นัที่3 สร้างความรู้และสรุปความรู้ นักเรียนแต่ละกลุ่มสร้างงานทศันศิลป์ดา้นการออกแบบศาลานงั่เล่นให้เหมาะสม กบัสภาพแวดลอ้มโดยใช้เกม Minecraft พร้อมคา อธิบายภาพอยา่งละเอียด ข้นัที่4 สื่อสารและน าเสนอ 1. ครูให้แต่ละกลุ่มออกมาน าเสนอผลงานที่หน้าช้ันเรียน โดยครูเปิดโอกาสให้ นกัเรียนในช้นัร่วมแสดงความคิดเห็นไดอ้ยา่งเตม็ที่ 2. ครูอธิบายความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการออกแบบศาลานั่งเล่นให้เหมาะสมกับ สภาพแวดล้อม และใหน้กัเรียนร่วมกนัสรุปเป็นความรู้โดยครูเขียนสรุปความรู้ไว้บนกระดาน ข้นัที่5 ประเมินและบริการสังคม 1.ครูประเมินความรู้ของนกัเรียนจากกิจกรรมที่ทา ภายในชวั่โมงเรียน 2. ครูประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนดว้ยวิธีต้งัคา ถามในการออกแบบศาลา นงั่เล่นใหเ้หมาะสมกบัสภาพแวดลอ้ม เช่น - พระพุทธบาทสระบุรีมีการออกแบบได้อย่างเหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ อยา่งไร (ตวัอย่างคา ตอบ พระพุทธบาทสระบุรีมีการออกแบบเป็นอาคารทางพระพุทธ ศาสนานับเป็นงานพุทธศิลป์ที่ออกแบบและสร้างไดอ้ยา่งเหมาะสมกับโอกาสและสถานที่โดย สร้างมณฑปครอบรอยพระพุทธบาทไว้ต้งัอยู่บนเนินสูงลงรักปิดทอง ทา ให้ดูสวยเด่นเป็นสง่า ภายในมณฑปมีพ้นืที่วา่งและกวา้งพอที่จะให้พทุธศาสนิกชนเขา้ไปกราบไหว้สกัการบูชารอยพระ พุทธบาทเพื่อความเป็ นสิริมงคลของชีวิต)
60 สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ สื่อ/วัสดุอุปกรณ์ 1. หนงัสือเรียน รายวิชาพ้นืฐาน ทศันศิลป์ม.6ของ บริษทัศูนยห์นงัสือเมืองไทยจา กดั 2. สื่อสิ่งพมิพ์เวบ็ไซต์และรูปภาพเกี่ยวกบัการออกแบบศาลานงั่เล่นใหเ้หมาะสมกบั สภาพแวดล้อม 3. เกม Minecraft แหล่งเรียนรู้ 1. ห้องสมุดโรงเรียน 2. ห้องเรียน 3. อินเทอร์เน็ต 5. การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ รายงานประเมิน วิธีวัดและการ ประเมิน/หลักฐาน การเรียนรู้ เครื่องมือวัดผล และประเมินผล เกณฑ์การวัดและ ประเมินผล ความรู้ (K) สามารถอธิบายความรู้เกี่ยวกบั การออกแบบศาลานงั่เล่นให้ เหมาะสมกบัสภาพแวดลอ้ม ได้ ประเมินผลงาน จากใบงาน -แบบสังเกตการ ตอบค าถาม คะแนนต้งัแต่ 4- 9 ผา่น ทักษะกระบวนการ (P) สามารถฝึ กปฏิบัติและสร้าง งานทัศนศิลป์ ด้านการ ออกแบบศาลานงั่เล่นให้ เหมาะสมกบัสภาพแวดลอ้ม ได้ -การออกมาน าเสนอ -การทา งานกลุ่ม -แบบสังเกตการ ตอบค าถาม คะแนนต้งัแต่ 4- 9 ผา่น
61 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) เห็นประโยชน์ของการ ออกแบบศาลานงั่เล่นให้ เหมาะสมกบัสภาพแวดลอ้ม -การสังเกต พฤติกรรมรายบุคคล -แบบสังเกต พฤติกรรม รายบุคคล นักเรียนที่ได้ ระดับคุณภาพ พอใชข้้ึนไป ถือวา่ผา่น ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พ้นืฐาน พทุธศกัราช 2551 - ประเมินคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของ ผู้เรียน -แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ของ ผู้เรียน ผา่นข้นัต่า ไม่นอ้ย กวา่ร้อยละ60 ด้านสมรรถนะส าคัญของ ผู้เรียน -ความสามารถในการสื่อสาร -ความสามารถในการคิด -ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต -ความสามารถในการ แกป้ัญหา -ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี - ประเมินสมรรถนะ ส าคัญของผู้เรียน -แบบประเมิน สมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียน ผา่นข้นัต่า ไม่นอ้ย กวา่ร้อยละ60
62 ภาคผนวก ค. แบบประเมินผลงานด้านความคิดสร้างสรรค์
63 แบบประเมินผลงานด้านความคิดสร้างสรรค์ ค าชี้แจง : ให้ครูผู้สอนลงคะแนนตามความเป็นจริง เลขที่ ชื่อ-นามสกุล รายการที่ประเมิน ความคิด รวม ผลการประเมิน ริเริ่ม ความคิด คล่องแคล่ ว ความคิด ยืดหยุ่น ความคิด ละเอียดล ะออ 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 ผ่าน ไม่ผ่าน เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ระดับดีมาก คือ 4 คะแนน พฤติกรรมที่ระดับดี คือ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ระดับพอใช้ คือ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ระดับปรับปรุง คือ 1 คะแนน ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ 4 หมายถึง ระดับดีมาก คะแนน 13-16 ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ระดับดี คะแนน 9-12 ระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ระดับพอใช้ คะแนน 5-8 ระดับคุณภาพ 1 หมายถึง ระดับปรับปรุง คะแนน 1-4 เกณฑ์การผ่านระดับคุณภาพ 3 (ดี) ขึ้นไป ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน (นางสาวศิริญญา ยืนยั่ง) ครูผู้สอน
64 เกณฑ์การประเมินการออกแบบงานสถาปัตยกรรมด้วยเกม Minecraft ยึดหลักเกณฑ์การประ เมอนทักษะความคิดสร้างสรรค์ ตามทฤษฎี แนวคิดของ กิลฟอร์ด(Guilfod, 1967) ประเด็นประเมิน ระดับคุณภาพ 4 3 2 1 1. ความคิด ริเริ่ม คิดประยุกต์/ ดัดแปลงองค์ ความรู้และ สามารถน าไปใช้ได้ อย่างถูกต้อง คิดประยุกต์/ ดัดแปลงองค์ ความรู้และ และ สามารถน าไปใช้ ได้อย่างถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ คิดประยุกต์/ ดัดแปลงองค์ ความรู้ และ สามารถน าไปใช้ ได้อย่างถูกต้อง เป็นบางส่วน คิดประยุกต์/ ดัดแปลงองค์ ความรู้ และ สามารถน าไปใช้ ได้อย่างถูกต้อง เป็นส่วนน้อย 2. ความคิด คล่องแคล่ว คิดรูปแบบงานได้ ตรงประเด็น 90 % ขึ้นไปใน เวลาที่ก าหนด คิดรูปแบบงานได้ ตรงประเด็น 70 % ขึ้นไปใน เวลาที่ก าหนด คิดรูปแบบงานได้ ตรงประเด็น 50 % ขึ้นไปใน เวลาที่ก าหนด คิดรูปแบบงาน ได้ตรงประเด็น ต่ ากว่า 50 % ขึ้นไปในเวลาที่ ก าหนด 3. ความคิด ยืดหยุ่น คิดรูปแบบงานที่ จะท าได้อย่าง หลากหลาย คิดรูปแบบงานที่ จะท าได้อย่าง หลากหลายเป็น ส่วนใหญ่ คิดรูปแบบงานที่ จะท าได้อย่าง หลากหลายเป็น บางส่วน คิดรูปแบบงานที่ จะท าได้ไม่ หลากหลาย 4. ความคิด ละเอียดละออ บอกรายละเอียด เกี่ยวกับรูปแบบ งาน และเชื่อมโยง สัมพันธ์สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง บอกรายละเอียด เกี่ยวกับรูปแบบ งาน และเชื่อมโยง สัมพันธ์สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ บอกรายละเอียด เกี่ยวกับรูปแบบ งาน และเชื่อมโยง สัมพันธ์สิ่งต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง เป็นบางส่วน บอกรายละเอียด เกี่ยวกับรูปแบบ งาน และ เชื่อมโยงสัมพันธ์ สิ่งต่าง ๆ ได้ อย่างถูกต้องเป็น ส่วนน้อย
65 ภาคผนวก ง. ตารางการแสดงการหาค่า IOC ของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
66 ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ความสอดคล้องของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิชาทัศนศิลป์ เรื่อง การออกแบบงานสถาปัตยกรรมด้วยเกม Minecraft โดยใช้ขั้นตอนการสอน แบบ GPAS 5 Steps ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่๖ แผนที่ รายการประเมิน ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ IOC แปลผล คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 1 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 2. สาระส าคัญสอดคล้องกับตัวชี้วัด +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ครอบคลุม เนื้อหาสาระ +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 4. กิจกรรมการเรียนการสอนสอดคล้อง กับเนื้อหาและตัวชี้วัด +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเน้น กระบวนการคิดและสร้างความรู้ด้วย ตนเอง +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 6. สื่อและอุปกรณ์สอดคล้องกับเนื้อหา และกิจกรรม +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 7. การวัดและประเมินผลครอบคลุม จุดประสงค์การเรียนรู้ +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 2 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 2. สาระส าคัญสอดคล้องกับตัวชี้วัด +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ครอบคลุม เนื้อหาสาระ +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 4. กิจกรรมการเรียนการสอนสอดคล้อง กับเนื้อหาและตัวชี้วัด +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 5. กิจกรรมการเรียนการสอนเน้น กระบวนการคิดและสร้างความรู้ด้วย ตนเอง +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 6. สื่อและอุปกรณ์สอดคล้องกับเนื้อหา และกิจกรรม +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ ๗.การวัดและประเมินผลครอบคลุม จุดประสงค์การเรียนรู้ +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
67 ตารางที่ 6 การวิเคราะห์ความสอดคล้องของแบบประเมินผลงานความคิดสร้างสรรค์ ของ นักเรียน วิชาทัศนศิลป์ เรื่อง การออกแบบงานสถาปัตยกรรมด้วยเกม Minecraft โดยใช้ขั้นตอน การสอนแบบ GPAS 5 Steps ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่๖ ข้อที่ รายการประเมิน ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ IOC แปลผล คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 1. ความคิดริเริ่ม +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 2. ความคิดคล่องแคล่ว +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 3. ความคิดยืดหยุ่น +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้ 4. ความคิดละเอียดลออ +1 +1 +1 1.00 ใช้ได้
68 ภาคผนวก จ. ผลงานทัศนศิลป์ของนักเรียน
69 ผลงานทัศนศิลป์ของนักเรียน
70 ผลงานทัศนศิลป์ของนักเรียน
71 ผลงานทัศนศิลป์ของนักเรียน
72 ผลงานทัศนศิลป์ของนักเรียน
73 ภาคผนวก ฉ. บรรยากาศการจัดการเรียนรู้
74 บรรยากาศการจัดการเรียนรู้
75 บรรยากาศการจัดการเรียนรู้
76 ประวัติย่อผู้ท าวิจัย
77 ประวัติย่อผู้ท าวิจัย ชื่อนักศึกษา นางสาวศิริญญา ยืนยั่ง สาย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา วัน เดือน ปีเกิด 2๘ ธันวาคม 2543 ภูมิล าเนาเดิม บ้านเลขที่ 204 หมู่ที่ 1 ต าบลป่าแฝก อ าเภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ รหัสไปรษณีย์ 38180 โทรศัพท์ 082-849-8599 สถานที่พักอาศัย บ้าน หอพัก บ้านเลขที่ 204 หมู่ที่ 1 ต าบลป่าแฝก อ าเภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ รหัสไปรษณีย์ 38180 โทรศัพท์ 082-849-8599 ประวัติการศึกษา พ.ศ.2550 ระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านใหม่ศรีชมภู ต าบลป่าแฝก อ าเภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ 38180 พ.ศ.2556 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนพรเจริญวิทยา ต าบลพรเจริญ อ าเภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ 38180 พ.ศ. 2559 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนพรเจริญวิทยา ต าบลพรเจริญ อ าเภอพรเจริญ จังหวัดบึงกาฬ 38180 พ.ศ.2566 ก าลังศึกษา ระดับปริญญาบัณฑิต คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาทัศนศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี โทรศัพท์ 082-849-8599 E-mail [email protected]