The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แอปพลิเคชันทดสอบความรู้ความเข้าใจหลังเรียน วิชาประวัติศาสตร์สากล(ตะวันตก)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Isariya Donpoonprai, 2020-02-20 01:08:12

HiQ

แอปพลิเคชันทดสอบความรู้ความเข้าใจหลังเรียน วิชาประวัติศาสตร์สากล(ตะวันตก)

Keywords: ประวัติศาสตร์สากล,สงคราม,โลก

โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง HiQ
จัดทาโดย

1. นายอิงครตั ศรศรวี ิชัย เลขที่ 5
2. นายรวิภัทร โคจมิ ะ เลขท่ี 11
3 นางสาวธนภรณ์ เรอื นมากแกว้ เลขที่ 20
4. นางสาวอิสริยา ดอนพนู ไพร เลขที่ 21
5. นางสาวณฐั ธิกา สมนาม เลขท่ี 38

เสนอ
คุณครปู รชี า กจิ จาการ
โครงงานนี้เปน็ ส่วนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยี ว32121
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562
โรงเรียนราชวินิตบางแกว้



โครงงาน : แอพพลิเคชั่นทดสอบหลังเรียนประวัตศิ าสตรต์ ะวนั ตก
ผจู้ ดั ทา : นายองิ ครตั ศรศรวี ชิ ัย

รายวชิ า นายรวิภัทร โคจมิ ะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ครทู ่ปี รึกษา นางสาวธนภรณ์ เรือนมากแกว้
ปกี ารศกึ ษา
นางสาวอสิ ริยา ดอนพูนไพร

นางสาวณัฐธิกา สมนาม

: ว32121 เทคโนโลยี

: การงานอาชพี และเทคโนโลยี
: คุณครู ปรีชา กจิ จาการ
: 2562

บทคดั ย่อ

แอปพลิเคช่ัน HiQ มีวัตถุประสงค์เพ่ือทดสอบความรู้หลังเรียนวิชาประวัติศาสตร์ตะวันตก อีกทั้งยัง
สามารถสร้างความสนุกสนานและสร้างความผ่อนคลายในการเรียนรู้และสร้างแบบสารวจความพึงพอใจใน
การใช้แอปพลิเคชั่น จากผลสารวจอองผู้ที่ได้เล่นเกมโดยใช้แอปพลิเคชั่น HiQ จานวน 100 คน พบว่ามีความ
พึงพอใจต่อแอปพลิเคช่ัน ค่าเฉล่ีย 3.49 ระดับความพึงพอใจปานกลาง ได้รับความรู้และความเอ้าใจท่ีมากอึ้น
ต่อเนื้อหาในบทเรียนจากแอพพลิเคชั่นค่าเฉลี่ย 4.16 ระดับความพึงพอใจมาก จากแอปพลิเคช่ันรู้สึก
สนุกสนานและผ่อนคลายมีคา่ เฉลี่ย 4.17 ระดับความพึงพอใจมาก แอปพลิเคชั่นมีความสวยงามมี
ค่าเฉล่ีย 3.98 ระดับความพึงพอใจปานกลางซ่ึงจากการจัดทาแอปพลิเคชั่น HiQ ในการทดสอบหลังเรียนวิชา
ประวัติศาสตร์อองตะวันตกพบว่าทาให้นักเรยี นสามารถทบทวนความรูป้ ระวตั ิศาสตร์อองตะวันตกและยงั ช่วย
ใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความรู้ความเอา้ ใจในการเรียนอีกทั้งครูผูส้ อนยงั สามารถนาแอปพลิเคชนั่ HiQ มาทดสอบความรู้
ความเอา้ ใจอองนกั เรยี นหลงั การเรียนการสอนได้อีกด้วย



กติ ติกรรมประกาศ

โคร ง ง า น แ อป พลิ เ คชั่ น ให้ คว า มรู้ เ รื่ อง ป ร ะวั ติ ศา ส ต ร์ ต ะวั น ต ก( HiQ)น้ี ส า เร็ จ ลุ ล่ ว ง ได้ ด้ ว ย ดี คว า ม
อนเุ คราะห์อองบุคคลหลายท่าน ทง้ั คุณครู และเพ่ือนๆซงึ่ ไมอ่ าจนามากลา่ วได้ ออออบคุณ คุณครูปรชี า กิจจา
การ ครผู ู้สอนให้ความรู้ คาแนะนา แนวคดิ และตลอดจนการแก้ไออ้อบกพร่องในการทาแอปพลิเคช่ัน จนทาให้
โครงงานนีเ้ สรจ็ สมบรู ณท์ ี่สุด

สุดท้ายนี้ออออบคุณเพ่ือนๆในกลุ่ม ท่ีช่วยจัดทาโครงงานและร่วมกันแก้ไออ้อบกพร่องต่างๆตลอดจน
ให้คาแนะนาที่เป็นประโยชนใ์ นการจัดทาโครงงาน

คระผ้จู ัดทา



สารบัญ

เร่อื ง..............................................................................................................................................................หนา้
บทคัดย่อ...........................................................................................................................................................ก
กิตติกรรมประกาศ............................................................................................................................................ข
สารบัญ.............................................................................................................................................................ค
บทที่ 1 บทนา....................................................................................................................................................1

ท่ีมาและความสาคัญ........................................................................................................ .........................1
วตั ถุประสงค.์ ................................................................................................................ ..............................1
สมมติฐาน...................................................... ............................................................................................1
ออบเอตอองโครงงาน............................................................................................................. ...................1
ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะได้รับ.......................................................................................................... ...............1
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง....................................................................................................2
สงครามโลก.................................................................................................................... ....................2
สงครามเย็น................................................................................................................... .....................6
งานวิจัยที่เกี่ยวอ้อง............................................................................. ................................................7
บทท่ี 3 วิธีการจัดทาโครงงาน...................................................................................................................9
วัสดุอุปกรณ์....................................................................................................................................... 9
อั้นตอนการดาเนินการ.......................................................................................................... ..............9
เครื่องมือในการประเมินโครงงาน........................................................................................................ 9
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล.....................................................................................................11
บทที่ 5 สรุปผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ................................................. ...................12
สรปุ ผลการดาเนินงาน..............................................................................................................................12
อภิปรายผล............................................................................................................................. .........12
ปัญหาอองการจัดทาโครงงาน.................................. ........................................................................ 12
ประโยชน์ท่ีได้รับ...............................................................................................................................12
อ้อเสนอแนะ..................................................................................................................................... .........12

ภาคผนวก……………………………………………………………………………………………………………………………………….13

ประวัตผิ ู้ศึกษา.................................................................................................................................................15

1

บทที่ 1

บทนา

1.1 ทมี่ าและความสาคญั
เนื่องจากในปจั จุบันผูค้ นสามารถเอ้าเทคโนโลยีสารสนเทศได้มากอ้ึนกว่าในอดีต ทุกคนลว้ นเอ้าถึงสิ่งท่ี

เรียกว่าเทคโนโลยี เทคโนโลยี คือ การใช้ความรู้ เคร่ืองมือ ความคิด หลักการ เทคนิค ความรู้ ระเบียบวิธี
กระบวนการตลอดจน ผลงานทางวิทยาศาสตร์ทั้งส่ิงประดิษฐ์และวิธีการ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานเพ่ือช่วย
ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการทางานให้ดียิ่ง อ้ึนและเพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพและประสิทธิผลอองงานให้มีมาก
ยง่ิ อึ้น เทคโนโลยนี ั้นมที ัง้ ผลดี และ ผลเสียหากใชไ้ ปในทางท่ีถกู ต้องจะสามารถสรา้ งผลประโยชน์ให้ทัง้ ตนเอง
และสงั คมได้นาไปสกู่ ารพฒั นา แตห่ ากมกี ารใชใ้ นทางทผ่ี ดิ ก็จะส่งผลกระทบมากกว่าผลดี

แต่ในปัจจุบันมีสื่อและแอปพลิเคชั่นและส่ือต่างๆมากมายท่ีให้ความบันเทิงและให้ประโยชน์ทางด้าน
การศึกษา ปัจจุบันการศึกษามีความก้าวหน้ามากกว่าในอดีต สามารถเรียนรู้ได้นอก ห้องเรียนและนอกตารา
เรียน เชน่ E-learning ทีส่ ามารถเรียนรู้นอกสถานท่ไี ด้ โดยเป็นการศึกษาผา่ นอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์ เครืออา่ ย
อนิ เทอร์เน็ต ระบบเสยี ง ระบบภาพ และระบบโทรทศั น์ อกี ทั้งยงั ให้ประโยชนม์ ากมายแก่ผใู้ ช้

จากที่กล่าวมาอ้างต้นคณะผู้จัดทาจึงได้คิดค้นวิธีที่จะสามารถทบทวนบทเรียนได้หลังจากเรียนรู้ใน
ห้องเรียนเพ่ือเป็นการทบทวนอีกท้ังยังมีความสนุกสนานในการจาความรู้โดยใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีมา
ประกอบการจัดทา
1.2 วัตถปุ ระสงค์

1. เพือ่ ให้เกิดการศึกษาเรยี นรู้นอกหอ้ งเรยี น
2. เพ่ือกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ ความสนใจในการเรียนรมู้ ากอึ้น
3. เพ่ือให้เกิดความสนุกสนาน ผอ่ นคลาย และได้ความรู้ ตอ่ ผู้เรียน
1.3 สมมติฐาน
สามารถทบทวนความรู้ประวัตศิ าสตร์อองตะวันตกจากแอปพลเิ คช่ันHiQ ได้ และครูผ้สู อนสามารถนา
แอปพลิเคช่ันมาทดสอบนักเรียนหลงั สอนได้
1.4 ขอบเขตของโครงงาน
ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน วนั ท่ี 20 มกราคม – 20 กุมภาพนั ธ์ 2563
1.5 ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะได้รบั
1. เกิดการศกึ ษาเรยี นรู้นอกหอ้ งเรยี น
2. ผู้เรยี นเกดิ ความสนใจในการเรียนรู้มากอึน้
3. ผูเ้ รียนเกดิ ความสนกุ สนาน ผ่อนคลาย และไดค้ วามรู้

2

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยทเี่ ก่ียวข้อง

โครงงานแอปพลิเคชนั ให้ทดสอบความรู้เก่ียวกับประวัตศิ าสตร์สากลมวี ัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือสร้างแอป
พลเิ คชนั ในการเรียนรู้และทบทวนเร่ืองระบบภมู คิ มุ้ กนั ได้ศึกษาเอกสาร และงานวจิ ัยที่เกีย่ วออ้ งดังนี้

1. สงครามโลก
1.1 สงครามโลกคร้งั ท่ี 1
1.2 สงครามโลกครงั้ ท่ี 2

2. สงครามเยน็
3. งานวจิ ัยท่ีเกีย่ วอ้อง
1.สงครามโลก
1.1 สงครามโลกคร้งั ท่ี 1

สงครามโลกคร้ังที่ 1 คือ สงครามความอดั แยง้ ระดับโลกที่เกิดอึน้ ระหวา่ ง ค.ศ.1914 - ค.ศ.
1918 ระหวา่ งฝ่าพันธมติ ร และฝา่ ยมหาอานาจกลาง รือเป็นท่ีรจู้ ักกันว่า "สงครามคร้ังยิ่งใหญ"่ (องั กฤษ: Great
War) หรอื "สงครามเพ่ือยตุ สิ งครามทั้งมวล" (องั กฤษ: War to End All Wars) โดยพบวา่ มที หารกว่า 70 ลา้ น
คนมีสว่ นร่วมในการรบ รวมไปถึงชาวยโุ รปอีกกว่า 60 ล้านคน ผลจากสงครามทาให้มีผูเ้ สยี ชวี ิต บาดเจ็บและ
สญู หาย รวมกนั ไม่ต่ากว่า 40 ล้านคน สงครามโลกคร้ังท่ีหนง่ึ เป็นสงครามความอัดแย้งบนฐาน
การลา่ อาณานคิ ม ระหวา่ งมหาอานาจยุโรปสองค่าย คือ ฝา่ ยไตรพันธมิตร (Triple Alliance) ซง่ึ ประกอบไป
ดว้ ยเยอรมนี และอิตาลี กบั ฝ่าย (Triple Entente) ประกอบไปดว้ ยบริเตนใหญ่ ฝรัง่ เศสและรัสเซีย

สาเหตขุ องสงครามโลกครัง้ ท่ี 1
สาเหตอุ องสงครามโลกคร้ังท่ีหน่ึงก็คือ การลอบปลงพระชนมอ์ ารค์ ดุยค ฟรานซ์

เฟอรด์ ินานด์ รชั ทายาทอองบัลลงั กจ์ กั รวรรดอิ อสเตรีย-ฮังการี โดยกัฟรีโล ปรินซปี ชาวเซิรบ์ บอสเนยี ซ่ึงเป็น
สมาชกิ อองแก๊งมือมดื และการแกแ้ คน้ อองจกั รวรรดอิ อสเตรีย-ฮังการีต่อราชอาณาจกั รเซอร์เบยี ก็ทาให้
เกิดปฏิกริ ยิ าลูกโซ่ก่อให้เกดิ สงครามครั้งใหญป่ ะทอุ ึ้นในทวีปยุโรป ภายในหนึ่งเดือน ทวีปยโุ รปส่วนมากกอ็ ยูใ่ น
สภาวะสงคราม แต่ความอดั แยง้ ทมี่ ีมาต้ังแต่การรวมชาติเยอรมนี ต้ังแต่ ค.ศ. 1871 นั้นทาใหย้ ุโรปต้องอยู่ใน
สมดลุ แห่งอานาจซง่ึ ยากแก่การรักษา การแอ่งอนั ทางทหาร อตุ สาหกรรมและการแย่งชิงดินแดนก็ทาใหว้ กิ ฤต
สุกงอมจนกระท่งั ปะทุออกมาเป็นสงคราม สงครามครง้ั นไ้ี ดแ้ บง่ ออกเป็นสองฝ่าย คือ มหาอานาจไตรภาคี
(องั กฤษ: Triple Entente) ซง่ึ เดมิ ประกอบดว้ ย ฝรง่ั เศส สหราชอาณาจกั ร จกั รวรรดริ ัสเซยี รวมไปถงึ ประเทศ
อาณานิคมด้วย โดยส่วนใหญร่ ัฐท่ีเอ้ารว่ มสงครามในภายหลงั จะเอ้าร่วมกบั ฝา่ ยพันธมติ ร โดยชาติมหาอานาจที่
เอา้ สู่สงคราม ได้แกจ่ ักรวรรดญิ ีป่ นุ่ เมือ่ เดือนสิงหาคม 1914 อติ าลี เมอื่ เดือนเมษายน 1915 และสหรฐั อเมริกา

3

เมอ่ื เดือนเมษายน 1917 และฝ่ายมหาอานาจกลาง (องั กฤษ: Central Powers) ซง่ึ เดิมประกอบดว้ ย จักรวรรดิ
เยอรมนีจกั รวรรดิออสเตรีย-ฮังการีและดินแดนอาณานิคมจักรวรรดิออตโตมานได้เอา้ ร่วมกับฝา่ ยมหาอานาจ
กลางเมื่อเดอื นตลุ าคม 1914 และบลั แกเรียในอกี ปีใหห้ ลงั ระหวา่ งช่วงสงคราม ประเทศทีว่ างตวั เปน็ กลางใน
ทวปี ยโุ รปได้แกเ่ นเธอร์แลนด์สวิตเซอรแ์ ลนด์สเปนและประเทศตามคาบสมุทรสแกนดเิ นเวีย แมว้ ่าประเทศ
เหล่านอ้ี าจจะเคยสง่ เสบียงและยุทโธปกรณ์ไปชว่ ยเหลือบางประเทศที่รบอยู่ การสู้รบท่ีเกิดอ้นึ ตามแนวรบดา้ น
ตะวันตกเกดิ อ้ึนไปตามระบบ สนามเพลาะ และป้อมปราการซง่ึ ถูกแยกออกจากกันดว้ ยดนิ แดนรกร้างแนว
ปราการเหลา่ นตี้ รึงอนานออกไป เป็นระยะมากกวา่ 600 กิโลเมตรและเป็นสว่ นสาคญั อองสงครามสาหรบั คน
จานวนมากส่วนในแนวรบด้านตะวันออกที่ราบฝ่ัตะวนั ออกทกี่ วา้ งอวางและเครืออา่ ยทางรถไฟท่จี ากัดทาให้
การรบในสนามเพลาะไม่สามารถทาได้ แม้วา่ ความรุนแรงอองความอดั แยง้ ในดา้ นตะวนั ออกนนั้ จะพอ ๆ กับ
ดา้ นตะวันตกก็ตาม แนวรบตะวันออกกลางและแนวรบอิตาลกี ็มกี ารสูร้ บกันอย่างดุเดือดเช่นกันและการสู้รบก็
ยังลกุ ลามไปยังน่านนา้ และเป็นคร้ังแรกในประวัติศาสตร์ คอื การรบกลางอากาศ

สงครามโลกคร้ังที่หนึ่งสิน้ สุดลงดว้ ยชยั ชนะอองฝา่ ยพันธมิตร และความปราชัยออง
ฝ่ายมหาอานาจกลาง ภายหลังสงคราม ได้มกี ารเซน็ สนธสิ ัญญาจานวนมาก แต่ทสี่ าคัญ คือ สนธสิ ัญญาแวร์
ซายส์ เม่ือวันที่ 28 มถิ นุ ายน 1919 แม้วา่ ฝา่ ยเยอรมนีจะยอมสงบศึกไปก่อนแล้วในปี 1918 ผลทส่ี าคัญอยา่ ง
หนึ่งอองสงครามกค็ ือการวาดรปู แผนทีย่ โุ รปใหม่ประเทศฝ่ายมหาอานาจกลางสญู เสียดินแดนอองตนเปน็
จานวนมากและทาให้เกดิ ประเทศใหม่อน้ึ มาในยุโรปตะวันออกเยอรมนสี ญู เสียอาณานิคมโพน้ ทะเลทั้งหมด
รวมไปถงึ การต้องชดใช้คา่ ปฏิกรสงครามจานวนมหาศาลและการต้องทนการถูกตราหนา้ ว่าเป็นผ้เู รมิ่ สงคราม
จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการีได้แตกออกเป็นประเทศเอกราชใหม่ ได้แก่ ออสเตรีย ฮังการี เชโกสโลวาเกยี
ยโู กสลาเวยี จักรวรรดอิ อตโตมานล่มสลายแผ่นดนิ เดมิ อองจักรวรรดนิ อกจากทีร่ าบสงู อนาโตเลีย ไดถ้ กู แบ่งให้
กลายเปน็ อาณานคิ มอองผชู้ นะสงครามทัง้ หลายสว่ นชาวอาหรับเดิมได้กลายเป็นประเทศตุรกี จกั รวรรดิรสั เซีย
ซ่งึ ไดถ้ อนตัวจากสงครามในปี1917ไดส้ ญู เสียดนิ แดนอองตนเปน็ จานวนมากทางชายแดนดา้ นตะวนั ตก
กลายเปน็ ประเทศใหม่ ได้แก่ เอสโตเนีย ฟนิ แลนด์ ลัตเวยี ลทิ วั เนยี และ โปแลนด์ และไดม้ กี ารก่อตั้ง สันนิบาต
ชาติเพือ่ เป็นองคก์ ารระหวา่ งประเทศทมี่ ีจดุ ประสงคเ์ พ่ือการแก้ไอปญั หาระหวา่ งประเทศด้วยวิธกี ารทางการ
ทตู สงครามโลกคร้ังทีห่ นึง่ ถอื เป็นจดุ สิน้ สดุ อองยุคระเบียบโลกทีเ่ กิดอึ้นหลงั
จากสงครามนโปเลียน และยังเปน็ ปจั จัยสาคญั ทีท่ าให้สงครามโลกครงั้ ทีส่ องเกิดอึ้น

ผลกระทบของสงครามโลกคร้ังที่ 1
หลงั จากทส่ี หรฐั อเมริกาได้เอ้าร่วมรบและประกาศศักดาในสงครามครั้งน้ีทาให้

สหรฐั อเมริกาได้กา้ วเอ้ามาเป็นหนง่ึ ในมหาอานาจโลกเสรีบนเวทีโลกเคยี งคู่กับอังกฤษและฝรง่ั เศส รสั เซีย
กลายเปน็ มหาอานาจโลก

4

สังคมนิยม หลังจากเลนนิ ทาการปฏิวตั ยิ ึดอานาจ และตอ่ มาเม่ือสามารถอยายอานาจไปผนวกแคว้นต่าง ๆ มาก
อ้นึ เชน่ ยูเครน เบลารุส ฯลฯ จงึ ประกาศจดั ต้ังสหภาพโซเวียต (Union of Soviet Republics -USSR) ในปี
ค.ศ. 1922 เกิดการรา่ งสนธิสญั ญาแวร์ซาย (The Treaty of Veraailles) โดยฝ่ายชนะสงครามสาหรบั
เยอรมนี และสนธิสญั ญาสันติภาพอกี 4 ฉบบั สาหรับพนั ธมิตรอองเยอรมนี เพื่อให้ฝ่ายผู้แพย้ อมรับผิดในฐานะ
เป็นผู้ก่อให้เกดิ สงครามในสนธสิ ญั ญาดังกลา่ วฝา่ ยผู้แพ้ต้องเสยี ค่าปฏกิ รรมสงคราม เสียดนิ แดนทงั้ ในยโุ รปและ
อาณานิคมต้องลดกาลังทหารอาวุธและตอ้ งถูกพนั ธมิตรเอา้ ยดึ ครองดินแดน จนกวา่ จะปฏบิ ัตติ ามเงอื่ นไอออง
สนธิสัญญาเรยี บรอ้ ยอยา่ งไรก็ตามด้วยเหตุทปี่ ระเทศผูแ้ พ้ไม่ได้เอา้ รว่ มใน การรา่ งสนธสิ ัญญา แต่ถูกบบี บังคบั
ให้ลงนามยอมรบั อ้อตกลงอองสนธิสญั ญาจงึ กอ่ ให้เกดิ ภาวะตงึ เครยี ดอ้ึน เกดิ การก่อตัวอองลทั ธิฟาสซิสต์ใน
อิตาลี นาซีในเยอรมัน และเผด็จการทหารในญป่ี ุน่ ซ่ึงท้ายสุดประเทศมหาอานาจเผด็จการทงั้ สามไดร้ ่วมมือ
เป็นพันธมิตรระหว่างกนั เพ่ือต่อต้านโลกเสรีและคอมมิวนสิ ต์ เรยี กกันวา่ ฝ่ายอักษะ (Axis) มีการจัดตั้งอ้ึนเป็น
องค์กรกลางในการเจรจาไกลเ่ กล่ยี ออ้ พิพาทระหว่างประเทศ เป็น ความรว่ มมือระหว่างประเทศ เพื่อรกั ษา
ความมน่ั คงปลอดภยั และสันติภาพในโลก แตค่ วามพยายามดงั กล่าวก็ดูจะลม้ เหลว เพราะในปี ค.ศ. 1939 ได้
เกดิ สงครามท่รี ุนแรงอนึ้ อีกครั้ง น่นั คือ สงครามโลกคร้งั ที่ 2

ไทยกับสงครามโลกครง้ั ท่ี 1

เมอ่ื เกดิ สงครามโลกครั้งท่ี 1 อ้นึ ในยโุ รปใน พ.ศ. 2457 นั้น ประเทศไทยยังคงยดึ มน่ั

อยใู่ นความเปน็ กลางแตพ่ ระ บาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัวได้ทรงสังเกตความเคลอื่ นไหวอองคูส่ งคราม

อย่างใกล้ชิดการสงครามไดร้ นุ แรงอึน้ เป็นลาดบั ทรงเหน็ ว่าฝา่ ยเยอรมนีเป็นฝา่ ยรุกรานจึงทรงตัดสนิ พระ ทัย

ประกาศสงครามกับเยอรมนแี ละออสเตรีย -ฮงั การี เมอื่ วนั ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 แล้วประกาศเรยี กพล

ทหารอาสาสาหรบั กองบนิ และกองยานยนต์ทหารบก เพื่อสง่ ไปช่วย สงครามยุโรป การส่งทหารไปรบครั้งน้ี

นบั ว่าเป็นประโยชน์ เพราะเทา่ กับได้เรียนร้วู ิชาการทางเทคนิคการรบและ

การช่างในสมรภมู จิ รงิ ๆ เม่ือเสร็จสงครามสัมพนั ธมิตรเปน็ ฝา่ ยชนะ ประเทศไทย ไดส้ ่งผู้แทนเอา้ ประชมุ ณ

พระราชวงั แวรซ์ าย ด้วยผลพลอยได้จากการเอ้าสงครามน้ี กค็ อื สญั ญาตา่ งๆ ที่ไทยทากับเยอรมนีและออสเตรีย

-ฮงั การี ย่อมสน้ิ สุดลงตงั้ แตไ่ ทยประกาศสงครามกับประเทศนั้น และไทยก็ได้พยายามออเจรจาออ้ แก้

ไอสนธิสัญญาฉบับเก่า ซ่ึงทาไวก้ บั องั กฤษ ฝรั่งเศส และ ชาตอิ ืน่ ๆ แต่ก็ประสบความยากลาบากอยา่ งมาก อาศยั

ทไ่ี ทยไดค้ วามชว่ ยเหลือจาก ดร. ฟราน ซสิ บี แซยร์ (Dr. Francis B. Sayre) ชาวอเมริกาซึง่ เคยเปน็ ท่ีปรกึ ษา

ตา่ งประเทศจนไดร้ ับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยากัลยาณไมตรี ในท่ีสุดประเทศต่างๆ 13 ประเทศ

รวมท้ังองั กฤษ ตามสนธสิ ญั ญา พ.ศ. 2468 และ ฝร่งั เศส ตามสนธิสญั ญา พ.ศ. 2467 ตกลงยอมแก้ ไอสัญญา

โดยมเี งื่อนไอบางประการ เช่น จะยอมยกเลิกอานาจศาลกงสลุ เมอ่ื ไทยมีประมวลกฎหมายครบถ้วน และยอม

ให้อิสรภาพในการเกบ็ ภาษอี าการ ยก เวน้ บางอย่างท่ีองั กฤษออลดหย่อนต่อไปอกี 10 ปีเช่น ภาษสี ินคา้ ฝ้ายเป็น

เหลก็ ไทยพยายามเร่งชาระประมวลกฎหมายตา่ งๆ ต่อมาจนแล้วเสรจ็ และเปดิ การเจรจาอีกคร้ังหนึ่งในท่ีสดุ

5

ประเทศตา่ งๆ กย็ อมทาสัญญาใหม่กับไทย เมื่อ พ.ศ. 2480 ไทย ได้อิสรภาพทางอานาจศาล และภาษอี ากรคนื
มาโดยสมบูรณ์

1.2 สงครามโลกครั้งท่ี 2

สงครามโลกครั้งท่ีสองเปน็ ความอดั แยง้ ระหว่างคูส่ งคราม คือ ฝา่ ยอักษะ ประกอบดว้ ย
เยอรมนี อิตาลีและญ่ีปนุ่ อีกฝา่ ยหนงึ่ ได้แก่ องั กฤษ ฝรั่งเศส และรสั เซีย ตอ่ มาจงึ มีประเทศอื่นๆ เอา้ รว่ ม
สงคราม ทาให้สงครามอยายไปทว่ั โลก

สาเหตุสงครามโลกคร้งั ที่ 2

-สนธิสญั ญาสันตภิ าพที่ไม่เปน็ ธรรม
ระบุให้ประเทศทแี่ พส้ งครามโลกครง้ั ที่ 1 ชดใชค้ า่ เสยี หาย ค่าปฏิกรรมสงครามและเสยี ดินแดน เช่นสนธสิ ัญญา
แวร์ซายส์ เยอรมนี ต้องเสยี อาณานิคม ต้องคนื แค้วนอลั ซาล – ลอเรนแก่ฝรั่งเศส โปเซนและปรัสเซยี ตะวันตก
ให้โปแลนด์ มอรสเนทยูเพน และมลั เมดี ใหเ้ บลเยีย่ ม ชเลสวิคและโฮลสไตน์ ให้เดนมาร์กแคว้นซูเดเตน
ให้เชคโกสโลวาเกยี และเมเมลให้ลทิ ัวเนีย จา่ ยค่าปฏิกรรมสงคราม ปลี ะ 5 พนั ล้านดอลลาร์ ถกู จากดั กาลงั
ทหารมีทหารไดไ้ ม่เกนิ 100,000 คน หา้ มเกณฑท์ หารเปน็ ตน้ จากเหตุการณด์ ังกล่าวเป็นการกระตนุ้ ใหเ้ กิด
สงครามโลกคร้ังท่ี2อนี้ ฮิตเลอร์และพรรคนาซีได้ปลุกระดมตอ่ ต้านการเสยี คา่ ปฏิกรรมสงคราม และนาความอด
ยาก ยากจนมาใหป้ ระชาชนอย่างต่อเน่ือง

-ความอ่อนแออององคก์ ารสนั นบิ าตชาติ ท่ไี มส่ ามารถบงั คบั ประเทศท่ีเป็นสมาชิก
และไม่ปฏิบัตติ ามสัตยาบนั ได้

-ความแตกตา่ งทางดา้ นการปกครอง กลมุ่ ประเทศฟาสซิสต์มคี วามเอ้มแอ็งมากอึ้น
ไดร้ วมกันเปน็ มหาอานาจอกั ษะ (Berlin-Rome-Tokyo Axis ) จดุ ประสงคแ์ รก คอื เพื่อตอ่ ตา้ นรสั เซยี ซ่ึงเปน็
คอมมวิ นิสต์ ตอ่ มาได้อยายไปสู่การต่อตา้ นชนชาตยิ ิวและนาไปสู่ความอดั แย้งกบั ประเทศฝ่ายสมั พนั ธมติ ร

-บทบาทอองสหรัฐอเมริกา สหรัฐปิดประเทศโดดเดี่ยว สมยั ประธานาธบิ ดมี อนโร
ตามแนวคดิ ในวาทะมอนโร สหรฐั จะไม่แทรกแซงกจิ การประเทศอื่นและไม่ยอมให้ประเทศอ่ืนมาแทรกแซง
กิจการอองตนเม่อื เกดิ วิกฤตเศรษฐกิจหลงั สงครามโลกคร้งั ท่ี 1 และรฐั บาลไมส่ ามารถแก้ปัญหาได้ ประชาชนจึง
เลอื กพรรคเดโมแครตเอา้ มาเปน็ รฐั บาลปกครองประเทศโดยประธานาธบิ ดี แฟรงคลนิ ดี รุสเวลท์ ได้รบั เลอื ก
ต่อกนั ถึงสส่ี มัย(ค.ศ.1933–1945)

-ชนวนทนี่ าไปส่สู งครามโลกครัง้ ที่ 2 ฉนวนโปแลนด(์ Polish Corridor) มีชาวเยอรมนี
อาศัยอยู่มาก เยอรมนเี สยี ดินแดนส่วนนใี้ หแ้ กโ่ ปแลนด์ตามสนธสิ ัญญาแวร์ซาย์ และฉนวนโปแลนดย์ ังแบง่ แยก
ดนิ แดนเยอรมนีเป็นสองสว่ น คือส่วนปรสั เซียตะวนั ตกและปรัสเซยี ตะวันออก ฮิตเลอร์ ออสรา้ งถนนผ่านฉนวน
โปแลนดไ์ ปปรัสเซียตะวนั ออก องั กฤษและฝรั่งเศสคดั ค้าน ฮิตเลอรจ์ งึ ยกเลกิ สัญญาทเ่ี ยอรมนีจะไม่รุกราน
โปแลนด์ และทาสญั ญาไม่รุกรานกบั สหภาพโซเวยี ต เยอรมนีเร่ิมสงครามด้วยการบุกโปแลนด์ 1 กันยายน ค.ศ.

6

1939 แบบสายฟา้ แลบ (Blitzkrieg) อังกฤษและฝร่งั เศสประกาศเอ้ารว่ มสงคราม ดา้ นมหาสมทุ รแปซิฟิก ญ่ีปนุ่
บกุ แมนจเู รียในปี ค.ศ.1931 และเสนอแผนการทีจ่ ะสถาปนา “วงไพบูลย์แห่งมหาเอเชยี บรู พา” เพื่อ
ผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจและด้านอ่นื ๆ ญ่ปี ุ่นโจมตฐี านทัพเรือสหรฐั อเมริกาที่ อ่าวเพริ ์ล ฮาร์เบอร์ เมื่อ
วนั ที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 สหรัฐจงึ เอา้ สู่สงครามโลกคร้ังทส่ี อง โดยประกาศสงครามเอ้ารว่ มกับฝ่ายพันธมิตร
อณะเดียวกนั ญป่ี ุน่ เปิดสงครามในตะวันออกเฉยี งใตห้ รอื เรียกวา่ “สงครามมหาเอเชียบรู พา”

สงครามโลกในยโุ รปสิน้ สดุ ลงเมือ่ กองทัพสมั พนั ธมิตรบุกเอ้าเบอร์ลินในเดือนมถิ ุนายน ค.ศ.
1944 และเมื่อสหรัฐอเมริกาทิ้งระเบดิ ปรมาณูท่ีเมืองฮิโรชิมาและเมืองนางาซากิ ในวนั ที่ 6 และ 9 สิงหาคม ค.ศ.
1945 สงครามโลกจงึ สนิ้ สุดลง

ผลของสงครามโลกคร้งั ท่ีสอง

เกิดองค์การสหประชาชาติเพื่อดาเนินงานแทนองค์การสนั นิบาตชาติ ด้วย

วตั ถุประสงคเ์ พอ่ื รักษาสนั ตภิ าพอองโลกและใหก้ ลุ่มสมาชิกร่วมมือชว่ ยเหลอื กนั นบั ว่ามีความเอม้ แอ็งกว่าเดิม

เพราะสหรัฐอเมรกิ าเอ้าร่วมเปน็ สมาชกิ ผกู้ ่อตง้ั และมกี องทหารอองสหประชาชาติ ทาให้เกิดสงครามเยน็ ตง้ั แต่

หลังสงครามโลกคร้งั ทีส่ องเป็นต้น ประเทศสหภาพโซเวียต ปกครองโดยสมยั สตาร์ลินมีนโยบายอยายลทั ธิ

คอมมวิ นสิ ตไ์ ปสู่ ยุโรปตะวันออก และเยอรมนีตะวันออก ซึง่ มีทหารรัสเซียเอ้าปลดปล่อยดินแดนเหล่านี้จาก

อานาจฮิตเลอรใ์ นสงครามโลกครั้งท่ีสอง อณะทส่ี หรัฐต้องการสกดั กัน้ การอยายตวั ดังกล่าว และเผยแผ่การ

ปกครองแบบเสรีประชาธปิ ไตยในประเทศต่าง ๆ โดยเฉพาะดินแดนอาณานิคมทป่ี ระกาศเอกราช เปน็ ประเทศ

ใหม่หลังสงครามโลกคร้ังท่ีสอง จนเกดิ สภาวการณท์ ่เี รยี กว่า สงครามเย็น( Cold War )

2. สงครามเยน็

สงครามเย็น คือ การประจันหน้าดา้ นอุดมการณ์ทางการเมืองระหว่างประเทศสหรฐั อเมริกา ผนู้ าลทั ธิ
เสรีประชาธิปไตยกบั สหภาพโซเวียตประเทศ ผ้นู าลทั ธิคอมมิวนิสต์ เปน็ การปะทะกนั ทุก ๆ วถิ ที าง ยกเว้นด้าน
การทหาร การอยายอานาจในสงครามเยน็ จึงเป็นลักษณะการแสวงหาพรรคพวกร่วมอุดมการณ์และแอง่ อันกนั
เป็นมหาอานาจทางการเมือง การทหาร และเศรษฐกจิ โดยไมท่ าสงครามกันอย่างเปิดเผย แตเ่ ปน็ การสนับสนนุ
ให้ประเทศทเี่ ป็นพวกอองแต่ละฝ่ายทาสงครามตวั แทน

สาเหตุของสงครามเย็น
สหรฐั อเมริกาได้ประกาศวาทะทรแู มน (Trueman Doctrine)ในค.ศ 1947 มสี าระสาคัญว่า

สหรัฐอเมรกิ าจะโต้ตอบการคุกคามอองประเทศคอมมิวนิสต์ทกุ รูปแบบและทุกสถานที่ แล้วแตส่ หรัฐจะ
เห็นสมควร โดยไม่จากดั อนาด เวลา และสถานท่ี จะให้ความช่วยเหลือประเทศต่าง ๆ ให้พ้นจากการคุกคาม
อองลทั ธิคอมมวิ นิสต์ พร้อมทั้งให้ความชว่ ยเหลอื แก่กรซี และตรุ กเี ป็นตวั อยา่ ง สืบเนื่องมาจากสหภาพโซเวยี ต
เผยแพร่ลทั ธคิ อมมิวนสิ ต์และแทรกแซงให้ความช่วยเหลือกบฏในตุรกแี ละกรกี เพอื่ จัดต้ังรัฐบาลคอมมวิ นสิ ต์

7

การประกาศวาทะทรูแมนจึงเป็นจดุ เริม่ ต้นสงครามเย็นท่ีแทจ้ ริงตอ่ มาสหรฐั ไดป้ ระกาศแผนการมารแ์ ชล
(Marshall Plan)เพ่อื ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ทางเศรษฐกจิ กบั ยุโรปตะวนั ตก อณะเดียวกนั สหภาพโซเวียตได้ตอบโต้
ด้วยการจดั ตง้ั องค์การโคมนิ ฟอร์ม(Cominform) ใน ค.ศ. 1947 เพื่ออยายลัทธคิ อมมิวนสิ ต์สูป่ ระเทศต่าง ๆ
และสญั ญาว่าจะใหค้ วามช่วยเหลือทางเศรษฐกจิ แก่ ประเทศทเ่ี ปน็ คอมมวิ นิสต์ โดยเฉพาะในยุโรปตะวันออก
ตอ่ มาได้ซึ่งพฒั นามาเปน็ องค์การ โคมนิ เทอร์น (Comintern) การเผชญิ หน้าทางทหาร ใน ค.ศ. 1949
สหรฐั อเมรกิ าได้จดั ตง้ั องค์การสนธิสัญญาปอ้ งกนั รว่ มกันแห่งแอตแลนติกเหนือ (North Atlantic Treaty
Organization ) ประกอบด้วยภาคี 12 ประเทศ คอื อังกฤษ ฝรง่ั เศส เบลเยยี ม เนเธอรแ์ ลนด์ ลกั ซัมเบอร์ก
สหรฐั อเมรกิ า แคนาดา เดนมาร์ค ไอซ์แลนด์ อติ าลี นอรเ์ วย์และเปอรต์ ุเกส ต่อมาตรุ กีและกรซี ไดเ้ อา้ เปน็
สมาชิกและในค.ศ.1955 เยอรมนตี ะวันตกไดเ้ อ้าเป็นสมาชกิ ด้วยในค.ศ.1955 สหภาพโซเวียตได้ชักชวนให้
ประเทศในยโุ รปตะวันออกลงนามในสนธสิ ญั ญาวอร์ซอร์ ( Warsaw Pact)ซึง่ เป็นสนธสิ ัญญาว่าดว้ ยความ
รว่ มมอื ทางทหาร ประเทศภาคี คือ สหภาพโซเวยี ต เยอรมนีตะวันออก โปแลนด์ ฮังการี รูมาเนยี บลั กาเรีย
และเชคโกสโลวาเกีย

วิกฤตการณเ์ บอรล์ ิน (The Berlin Blockade)

ค.ศ.1948เบอรล์ นิ ถกู แบ่งเปน็ 4 สว่ นแบ่งเอตยดึ ครองคอื ฝรั่งเศส อังกฤษ สหรัฐอเมรกิ า ได้
สว่ นยดึ ครองทางเบอร์ลนิ ตะวันตกและเยอรมนตี ะวนั ตก สหภาพโซเวียตไดเ้ บอร์ลนิ ส่วนตะวนั ตกและเยอรมนี
ตะวันตก เมอ่ื สนิ้ สดุ สงครามโลกครง้ั ท่สี องสหภาพโซเวียตได้ประกาศปิดล้อมเบอรล์ นิ ไม่ใหส้ ัมพนั ธมิตรเอา้ ออก
เบอรล์ ินในวันที่ 19 มถิ ุนายน 1948 ถงึ พฤษภาคม 1949 มิใหม้ กี ารตดิ ต่อกับภายนอก เพ่ือบังคบั ใหม้ หาอานาจ
ตะวนั ตกละทงิ้ เบอรล์ นิ โดยปดิ เสน้ ทางคมนาคมทางบก ทางน้า ตดั กระแสไฟฟ้าประเทศสมั พันธมิตรและคณะ
มนตรีความมนั่ คงแกป้ ัญหาโดยการใช้เคร่ืองบนิ บรรทุกเครื่องอปุ โภคบรโิ ภคไปโปรยให้ชาวเบอรล์ ินตะวันตก
เปน็ เวลากวา่ 1 ปี เหตกุ ารณ์ดังกลา่ วนาไปส่กู ารแบง่ แยก เยอรมันนีเปน็ 2 ประเทศและแบง่ เบอรล์ ินเป็น 2 ส่วน
อยา่ งถาวร

3. งานวิจยั ทเ่ี กยี่ วข้อง

หทยั รตั น์ อจรบุญ ดร. พิชยา พรมาลี และ ดร. เนติ เฉลยวาเรศ ไดท้ าการศึกษาความสมัพนั ธระ์ หวา่ ง
พฤติกรรมการเล่นเกมคอมพวิ เตอรก์ บั ผลการเรียนอองนักเรียนระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนต้น จงั หวัดชัยนาท
การวจิ ัยครง้ั นีม้ ีความมุ่งหมายเพ่อื 1) ศกึ ษาพฤติกรรมการเล่นเกมคอมพิวเตอรอ์ อง นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศึกษา
ตอนต้น จงั หวดั ชยั นาท และ 2) ศกึ ษาความสัมพนั ธ์ระหว่างพฤติกรรม การเล่นเกมคอมพวิ เตอรก์ ับผลการเรยี น
อองนักเรียน กลุม่ ตวั อยา่ ง คือ นกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษา ตอนตน้ จังหวัดชยั นาท สงั กดั ส านักงานเอตพื้นท่ี
การศึกษามัธยมศึกษา เอต 5 จังหวัดชยั นาท ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2555 จ านวน 375 คน ค านวณจาก
สตู รอองยามาเน่ และท าการสมุ่ แบบแบ่งชัน้ ภูมิตามอนาดโรงเรยี น เครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการวจิ ยั เป็นแบบสอบถาม
เร่ือง ความสัมพนั ธ์ระหว่างพฤติกรรมการเล่นเกมคอมพิวเตอร์กบั ผลการเรยี นอองนกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษา

8

ตอนตน้ จงั หวัดชัยนาท มีค่าความเช่ือมนั่ เท่ากับ 0.703 วเิ คราะห์ออ้ มลู โดยหา ค่า ร้อยละ ค่าเฉลีย่ สว่ น
เบยี่ งเบนมาตรฐานและไคสแควร์ ผลการวจิ ัยพบวา่ 1. พฤติกรรมการเล่นเกมคอมพวิ เตอรอ์ องนักเรยี นสว่ น
ใหญ่ชอบเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ประเภท เกมออนไลน์โดยเล่นทีบ่ า้ นตนเองมากทสี่ ุด คิดเป็นร้อยละ 66.00 วนั ท่ี
เลน่ เกม คอมพิวเตอร์มากท่สี ดุ คือ วันเสาร์-อาทติ ย์ คดิ เปน็ ร้อยละ 64.70 เวลาทใี่ ชใ้ นการเล่นเกม คอมพิวเตอร์
แตล่ ะครั้งมากที่สดุ คือ 1 ช่ัวโมง คดิ เป็นรอ้ ยละ 45.50 ช่วงเวลาที่ใช้ในการเล่นเกม คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่คือ
13.00 - 16.00 น. คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.00 และนกั เรียนชอบเล่นเกม คอมพวิ เตอร์คนเดยี วมากทส่ี ุด คดิ เปน็ ร้อย
ละ 52.80 2. พฤติกรรมการเล่นเกมคอมพิวเตอร์อองนักเรียน เมอ่ื จ าแนกตาม ประเภทอองเกม คอมพิวเตอร์
สถานทีเ่ ล่นเกมคอมพิวเตอร์ วันทเ่ี ล่นเกมคอมพวิ เตอร์ เวลาท่ีใช้ในการเล่น เกมคอมพิวเตอรแ์ ตล่ ะครั้ง
ชว่ งเวลาในการเล่นเกมคอมพิวเตอรแ์ ละบุคคลที่นักเรียนร่วมเลน่ เกม คอมพวิ เตอร์ ไม่มีความสัมพนั ธก์ ับผลการ
เรยี นอองนักเรียน

9

บทที3่
วิธกี ารจัดทาโครงงาน

โครงงานแอปพลเิ คชนั ให้ทดสอบความรู้เกย่ี วกบั ประวตั ิศาสตร์สากลมวี ัตถุประสงคเ์ พอ่ื สร้าง
แอปพลิเคชัน ในการเรียนรู้และทบทวนเร่อื งระบบภูมิคุ้มกัน ไดศ้ กึ ษาเอกสาร และงานวิจยั ท่ีเกย่ี วออ้ งดงั น้ี

3.1 วัสดอุ ปุ กรณ์
3.1.1 หนังสอื ประวัติศาสตรโ์ ลกมัธยมศึกษาปที ี่ 5
3.1.2 โปรแกรมThunkable
3.1.3 โปรแกรม Anyflip
3.1.4 เครอื่ งคอมพิวเตอรเ์ ชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต

3.2 ขนั้ ตอนการดาเนนิ การ
3.2.1 คดิ หวั ออ้ โครงงานเพ่ือนาเสนออาจารย์ที่ปรกึ ษา
3.2.2 ศกึ ษาค้นควา้ รวบรวมอ้อมูล
3.2.3 ศึกษาวธิ กี ารใชโ้ ปรแกรม Thunkable
3.2.4 จัดทาโครงร่างอองโครงงาน
3.2.5 ออกแบบสือ่ เพ่ือการศึกษา
3.2.6 จัดทาโครงงาน
3.2.7 ให้ผูอ้ นื่ ทดลองและทาแบบสอบถาม
3.2.8 เผยแผ่ผลงานโดยนาเสนอลง Youtube
3.2.9 ทาเอกสารสรุปรายงานโครงงาน

3.3 เครอื่ งมอื ในการประเมินโครงงาน
เคร่อื งมอื ท่ีใช้ในการทาโครงงานแอปพลเิ คชน่ั ทดสอบความรู้เก่ยี วกบั ประวัติศาสตร์สากลประกอบ

ดว้ ยแบบสอบถามจานวน5อ้อ
3.3.1 แบบทดสอบ/แบบประเมนิ /แบบสอบถาม ที่คณะผจู้ ัดทา สร้างอน้ึ จานวน 5 อ้อ
3.3.2 แบบวัดความพงึ พอใจจานวน 5 ออ้ จานวน 1 ชุด โดยกาหนดเกณฑแ์ ปลผลดงั น้ี

5 หมายถงึ มากท่สี ดุ
4 หมายถงึ มาก
3 หมายถึง ปานกลาง
2 หมายถึง น้อย
1 หมายถึง นอ้ ยทีส่ ุด

10

โดยกาหนดเกณฑแ์ ปลผลคา่ เฉลย่ี ความพงึ พอใจดังนี้
4.51 – 5.00 หมายถงึ มากทีส่ ุด
3.51 – 4.50 หมายถึง มากท่ีสุด
2.51 – 3.50 หมายถึง มากที่สุด
1.51 – 2.50 หมายถงึ มากทส่ี ุด
1.00 – 1.50 หมายถึง มากท่ีสุด

3.3.3 การเกบ็ รวบรวมอ้อมลู
1.วางแผนแบบสอบถาม
2.นาแบบสอบถาม ไปแจกวนั ท่ี 16 ก.พ. และเก็บรวบรวมอ้อมลู วันท่ี 19 ก.พ. 63 ได้

แบบสอบถามประมาณ 100 ชุด
3.ใช้ Google form ในการทาแบบสารวจและนาลิงก์ส่งให้กบั ประชากร

3.3.4 การวเิ คราะห์
1.จากสูตรค่าเฉลย่ี
2.นาออ้ มูล่ีใช้ที่ถูกต้องแลว้ นาไปใช้กบั ประชากรจริง

3.3.5 สถิตทิ ่ใี ชใ้ นการวิเคราะหอ์ อ้ มูล
1. ) ค่าเฉลี่ย (Mean) หรอื เรียกว่าค่ากลางเลอคณิต คา่ เฉลี่ย คา่ มชั ณมิ เลอคณิต เปน็ ตน้

เมื่อ x̄ แทน คา่ เฉลีย่
∑X แทน ผลรวมอองคะแนนทั้งหมดอองกลุ่ม
n แทน จานวนอองคะแนนในกลุม่ ค่าเฉล่ยี

2. ) ร้อยละ (Percentage) เป็นคา่ สถิตทิ ่นี ิยมใช้กนั มาก โดยเปน็ การเปรียบเทยี บความถี่ หรือจานวน
ทตี่ ้องการกับความถ่ีหรือจานวนทง้ั หมดที่เทยี บเปน็ 100

หาค่ารอ้ ยละจากสูตรต่อไปนี้

เม่อื P แทน ค่ารย้ ละ
f แทน ความถท่ี ตี่ ้องการแปลงให้เปน็ คา่ รอ้ ยละ
N แทน จานวนความถี่ทงั้ หมด

11

บทท่ี4

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล

จากการจดั ทาโครงงานแอปพลิเคชันเกมประวตั ิศาสตรต์ ะวันตกได้มกี ารรวบรวมและประเมนิ ผลความ
พงึ พอใจจากผู้ทไ่ี ด้ทดลองเลน่ เกมประวัติศาสตรต์ ะวนั ตกเพื่อดูระดบั ความพงึ พอใจ ผ้จู ดั ทาได้นาเสนอการ
วิเคราะหอ์ ้อมูลและการแปลผลออ้ มลู ดงั ตารางน้ี

ระดับความพึงพอใจ

หัวข้อประเมนิ มากทสี่ ุด มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ย x̄
54 3 2 ท่ีสดุ
1. ความพอใจในแอปพลิเคชนั
2. ความรู้ทไ่ี ดร้ ับจากแอปพลเิ คชัน 1
3.ความสนกุ ท่ีได้จากแอปพลิเคชนั
4.ความสวยงามอองแอปพลเิ คชนั 44 40 14 3 1 3.49

40 39 18 1 4 4.16

47 28 20 3 4 4.17

38 27 27 9 1 3.98

จากตารางผลการดาเนนิ โครงงาน พบว่าผู้ทดลองมีความพึงพอใจเรือ่ งความสนกุ ทไ่ี ดจ้ ากแอปพลเิ คชนั
มากทส่ี ดุ โดยมีค่าเฉลี่ย 4.17 รองลงมาคือความรทู้ ่ีได้รับจากแอปพลเิ คชันค่าเฉลย่ี 4.16 ความสวยงามออง
แอปพลิเคชนั ค่าเฉลย่ี 3.98 ความพอใจในแอปพลเิ คชนั ค่าเฉลี่ย 3.49

12

บทท่ี 5

สรปุ ผลการดาเนินงานและข้อเสนอแนะ

จากการดาเนินโครงงานแอปพลิเคชนั เพ่ือให้ความรู้ในเรือ่ งประวัติศาสตรต์ ะวันตกมีการสรุปผลการ
ดาเนนิ งานและอ้อเสนอแนะดังนี้

5.1 สรุปผลการดาเนินงาน
จากการจัดทาจดั ทาแอปพลิเคชันในการใหค้ วามรเู้ กีย่ วกบั วชิ าประวตั ิศาสตร์เรือ่ ง ประวตั ิศาสตร์

ตะวนั ตก และเผยแพรแ่ ก่นักเรียนทีม่ ีปัญหาในการเรยี น พบวา่ แอปพลิเคชันน้นี ัน้ ทาให้นักเรียนสามารถทบทวน
ความรูป้ ระวัติศาสตร์อองตะวันตกและยงั ชว่ ยให้ผเู้ รยี นเกิดความร้คู วามเอ้าใจในการเรียน อีกทง้ั ครผู ้สู อนยัง
สามารถนาแอปพลเิ คชั่น HiQ มาทดสอบความรู้ ความเอ้าใจอองนักเรยี นหลงั การเรียนการสอนได้อกี ดว้ ย
5.2 อภิปรายผล

ผลการดาเนินโครงงาน กลุ่มประชากรทีใ่ ชแ้ อพพลิเคชั่น HiQ สามารถทบทวนความรู้ประวตั ิศาสตร์
อองตะวันตก และครผู ู้สอนยงั สามารถนาแอปพลิเคชน่ั HiQ มาทดสอบความรู้ ความเอา้ ใจอองนักเรยี นหลงั การ
เรยี นการสอนได้อีกด้วย
5.3 ปัญหาของการจัดทาโครงงาน

1. แอปพลเิ คชนั มีเนือ้ หาไมม่ ากพอสาหรบั คนบางกลุม่
2. แอปพลเิ คชั่นใช้งานคอ่ นอ้างยาก
5.4 ประโยชน์ทีไ่ ด้รบั
1.เกิดการศึกษาเรียนร้นู อกห้องเรยี น
2.สามารถกระตุ้นใหผ้ เู้ รยี นเกิดความสนใจในการเรียนการสอน
3.ผเู้ รนี เกดิ ความสนุกสนาน ผ่อนคลาย และได้ความรู้
5.5 ขอ้ เสนอแนะ
1.จัดทาแอปพลเิ คชั่นโดยให้มีเนือ้ หาสรุปอองบทเรียนและควรเพม่ิ เน้ือหาให้ควบคมุ มากย่ิงอ้ึน
2.จัดทาแอปพลเิ คชน่ั ท่ีให้ความรู้ในรายวชิ าอื่นๆ เพื่อนกั เรยี นที่มปี ญั หาในการเรียนในรายวิชาอื่นๆ
3.จดั ทาและออกแบบแอปพลิเคช่นั ให้มคี วามสวยงามและดึงดดู มากอนึ้

ภาคผนวก

ตวั อยา่ งแบบสอบถาม

รปู ที่ 1 ตวั อยา่ งแบบสอบถาม รูปท่ี 2 ตัวอย่างแอพปลเิ คช่ัน HiQ

รปู ที่ 4 กลมุ่ ตัวอย่างผู้ใช้แอปพลเิ คชั่น

รูปท่ี 3 ตัวอย่างแอปพลิเคชั่น

ชื่อ ประวตั ผิ ู้ศึกษา
ชื่อเลน่
วนั เกดิ : นายองิ ครัต ศรศรวี ิชยั
การศกึ ษา : อ้ิงค์
บางแกว้ : 2 มกราคม 2546
เบอร์โทรศพั ท์ : ชั้นมัธยมศึกษา ปีท่ี 5 ห้อง 5 แผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนราชวินิต

ชอื่ : 092-270-2355
ชื่อเล่น
วันเกดิ : นายรวภิ ัทร โคจมิ ะ
การศึกษา : ยูตะ
บางแก้ว : 6 มีนาคม 2545
เบอร์โทรศพั ท์ : ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 ห้อง 5 แผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนราชวินิต

ชอ่ื : 091-775-0039
ชอ่ื เล่น
วนั เกิด : นางสาวธนภรณ์ เรือนมากแก้ว
การศกึ ษา : มิน้ ท์
บางแก้ว : 21 ตุลาคม 2545
เบอรโ์ ทรศพั ท์ : ช้ันมัธยมศึกษา ปีท่ี 5 ห้อง 5 แผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนราชวินิต

: 063216414

ช่อื : นางสาวอสิ รยิ า ดอนพูนไพร
ช่ือเล่น : ทอฝัน
วันเกดิ : 9 เมษายน 2546
การศึกษา : ช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 5 ห้อง 5 แผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนราชวินิต
บางแก้ว
เบอร์โทรศพั ท์ : 065-237-7669

ชื่อ : นางสาวณฐั ธกิ า สมนาม
ชอ่ื เลน่ : แอนนา
วันเกดิ : 2 ตลุ าคม 2545
การศึกษา : ช้ันมัธยมศึกษา ปีที่ 5 ห้อง 5 แผนการเรียนวิทย์-คณิต โรงเรียนราชวินิต
บางแกว้
เบอร์โทรศัพท์ : 061-145-6754


Click to View FlipBook Version