การบรหิ ารจัดการองค์ความรู้
เรื่อง แนวทางการวิเคราะหโ์ ครงการภาครฐั
โดย นายเจริญพงษ์ ศุภธรี ะธาดา
นาเสนอกจิ กรรมการจดั การความรขู้ องสานกั งบประมาณของรัฐสภา
เมื่อวันที่ 27 เดอื น มกราคม พ.ศ. 2565 เวลา 13.00 – 16.00 น.
1. สรุปเน้อื หา/สาระสาคญั
การจัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีของไทยในปัจจุบันอยู่ภายใต้ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น
ผลงาน (Performance Based Budgeting : PBB) ซ่ึงให้ความสาคัญกับการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ
เป้าหมาย วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ แผนงาน ผลผลิต/โครงการของหน่วยงาน ท่ีมีความเช่ือมโยงกับงบประมาณ
รายจ่ายที่หนว่ ยงานขอรับจัดสรรอย่างเป็นระบบ รวมทง้ั มกี ารตดิ ตามประเมนิ ผลเพื่อวัดผลสาเร็จของผลงานที่
เกิดข้ึนอย่างเป็นรูปธรรม ทาให้แผนงบประมาณของหน่วยงานต้องจัดทาข้ึนมาอย่างชัดเจนเป็นรูปธรรม โดย
ส่วนหน่ึงถูกกาหนดให้จัดทาข้ึนในลักษณะฐานโครงการ (Project based) หรือการจัดทาโครงการอย่างเป็น
ระบบ มีขอ้ มูลในรายละเอยี ดต่าง ๆ ทช่ี ัดเจน และครบถ้วน อาทิ วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ระยะเวลาดาเนนิ การ
วิธีการหรือขั้นตอนการดาเนินงาน พื้นท่ีในการดาเนินงาน งบประมาณที่ใช้ในการดาเนินงาน การประเมินผล
ตลอดจนผลลพั ธ์หรือประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะไดร้ บั
ท้ังนี้ การจัดทางบประมาณในลักษณะฐานโครงการดังกล่าวถูกกาหนดให้หน่วยรับงบประมาณ
นามาใช้อย่างเป็นรูปธรรม โดยเฉพาะในการจัดทางบประมาณรายจ่ายของกระทรวงและหน่วยงาน
(Function) ตามแผนงานยุทธศาสตร์ ซ่ึงเป็นงานตามหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานที่ได้รับมอบหมาย
เชิงนโยบายหรอื อาจเป็นภารกิจพ้ืนฐานที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ และต้องการผลักดันหรือมีความสาคญั
ท่ีต้องเร่งดาเนินการในช่วงระยะเวลาหน่ึง รวมทั้งในการจัดทางบประมาณรายจ่ายที่บูรณาการตามนโยบาย
หรือยุทธศาสตร์ท่ีสาคัญ (Agenda) ซึ่งเป็นแผนงานที่ดาเนินการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติหรือ
ยุทธศาสตร์สาคัญที่คณะรัฐมนตรีกาหนดนโยบายให้หน่วยรับงบประมาณตั้งแต่สองหน่วยงานข้ึนไปร่วมกัน
วางแผน กาหนดเป้าหมาย ตัวชี้วัด แผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณเพ่ือลดความซ้าซ้อน
มคี วามประหยดั คมุ้ คา่ สามารถบรรลเุ ปา้ หมาย เกดิ ผลสมั ฤทธติ์ ามวตั ถปุ ระสงค์ของแผนงานอย่างเป็นรปู ธรรม
การจัดทางบประมาณในลักษณะฐานโครงการดังกลา่ วข้างต้นถูกนาไปใช้กับหน่วยรับงบประมาณ ตัวอย่างเช่น
สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (สผ.) ซึ่งเปน็ หน่วยงานของรฐั สภาและเป็นหนว่ ยรับงบประมาณ โดยในระยะทผ่ี า่ น
มาถึงปัจจุบัน สผ.ได้มีการจัดทาโครงการเพ่ือขอรับการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย รวม 5 โครงการ ได้แก่ (1) โครงการ
ก่อสร้างอาคารรัฐสภาแห่งใหม่ ระยะเวลาดาเนินการ 16 ปี (ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 - 2566) มีวงเงินท้ังส้ินของ
โครงการ 18,795,379,500 บาท (2) โครงการพัฒนาระบบการบริหารจัดการและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการในรูป
ดิจทิ ัล ระยะเวลาดาเนินการ 6 ปี (ตัง้ แตป่ งี บประมาณ พ.ศ. 2564 - 2569) มวี งเงนิ ทัง้ สน้ิ ของโครงการ 590,080,800 บาท
(3) โครงการการมีกลไกช่วยเหลือประชาชนในการจัดทาและเสนอร่างกฎหมาย ระยะเวลาดาเนินการ 6 ปี (ต้ังแต่
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 – 2569) มีวงเงินทั้งสิ้นของโครงการ 18,377,000 บาท (4) โครงการสนับสนุนเพื่อการ
ดาเนินงานด้านนิติบัญญัติ ระยะเวลาดาเนินการ 7 ปี (ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 – 2569) มีวงเงินท้ังสิ้นของ
โครงการ 577,185,700 บาท และ (5) โครงการกาหนดแนวทางและมาตรการทางกฎหมายในการกากับติดตามมาตรฐาน
ทางจริยธรรมของสมาชิกรัฐสภาและเจ้าหน้าท่ีรัฐให้ปลอดจากการทุจรติ ระยะเวลาดาเนินการ 2 ปี (ต้ังแต่ปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564 – 2565) มีวงเงินท้ังสิ้นของโครงการ 612,000 บาท ท้ังนี้ เม่ือพิจารณาวงเงินทั้งส้ินของโครงการ จานวน 5
โครงการดังกล่าว เป็นงบประมาณสูงมากถึง 19,981,635,000 บาท และเป็นโครงการขนาดใหญ่ที่มีวงเงินเกิน 100 ล้าน
บาท 3 โครงการ โดยเฉพาะโครงการก่อสรา้ งอาคารรัฐสภาแหง่ ใหม่ ที่มวี งเงินสงู เกนิ 1 หมืน่ ลา้ น และมรี ะยะเวลายาวนาน
การตัดสินใจจัดสรรงบประมาณรายจ่ายของประเทศท่ีมีจานวนจากัดให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล คุ้มค่า และเกิดประโยชน์สูงสุด คือ การตัดสินใจจัดสรรงบประมาณรานจ่ายให้แก่โครงการภาครัฐท่ีมี
ความเหมาะสม มีความพร้อม และมีความเป็นไปได้ในด้านต่าง ๆ รวมท้ังเป็นโครงการที่มีลาดับความจาเป็นเรง่ ด่วน
และให้ผลตอบแทนจากโครงการสูง ฯลฯ ทั้งนี้ การดาเนินการให้เป็นไปตามหลักการงบประมาณดังกล่าวให้ได้ต้อง
อาศัยการวิเคราะห์โครงการภาครัฐซ่ึงเป็นองค์ความรู้ท่ีสามารถให้คาตอบหรือข้อมูลสาหรับประกอบการพิจารณา
กลนั่ กรองโครงการและตัดสนิ ใจจัดสรรงบประมาณรายจา่ ยให้แกโ่ ครงการตา่ ง ๆ ดังกลา่ วได้
การวิเคราะห์โครงการภาครัฐจะเป็นประโยชน์ให้แก่ สผ. และหน่วยงานรับงบประมาณต่าง ๆ ที่เป็น
หน่วยงานเจ้าของโครงการและผู้ปฏิบัติงานด้านแผนงานโครงการ ด้านงบประมาณ ด้านการติดตามประเมินผล และ
หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อนาองค์ความรู้เก่ียวกับการวิเคราะห์โครงการไปใช้ในการจัดทา กลั่นกรอง และพัฒนา
โครงการต่าง ๆ ที่อยู่ในความรับผิดชอบเพื่อให้เป็นโครงการที่ดี มีคุณค่า ใช้งบประมาณอย่างประหยัด สามารถให้
ผลตอบแทนที่คุ้มค่าและมีประโยชน์ต่อการผลักดันหรือขับเคลื่อนเป้าหมายของหน่วยงานไปสู่การปฏิบัติ รวมทั้งการ
วเิ คราะห์โครงการยังเป็นเคร่ืองมือทางการบรหิ ารทีช่ ว่ ยในการกาหนดทศิ ทาง การวางแผน สนับสนนุ การดาเนนิ งาน และ
การตดิ ตามประเมนิ ผลของหนว่ ยงาน สนบั สนนุ ให้เกิดการจัดสรรงบประมาณแบบมุ่งเนน้ ผลสาเร็จของงานตามเป้าหมาย
ให้ปรากฏเป็นจริงตามจุดมุ่งหมายของการปฏิรูประบบราชการของประเทศ สนับสนุนให้เกิดการดาเนินงานและการใช้
จ่ายงบประมาณรายจา่ ยของโครงการตา่ ง ๆ ใหม้ ีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ความคุ้มค่าในเชงิ ภารกจิ ของรัฐอีกด้วย
นอกจากน้ี สผ. โดยสานักงบประมาณของรัฐสภา ซ่ึงมีภารกิจวิเคราะห์แผนงานและงบประมาณรายจ่ายของ
หนว่ ยงานต่าง ๆ เพื่อเป็นขอ้ มูลสารเทศเสนอประกอบการพิจารณาอนุมัตริ ่างพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี
ของสมาชิกรัฐสภาและคณะกรรมาธิการฯ ที่เก่ียวข้อง โดยในการทาภารกิจดังกล่าวครอบคลุมถึงแผนงานและงบประมาณ
ในส่วนท่ีจัดทาในลักษณะโครงการภาครัฐท่ีสาคัญของหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ ด้วย อย่างไรก็ดี ในปัจจุบันสานัก
งบประมาณของรัฐสภา ยังไม่มีการรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับการวเิ คราะห์โครงการภาครัฐอย่างเป็นระบบเพ่ือจัดทาเป็น
คู่มือปฏิบัติงาน และไม่มีการนาองค์ความรู้ดังกล่าวมาใช้วิเคราะห์โครงการภาครัฐที่สาคัญอย่างเป็นระบบและครบวงจร
ดังน้ัน จึงสมควรจะได้มีการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล ความรู้ทางวิชาการ ทักษะและประสบการณ์
ของบุคคล เพอื่ จดั ทาแนวทางการวิเคราะหโ์ ครงการภาครัฐสาหรับจัดทาข้ึนเป็นคูม่ ือและนามาเผยแพร่ใช้ประโยชน์ในการ
วิเคราะห์แผนงานและงบประมาณของบุคลากรสานักงบประมาณของรัฐสภา บุคลาการของหน่วยงานภายใน สผ. และ
บุคลากรในวงงานรฐั สภา
แนวทางการวิเคราะห์โครงการภาครัฐตามคู่มือ ประกอบด้วยหลักเกณฑ์และแนวทางวิเคราะห์โครงการทั่วไป
และหลักเกณฑ์และแนวทางเฉพาะด้านในการวิเคราะห์โครงการภาครัฐ ซ่ึงใช้ตามประเภทของโครงการภาครัฐ ได้แก่
โครงการภาครัฐดา้ นเศรษฐกิจ หรอื โครงการภาครฐั ด้านสังคม ตามภาพ
ค่มู อื การวิเคราะหโ์ ครงการ
ภาครฐั
หลกั เกณฑแ์ ละแนวทาง หลกั เกณฑ์และแนวทาง
วิเคราะห์โครงการทัว่ ไป วิเคราะห์โครงการเฉพาะ
ดา้ น
โครงการดา้ นเศรษฐกจิ โครงการดา้ นสงั คม
ทง้ั น้ี รายละเอยี ดปรากฏตามคู่มือการวิเคราะหโ์ ครงการภาครฐั และเอกสารประกอบการนาเสนอ ซึ่ง
ผู้นาเสนอจะได้นาเสนอในกิจกรรมการจัดการความรขู้ องสานักงบประมาณของรฐั สภาต่อไป
2. ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ บั
2.1 นักวิเคราะห์งบประมาณของสานักงบประมาณของรัฐสภา สานักงานเลขาธิการสภา
ผู้แทนราษฎร มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับแนวทางการวิเคราะห์โครงการภาครัฐตามคู่มือและสามารถ
นาไปใช้วิเคราะห์โครงการภาครัฐที่เสนอประกอบร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี ร่าง
พระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยเพิ่มเติม และรา่ งพระราชบัญญัตโิ อนงบประมาณรายจ่าย แล้วแตก่ รณี
ซ่ึงทางรัฐบาลเสนอเพื่อขออนุมัติจากรัฐสภา และจัดทาเป็นบทวิเคราะห์และความเห็นประกอบการ
พิจารณาอนมุ ัติรา่ งกฎหมายดังกลา่ วของสมาชกิ รัฐสภาและคณะกรรมาธกิ ารฯ ทีเ่ กีย่ วขอ้ ง
2.2 นักวิเคราะห์งบประมาณของสานักงบประมาณของรัฐสภา สานักงานเลขาธิการสภา
ผู้แทนราษฎร ได้มีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนในการจัดการความรู้ ให้ข้อเสนอแนะ ความคิดเห็น ตัวอย่าง และ
อภิปรายสาหรับพฒั นาแนวทางการวเิ คราะหโ์ ครงการตามคู่มือ ใหส้ ามารถนาไปใชไ้ ด้อย่างเป็นรปู ธรรมตาม
บรบิ ทและประเภทโครงการหรอื หนว่ ยงานภาครฐั ต่อไป