The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ครั้งที่ 1_64 วาระ 3.1 หลักเกณฑ์ แนวทางการจัดทำ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by arthit.13579, 2021-11-09 03:13:55

ครั้งที่ 1_64 วาระ 3.1 หลักเกณฑ์ แนวทางการจัดทำ

ครั้งที่ 1_64 วาระ 3.1 หลักเกณฑ์ แนวทางการจัดทำ

แนวทาง หลักเกณฑ์การจดั ทารายงานวชิ าการ

สานกั งบประมาณของรัฐสภา
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2565

คณะกรรมการอา่ นและตรวจสอบความถูกต้องของรายงานวชิ าการ

คานา

เพ่ือให้การจัดทารายงานวิชาการของสานักงบประมาณของรัฐสภา ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
มีความถูกต้องเหมาะสม มีมาตรฐานตามหลักวิชาการหรือหลักเกณฑ์มาตรฐานทางวิชาการท่ีกาหนด มีความ
เป็นกลางทางวิชาการ น่าเชื่อถือ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพิจารณาอนุมัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี
ของฝา่ ยนติ บิ ัญญัติ และเปน็ ข้อมูลสาหรบั การติดตาม ตรวจสอบการบริหารราชการแผน่ ดินและการใช้จา่ ยเงิน
ของรัฐบาลของประชาชนท่ัวไป จึงได้กาหนดหลักเกณฑ์ แนวทางการจัดทาและการพิจารณารายงานวิชาการ
เพื่อใหน้ กั วิเคราะห์งบประมาณใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั ทารายงานวิชาการตอ่ ไป

คณะกรรมการอา่ นและตรวจสอบความถูกต้องของรายงานวิชาการ
พฤศจิกายน 2564

1

อานาจหนา้ ท่ี และโครงสร้างสานักงบประมาณของรฐั สภา

อานาจหน้าทส่ี านกั งบประมาณของรฐั สภา
ตามประกาศรฐั สภา เรอ่ื ง การแบง่ ส่วนราชการภายในและการกาหนดหนา้ ท่ีความรับผิดชอบของส่วน

ราชการในสังกดั สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2563 ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา หน้า 44 เล่ม
137 ตอนพเิ ศษ 29 ง เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2563 กาหนดให้สานกั งบประมาณของรัฐสภามหี นา้ ที่ ดังน้ี

1. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและจัดทารายงานด้านเศรษฐกิจ การเงินการคลัง การงบประมาณ รวมทั้ง
จดั ทาประมาณการภาวะเศรษฐกิจและการเงินการคลัง ทง้ั ระยะส้ันและระยะยาวและดา้ นอืน่ ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

2. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย รวมท้ังจัดทาประมาณการรายได้ ค่าใช้จ่ายท่ีเป็นผลกระทบจาก
รา่ งพระราชบัญญตั ิด้านการเงินการคลังเพ่ือจัดทาข้อเสนอต่อรฐั สภาประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจา่ ย และรา่ งพระราชบัญญัติด้านการเงนิ การคลังและงบประมาณ

3. ศึกษา วิเคราะห์การใช้จ่ายงบประมาณของรัฐบาลให้เป็นไปอย่างเหมาะสม คุ้มค่าและสอดคลอง
กบั วัตถุประสงค์ของกฎหมาย และจดั ทารายงานเสนอตอ่ รฐั สภา

4. ศึกษา วิเคราะห์แหล่งที่มาและประมาณการรายได้ ผลสัมฤทธิ์หรือประโยชนท่ีคาดวา่ จะได้รับจาก
การจ่ายเงินและความสอดคลองกับยุทธศาสตร์ชาติและแผนพัฒนาต่าง ๆ ตามหลักเกณฑ์ท่ีบัญญัติไวใน
กฎหมายว่าด้วยวินัยการเงินการคลงั ของรัฐ เพ่ือประกอบการพิจารณาร่างพระราชบญั ญัติงบประมาณรายจา่ ย

5. ให้คาปรึกษา เสนอความเห็นเกี่ยวกับกระบวนการงบประมาณ หรือเรื่องที่คณะกรรมาธิการหรือ
คณะอนกุ รรมาธกิ ารของสภาผู้แทนราษฎรและวฒุ ิสภาดาเนนิ การศึกษาด้านการงบประมาณหรือท่เี กีย่ วข้อง

6. จัดทาเอกสารประกอบการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ร่างพระราชบัญญัติ
ด้านการเงินการคลัง เพ่ือสนับสนุนการปฏิบัติของรัฐสภา สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา คณะกรรมาธิการ หรือ
คณะอนุกรรมาธกิ ารของสภาผูแ้ ทนราษฎรและวุฒสิ ภา

7. จดั ทาฐานข้อมลู ด้านเศรษฐกิจ การเงนิ การคลงั และการงบประมาณแผ่นดนิ ทเ่ี ก่ียวกับการพิจารณา
ร่างพระราบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ร่างพระราชบัญญัติด้านการเงินการคลังและเช่ือมโยงข้อมูลกับ
หนว่ ยงานภายในและภายนอก

8. ให้บริการ และเผยแพรผลงานวิชาการด้านเศรษฐกิจ การเงินการคลังและการงบประมาณให้แก
รฐั สภา สภาผู้แทนราษฎร วฒุ ิสภา คณะกรรมาธิการ และสาธารณชน

9. ปฏบิ ตั ิงานอืน่ ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

2

โครงสร้างสานกั งบประมาณของรัฐสภา

3

กระบวนการปฏบิ ตั ิงานของสานักงบประมาณของรฐั สภา
การสนบั สนนุ การพจิ ารณาร่างพระราชบญั ญตั ิงบประมาณรายจ่ายประจาปีเปรยี บเทยี บกับปฏทิ ินงบประมาณรายจ่ายประจาปี

ปฏิทนิ งบประมาณรายจ่ายประจาปี กระบวนการปฏบิ ตั ิงานของสานกั
(สานกั งบประมาณ) งบประมาณของรัฐสภา

ปีงบประมาณ ่กอนห ้นา ม.ิ ย. – ธ.ค. มิ.ย. – ก.ย. CHECK CHECK & ACTION : ผู้บังคับบัญชาสา ันกงบประมาณของรัฐสภา ิตดตาม กากับ ูดแล และเร่งรัดการดาเนินงาน พร้อมใ ้หคาปรึกษาและแ ้กไขปัญหาจากการป ิฏบั ิตงานอ ่ยาง ่ตอเนื่อง ุทก ั้ขนตอนอ ่ยางสม่าเสมอ
ชัน้ ทบทวน และวางแผนงบประมาณ  เผยแพร่เอกสารวชิ าการเพือ่ สนับสนนุ การพจิ าณางบประมาณฯ ในวาระที่ ๑ และวาระที่ 2
 สงั เกตการณก์ ารประชุมและจัดประเดน็ ขอ้ งสังเกตการอภปิ รายในการประชมุ พจิ ารณารา่ งพระราชบญั ญตั งิ บประมาณรายจา่ ย
ACTION
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 วาระที่ ๑ เพอ่ื เป็นขอ้ มูลประกอบการจดั ทารายงานการวิเคราะหฯ์
สนบั สนนุ การพจิ ารณางบประมาณในวาระท่ี 2 ชน้ั กรรมาธกิ ารตอ่ ไป
 เข้ารว่ มรบั ฟังการประชมุ รวมท้ังตดิ ตามประเดน็ ขอ้ สังเกต ในการประชมุ คณะกรรมกิ ารวสิ ามญั ฯ และอนกุ รรมาธกิ ารท่เี กย่ี วขอ้ ง
 ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน โดยจดั ทาแบบสอบถามเพอื่ สารวจความเห็นตอ่ การสนบั สนนุ ขอ้ มลู /รายงานวชิ าการ ในการพจิ ารณา
ร่าง พรบ.งปม.2561และความต้องการใหส้ นับสนนุ ขอ้ มูล/รายงานวิชาการในอนาคต พรอ้ มจัดทารายงานฯเสนอผ้บู งั คับบัญชา
 ปรับปรุงกระบวนการดาเนนิ งานจากการถอดบทเรียนจากปัญหาอุปสรรคในการปฏบิ ตั งิ านทผ่ี า่ นมา

ต.ค. PLAN
 กาหนดประเดน็ หรอื หัวเร่อื งในการจัดทาเอกสารวชิ าการ
 กาหนดผรู้ ับผิดชอบในการดาเนินการจัดทาเอกสารวชิ าการ
 จดั ทาแผนปฏบิ ัตริ าชการของสานกั งบประมาณของรฐั สภา ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2561

ปีงบประมาณ ่ทีพิจารณา ธ.ค. - พ.ค. ต.ค. – พ.ค. CHECK DO
ช้ันจัดทางบประมาณ  ศกึ ษา และรวบรวมขอ้ มูลต่างๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
สนบั สนนุ  จัดทา (รา่ ง)เอกสารวิชาการ ตามกระบวนการจดั ทาเอกสารวิชาการ
ม.ิ ย. – ก.ย. สนับสนุน  พจิ ารณาตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพ (รา่ ง) เอกสารวชิ าการ โดยคณะกรรมการตรวจสอบความถกู ต้องของเอกสาร
ชัน้ อนุมัตงิ บประมาณ
วชิ าการ ตามหลักและมาตรฐานงานวิชาการ
7 มิ.ย.  ปรบั ปรงุ แก้ไข (รา่ ง) เอกสารวิชาการ พร้อมจดั ทารายงานวิชาการฉบับสมบรู ณ์ เพื่อเสนอผู้บรหิ าร
วาระท่ี 1 รบั หลกั การ
และผมู้ อี านาจ ตรวจสอบความถกู ตอ้ ง และพจิ ารณาเหน็ ชอบ พรอ้ มอนมุ ตั ิใหเ้ ผยแพร่
มิ.ย. - ส.ค.  จดั พมิ พ/์ ผลิตเอกสารวิชาการโดยประสานสานกั การพมิ พ์ เพอื่ ดาเนินการผลติ
วาระท่ี 2 - ชัน้ กรรมาธกิ าร
และสานกั งบประมาณของรฐั สภาดาเนนิ การเผยแพรร่ ายงานวิชาการใหส้ มาชกิ สภานิตบิ ญั ญตั แิ ห่งชาตแิ ละคณะกรรมาธกิ าร
ส.ค. วสิ ามญั ฯ และอนกุ รรมาธกิ ารทเ่ี กย่ี วขอ้ งดังนี้
วาระท่ี 2 - ชน้ั สภานบิ ัญญตั ิ
วาระที่ 3 ฝา่ ยนิติบัญญตั ิ มิ.ย. – ส.ค.
 เผยแพร่เอกสารวชิ าการใหส้ มาชกิ สภานิติบญั ญัตแิ หง่ ชาติ เพอื่ สนับสนนุ การพจิ ารณาวาระท่ี ๑ชน้ั รบั หลกั การ ดังน้ี

- ...................................................
- ...................................................
- ...................................................
 สงั เกตการณก์ ารประชุมและจดั ประเดน็ ขอ้ งสงั เกตการอภปิ รายในการประชมุ พจิ ารณารา่ งพระราชบัญญตั ิงบประมาณรายจา่ ย
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 วาระที่ ๑ เพอ่ื เป็นข้อมูลประกอบการจดั ทารายงานการวเิ คราะหฯ์
สนบั สนนุ การพจิ ารณางบประมาณในวาระท่ี 2 ช้นั กรรมาธกิ ารตอ่ ไป
 เผยแพร่เอกสารวชิ าการใหค้ ณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ฯ และคณะอนกุ รรมาธกิ ารทเี่ กีย่ วข้อง เพอื่ สนับสนนุ การพจิ ารณา
งบประมาณวาระท่ี 2 ชนั้ กรรมาธกิ าร ดงั นี้
- รายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายจาแนกรายกระทรวง
- รายงานการศกึ ษาวิเคราะหแ์ ผนงานบูรณาการ

 เขา้ รว่ มรับฟงั การประชุมรวมทั้งติดตามประเดน็ ขอ้ สงั เกตในการประชุมคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ฯและอนุกรรมาธกิ ารที่เกี่ยวข้อง

ส.ค. – ก.ย. ACTION
 ติดตาม กากับดแู ล เรง่ รดั การปฏบิ ัตงิ าน โดยผบู้ งั คับบัญชาสานักงบประมาณของสานกั งบประมาณของรฐั สภา
 ประเมินผลการดาเนนิ งาน โดยจดั ทาแบบสอบถามเพอ่ื สารวจความเหน็ ตอ่ การสนับสนนุ ขอ้ มลู /รายงานวชิ าการในการพจิ ารณา

ร่าง พรบ.งปม. 2562 และความตอ้ งการใหส้ นบั สนนุ ขอ้ มลู /รายงานวชิ าการในอนาคต
 จัดทารายงานผลการดาเนนิ งาน และผลการสารวจความเหน็ ฯ เสนอผบู้ ังคบั บญั ชาตามลาดบั ชนั้

 ปรบั ปรงุ กระบวนการดาเนนิ งานจากการถอดบทเรียนจากปญั หาอปุ สรรคในการปฏบิ ัติงานท่ีผา่ นมา

หมายเหตุ : ระยะเวลาการดาเนินงานทกี่ าหนดอาจมกี ารปรับเปล่ียนตามปฏิทนิ งบประมาณข4องสานักงบประมาณ สานกั นายกรัฐมนตรี

แผนผงั (Flow Chart) กระบวนการและขน้ั ตอนการดาเนนิ งานจัดทาเอกสารวชิ าการ

ข้ันตอน การปฏิบัติ การพิจารณาตรวจสอบ การอนุมตั ิ

Start  สารวจความประสงคข์ องสมาชิกรัฐสภา ไมเ่ หน็ ชอบ
และคณะกรรมาธกิ าร
 กาหนดประเด็น
หรือหวั ข้อเรอ่ื ง  ทบทวนผลการดาเนินงานที่ผ่านมา
 ทบทวนนโยบายรัฐบาลและการจดั ทางบประมาณ
 กาหนดผรู้ บั ผิดชอบ
- พจิ ารณาผสู้ นใจ  ทบทวนประเดน็ ทสี่ งั คมให้ความสนใจ
- พิจารณาผูม้ คี วามรู้  ทบทวนภารกจิ และหนา้ ที่
ความสามารถเหมาะสมกับเรื่อง
 กาหนดประเด็นหรอื หวั ขอ้ เรือ่ ง ร่างประเด็น ทปี่ ระชมุ
 วางแผนปฏบิ ตั กิ าร  กาหนดผู้รับผิดชอบและทีมงานร่วมรับผิดชอบ และหวั ขอ้ เรอื่ ง สานักงบประมาณ

 ดาเนินการตามแผน  จัดทาแผนปฏบิ ัตกิ าร รา่ งแผนปฏบิ ตั กิ าร ของรฐั สภา
ปฏิบัตกิ าร  กาหนดระยะเวลาเริม่ ตน้ – แลว้ เสร็จ เหน็ ชอบ
 กาหนดละเอยี ดแตล่ ะประเด็นหรือหวั ขอ้ เรื่อง
จดั ทา (ร่าง) เอกสารวิชาการ
ขน้ั ตอนที่ 1. กาหนดประเด็นหรือหัวข้อเรื่อง (Selecting - ผรู้ ับผดิ ชอบงานวชิ าการแต่
a topic research) ละเรือ่ งดาเนินการศึกษาวจิ ยั
ตามค่มู ือมาตรฐาน
ขั้นตอนท่ี 2. กาหนดผู้รับผดิ ชอบดาเนินการ - ทีมงานและคณะผู้รว่ มศกึ ษาวิจยั
ข้นั ตอนที่ 3. วางแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี
ขน้ั ตอนที่ 4. นาแผนไปสู่การปฏิบัติ (การดาเนินงาน ไมเ่ หน็ ชอบ

ศกึ ษาวจิ ัย)
ข้ันตอนท่ี 5. การกากบั ติดตาม การดาเนนิ งานให้เป็นไป

ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปี
ขน้ั ตอนท่ี 6. การประเมนิ คณุ ภาพผลงาน
ขน้ั ตอนท่ี 7. การเผยแพร่ผลงาน เพ่ือให้บุคคลหรือ

หนว่ ยงานท่เี กยี่ วข้องนาไปใช้ประโยชน์

ผบู้ งั คบั บญั ชากลุม่ วิเคราะห์งบประมาณตรวจสอบความ (ร่าง) เอกสารวิชาการ ไมเ่ หน็ ชอบ
ถกู ต้องความสมบูรณต์ ามหลกั วิชาการและมาตรฐานงาน
ผูบ้ งั คบั บัญชากลมุ่
วิชาการ วิเคราะหง์ บประมาณ

 ประเมนิ คณุ ภาพผลงาน  ผู้บงั คบั บญั ชากลุม่ วิเคราะห์งบประมาณดาเนินการ (รา่ ง) เอกสารวชิ าการ คณะกรรมการอา่ น
(ทบทวน ตรวจสอบและประเมิน) และตรวจสอบ
เสนอเอกสาร (รา่ ง) เอกสารวิชาการ ต่อ ผอู้ านวยการ ความถูกตอ้ งของ
สานกั งบประมาณ เพอ่ื นาเสนอต่อคณะกรรมการอ่าน เอกสารวิชาการ
และตรวจสอบความถกู ต้องของเอกสารวิชาการ
เหน็ ชอบ
 จัดทาเอกสารวิชาการ  ผบู้ ังคับบัญชากลุ่มวเิ คราะห์งบประมาณตรวจสอบความ  บันทึกเสนอความเหน็
 เผยแพรเ่ อกสารวชิ าการ ถูกต้อง เรียบรอ้ ย สมบรู ณ์ เสนอผู้อานวยการสานกั  เอกสารวชิ าการ ไมเ่ ห็นชอบ
งบประมาณและผู้บรหิ ารสานกั งานพจิ ารณาเห็นชอบ
และอนุมตั ิการเผยแพร่ ผู้บริหารของ
สานกั งานเลขาธกิ าร
 สง่ ต้นฉบบั เอกสารวิชาการใหส้ านักการพิมพ์เพือ่ ผลิตผล สภาผแู้ ทนราษฎร
เอกสารวชิ าการ
เหน็ ชอบ
 ส่งเอกสารวชิ าการให้สมาชิกรัฐสภา และคณะกรรมาธกิ าร
 เผยแพรเ่ อกสารวิชาการผ่านสอ่ื ต่าง ๆ

5

ประเภทของเอกสารวชิ การ

การจัดทาเอกสารวิชาการของสานักงบประมาณของรัฐสภา เป็นการนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
สารวจ รวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูลเร่ืองใดเรื่องหนึ่ง และนามาเขียนเรียบเรียงอย่างมีระเบียบแบบแผน
จาแนกออกเปน็ 2 ประเภท ไดแ้ ก่

1. รายงานวิชาการ เป็นเอกสารวิชาการที่จัดทาขึ้นเพื่อเผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ การเงิน
การคลัง และงบประมาณ รวมทั้งกฎหมายท่ีเกี่ยวดว้ ยการเงนิ อย่างเป็นระบบตามระเบียบวิธีการวิจยั เพ่อื สนับสนุน
การปฏบิ ัติงานด้านนติ ิบัญญัติของสมาชิกรัฐสภาและเผยแพร่แก่ประชาชนทว่ั ไป (เทียบเคียงกับการเขียน “รายงาน
วิจัย” ตามคู่มือการจัดทาเอกสารวิชาการ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2563) ของสานักวิชาการ สานักงานเลขาธิการสภา
ผู้แทนราษฎร) โดยมีองค์ประกอบหลัก 3 สว่ น คอื

1) สว่ นนา เป็นส่วนทอี่ ยู่ก่อนถงึ เนอ้ื เร่อื ง ไดแ้ ก่ ปกนอก ใบรองปก บทสรปุ ผ้บู รหิ าร คานา และสารบัญ
2) ส่วนเนื้อหา สามารถแบง่ เปน็ บทได้ ดงั นี้

บทท่ี 1 บทนา
บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
บทท่ี 3 ระเบยี บวธิ กี ารศกึ ษา
บทที่ 4 ผลการศกึ ษา
บทที่ 5 สรุปผลการศกึ ษา อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ
3) ส่วนท้าย เป็นส่วนท่ีแสดงหลักฐานหรือแหล่งท่ีมาของข้อมูลที่ใช้ประกอบการศึกษาค้นคว้า
และการเขียนรายงาน เพ่ือแสดงถึงความน่าเช่ือถือของรายงานและมารยาททางวิชาการของ
ผู้เขยี นรายงาน (บรรณานกุ รม) รวมทัง้ เปน็ ส่วนท่ีใหร้ ายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ (ภาคผนวก)
2. รายงานการวิเคราะห์ เป็นเอกสารวิชาการท่ีศึกษา วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ประมวลข้อมูล การ
ลาดับเหตุการณ์ ให้ข้อเท็จจริง/สถิติ จากแหล่งข้อมูลปฐมภูมิหรือทุติยภูมิต่างๆ เฉพาะเรื่อง มีองค์ประกอบ
หลกั 3 ส่วน คอื
1) สว่ นนา เป็นสว่ นทีอ่ ยู่กอ่ นถงึ เน้ือเรื่อง ไดแ้ ก่ ปกนอก ใบรองปก บทสรุปผ้บู รหิ าร คานา และสารบญั
2) ส่วนเน้ือหา เป็นส่วนท่ีเสนอสาระสาคัญของรายงาน ประกอบด้วย บทนา เน้ือหา และสรุป
โดยอาจแบง่ เป็นสว่ น ๆ ตามความเหมาะสมอย่างชัดเจน
3) ส่วนท้าย เป็นส่วนท่ีแสดงหลักฐานหรือแหล่งท่ีมาของข้อมูลท่ีใช้ประกอบการศึกษาค้นคว้า
และการเขียนรายงาน เพ่ือแสดงถึงความน่าเชื่อถือของรายงานและมารยาททางวิชาการของผู้เขียนรายงาน
(บรรณานุกรม) รวมท้งั เป็นส่วนท่ใี ห้รายละเอียดเพมิ่ เตมิ (ภาคผนวก)

3. บทความ PBO (PBO Policy Brief) เป็นเอกสารวิชาการที่สรุปและเรียบเรียงจากรายงาน

วิชาการ และรายงานการวิเคราะห์ ของสานักงบประมาณของรัฐสภาเป็นหลัก หรืออาจนามาจากรายงานการ
วิเคราะห์สานักงบประมาณที่มีเนื้อหาสาระสมบูรณ์ให้รูปแบบท่ีเข้าใจง่าย เนื้อหากระชับ และสอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ของการจัดทา PBO Policy Brief คือ การส่งผ่านข้อมูล ผลการวิเคราะห์ และข้อเสนอแนะ เพ่ือ
ประกอบการตัดสินใจในกระบวนการนิตบิ ญั ญัติ โดยมเี นื้อหาสาระไม่เกนิ 10 หน้ากระดาษ

6

แนวทางการจัดทาเอกสารวิชการ

1. เปน็ เรือ่ งทส่ี มาชิกรฐั สภาและกรรมาธกิ ารประสงค์ให้สานักงบประมาณของรฐั สภาดาเนินการศึกษา
2. เป็นเรื่องท่ีสามารถตอบโจทย์ของฝ่ายนิติบัญญัติ โดยเฉพาะในกระบวนการพิจารณางบประมาณ
รายจ่ายประจาปี
3. เป็นเร่ืองท่นี ่าสนใจของสาธารณชน และสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
4. มาตรฐานการจัดทาเอกสารวิชาการ ให้ยึดหลักการจัดทาตาม “คู่มือการจัดทาเอกสารวิชาการ
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563)” ของสานกั วชิ าการ สานกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเปน็ หลัก
5. ให้มกี ารตรวจประเมินการจดั ทารายงานวชิ าการ ตามแบบฟอร์มทก่ี าหนด
6. ให้นาเสนอรายงานวิชาการต่อคณะกรรมการอ่านและตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารวิชาการ
อย่างน้อยเรื่องละ 2 ครั้ง เพื่อให้การจัดทารายงานวิชาการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตามมาตรฐานวิชาการ
มีคุณภาพและความนา่ เชื่อถือมากย่งิ ขึน้ ประกอบดว้ ย

คร้ังที่ 1 ใหน้ าเสนอเค้าโครงเนอื้ หาของเอกสารวชิ าการ ดงั น้ี
1) รายงานการวิเคราะห์ ใหน้ าเสนอเค้าโครงเน้ือหา (Outline) ในภาพรวม พรอ้ ม
ทั้งระบวุ ตั ถุประสงค์ และแนวทางการศกึ ษาวิเคราะหใ์ นแต่ละหวั ข้อ
2) รายงานวิชาการ ให้นาเสนอเค้าโครง บทท่ี 1-3 และกรอบเน้ือหาในการ
นาเสนอผลการวเิ คราะห์ หรอื ผลการศึกษาของบทท่ี 4 (Outline)

คร้ังท่ี 2 และครั้งต่อ ๆ ไป ให้นาเสนอ (ร่าง) เอกสารวิชาการฉบับสมบูรณ์ โดยให้มี
องคป์ ระกอบครบถว้ นตามหลักวชิ าการและคู่มือที่กาหนด และขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการฯ

7. ให้จัดทา “ตารางการดาเนินการปรับปรุงแก้ไขเอกสารวิชาการตามข้อเสนอแนะของ
คณะกรรมการอ่านและตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารวิชาการ” ประกอบการพิจารณาในการเสนอ
รายงานฉบบั สมบูรณ์ (ฉบับแกไ้ ข)

7

หลักเกณฑ์ มาตรฐานการจัดทาเอกสารวชิ าการ

1. การจัดทารายงานวิชาการ ให้ยึดหลักการจัดทาตาม “คู่มือการจัดทาเอกสารวิชาการ
(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2563)” ของสานักวชิ าการ สานกั งานเลขาธกิ ารสภาผแู้ ทนราษฎรเปน็ หลัก

2. หน้าปกรายงานให้ใช้ตามแบบที่กาหนด โดยสามารถปรับโทนสีได้เพ่ือความเหมาะสมและสวยงาม
สอดคล้องกบั ชื่อเรือ่ ง

-- ตัวอย่างหนา้ ปก --

8

แบบประเมนิ การจดั ทาเอกสารวิชาการ

1. ชอื่ เรื่อง ........................................................................................................................................................................

2. ประเภทของเอกสารวิชาการ
 รายงานการวเิ คราะห์ โดยมอี งคป์ ระกอบของเน้ือหา ดงั น้ี
.......................................................................................................................................................................................

.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................

 รายงานวิชาการ โดยมอี งคป์ ระกอบของเนือ้ หา ดงั นี้
.......................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
3. ท่มี าและความสาคญั ของเรอ่ื ง (เลือกไดม้ ากกว่า 1 ข้อ)
 เปน็ ประเดน็ ตามแผนพฒั นาประเทศ..(ระบชุ อ่ื และประเดน็ ของแผนพัฒนาประเทศ)...........................................
.......................................................................................................................................................................................................
 เปน็ ประเดน็ ตามกฎหมาย ระเบียบ มตทิ ป่ี ระชุม..(ระบุชื่อกฎหมาย ระเบยี บ มติท่ปี ระชมุ และประเด็น).............
.......................................................................................................................................................................................................
 เป็นประเดน็ ความตอ้ งการของฝา่ ยนติ บิ ัญญตั ิ (เช่น จากการสมั มนา PBO และแบบสารวจความเห็นฯ..........
(ระบปุ ระเด็น)................................................................................................................................................................................
 เปน็ ประเดน็ ที่สอดคลอ้ งกับสถานการณ์ปจั จุบนั และเปน็ ที่สนใจของสาธารณชนท่ัวไป..(ระบปุ ระเด็น)..............
.......................................................................................................................................................................................................
 อ่ืน ๆ..(ระบุทีม่ าใหช้ ดั เจน)......................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
4. เนื้อหา (เลือกไดม้ ากกวา่ 1 ขอ้ )
 ถูกต้องตามเอกสารอ้างอิง สามารถตรวจสอบทมี่ าของขอ้ มลู ตามเอกสารอ้างองิ ได้
 มกี ารศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากแหล่งข้อมลู ทหี่ ลากหลาย น่าเชือ่ ถอื และทันสมยั
 มกี ารสรุป วเิ คราะห์ข้อมลู ได้ครอบคลมุ และครบถ้วนตามวัตถปุ ระสงคใ์ นการจดั ทา
 มกี ารใช้เครอ่ื งมือเชิงสถติ ิในการวิเคราะห์
 ถกู ตอ้ งตามหลกั การจดั ทาเอกสารวชิ าการตามคมู่ อื ที่กาหนด

9

5. การนาไปใชป้ ระโยชน์ (เลอื กได้มากกวา่ 1 ข้อ)
 สามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นงานนติ ิบญั ญตั ิ การพจิ ารณางบประมาณรายจา่ ยประจาปี
 สามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นการตดิ ตาม ตรวจสอบการบรหิ ารประเทศและการใช้จา่ ยเงนิ ของรฐั บาล
 เปน็ ประโยชน์ทางวชิ าการในสาขาวิชาทีเ่ กีย่ วข้องและ/หรือมขี ้อเสนอแนะเชิงปรบั ปรงุ พฒั นา
 เป็นแหล่งอา้ งองิ ในทางวชิ าการ

ลงชอ่ื .........................................ผ้จู ดั ทา
(...............................................)

ตาแหน่ง................................................
ลงช่ือ.........................................
(...............................................)

ผบู้ ังบัญชากลุ่มวิเคราะห์งบประมาณ....

10

แบบประเมินการจดั ทารายงานวชิ าการ (ดว้ ยตนเอง)

1. แบบประเมินการจัดทารายงานวิชาการ

ช่ือเร่ือง .............................................................................................................................................................................

รายการประเมนิ ใช่ ไมใ่ ช่
๑. เนื้อหาปราศจากอคติ เปน็ กลาง ไมเ่ อนเอียง
๒. การยกตวั อยา่ งชัดเจน
๓. ชือ่ ผลงานสอดคล้องกับเนอื้ หา ใชค้ าชดั เจน กระชบั ไมฟ่ มุ่ เฟือย
๔. การทบทวนวรรณกรรมมาจากแหล่งที่น่าเช่อื ถือ เป็นทย่ี อมรับในทางวชิ าการ
๕. กรอบความคดิ ทใ่ี ชใ้ นการศกึ ษามีความชดั เจน
๖. เนอ้ื หาสอดคลอ้ งกบั วัตถุประสงค์ และขอบเขตการศกึ ษา
๗. วิธกี ารศกึ ษาเปน็ ไปตามหลักวชิ าการ
๘. มีการนิยามศพั ท์ หรือคาสาคญั ในผลงานอย่างชดั เจน
๙. มีการวางโครงเรื่อง (outlining) กอ่ นการลงมือเขียน
๑๐. มกี ารลาดับเนือ้ หาตามประเภทของผลงานอยา่ งถกู ต้อง
๑1. มีข้อสรปุ ข้อค้นพบ หรอื ขอ้ เสนอแนะจากการศกึ ษา
๑2. รูปแบบการนาเสนอถูกต้องตามหลักวิชาการ (มีส่วนนา ส่วนเนื้อหา และ
สว่ นทา้ ย) และใชภ้ าษาที่เขา้ ใจง่าย
๑3. บทคดั ย่อ บทสรุป กระชับ ชัดเจน ได้ใจความครบถว้ น
๑4. ไม่มีเน้อื หานอกเหนือจากท่ศี ึกษาครงั้ น้ี
๑5. การอา้ งอิงถูกต้องตามหลักวิชา ครบถ้วน และใชร้ ูปแบบเดียวกันทั้งหมด
๑6. ภาคผนวกครบถ้วน
๑7. มกี ารศกึ ษาในเชิงลกึ กวา่ การเขยี นบทความทางวิชาการ
๑8. เป็นรายงานทางวชิ าการทม่ี ีการเรียบเรียงและนาเสนออยา่ งมแี บบแผน
๑9. มีกระบวนการวิจัยถูกต้อง เหมาะสม (มีวัตถุประสงค์ สมมุติฐาน ขอบเขต
ข้นั ตอน ทฤษฎหี รอื กรอบความคิด สรปุ และอภปิ รายผล)
20. เครือ่ งมือทีใ่ ชว้ ัดเหมาะสม มคี วามเชอื่ มนั่ และเทยี่ งตรง
๒1. การอภิปรายผล และสรุปผลการศึกษามีความชัดเจน นาเสนอครบถ้วน
ทุกประเดน็

11

2. แบบประเมนิ คณุ ภาพ

ชอ่ื เรื่อง ..............................................................................................................................................................................

รายการประเมนิ ๕ คะแนน ๑
๔๓ ๒
1. ดา้ นคณุ ภาพ
เนอ้ื หา
1.1 เนื้อหาสาระมีความถูกต้องและสมบรู ณ์ตามหลักวิชา
1.2 เนอื้ หาทางวิชาการเหมาะสมและสมั พันธก์ บั ชอ่ื เรอื่ ง
1.3 เนื้อหาตอบสนองตอ่ วตั ถปุ ระสงค์ของการศกึ ษา
1.4 เนือ้ หามคี วามนา่ สนใจ สมเหตสุ มผล
1.5 มีการรวบรวมขอ้ มลู มาแสดงอย่างละเอียดและถกู ตอ้ ง
1.6 แนวความคดิ มีความรดั กมุ และชัดเจน
1.7 บทคัดยอ่ หรือบทสรปุ ผ้บู ริหารเขา้ ใจงา่ ย
การนาเสนอ ภาษาและการอา้ งองิ
1.8 การนาเสนอข้อมลู เปน็ กลาง ปราศจากอคติ ไมเ่ อนเอยี ง
1.9 การเรยี งลาดับการนาเสนอถูกต้อง มคี วามเชอ่ื มโยงของหวั ข้อ ไมส่ ับสน
1.10 ไมม่ กี ารคัดลอกผลงานของผู้อน่ื โดยปราศจากการอ้างอิง แหลง่ ขอ้ มูล

ทีถ่ กู ต้อง เชื่อถือได้
1.11 ความทันสมัยและความถกู ตอ้ งทางวชิ าการ ใช้เหตุผลทางวิชาการ

เป็นพ้ืนฐานในการอธิบาย
1.12 รปู แบบบทความ/รายงานทางวิชาการถกู ต้องตามหลกั วิชา ( เช่น

บทความเปน็ ภาษาเข้าใจง่าย,รายงานทางวชิ าการเรียบเรยี งอย่างมแี บบแผน)
1.13 ภาษาชดั เจน ความหมายศัพท์ ไมม่ ขี ้อสงสัย
1.14 การพสิ จู น์อักษร วรรคตอน และการสะกดคาถูกตอ้ ง
1.15 ภาพประกอบชดั เจน สอดคล้องกับเนอื้ หา
1.16 เปน็ การแสดงความรู้ ความสามารถ และความเชอ่ื มนั่ ของผเู้ ขียน
1.17 สดั ส่วนเนอื้ หาของบทความเหมาะสม
1.18 แสดงถงึ ความคดิ รเิ รม่ิ และสรา้ งสรรค์

2. ด้านประโยชนข์ องผลงาน
2.1 ผลงานมปี ระโยชนใ์ นทางวิชาการ และตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการของ

สมาชกิ รัฐสภาและผ้ใู ชผ้ ลงาน
2.2 การใชเ้ ป็นแหล่งอา้ งอิงในทางวิชาการ

คะแนนรวม

ขอ้ คดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะเพิม่ เตมิ
.......................................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ ....................................................
(.................................................)
(ผปู้ ระเมิน)/วนั เดอื น ปี

12

เกณฑ์การประเมินคุณภาพผลงานทางวิชาการ

การประเมินคุณภาพผลงานทางวิชาการ จะมีหลักเกณฑ์คือผู้ประเมินจะทาแบบประเมินซ่ึงมี

คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน การตัดสินผลการประเมินคุณภาพผลงานทางวิชาการจะเฉลี่ยคะแนนรวมจาก

ผปู้ ระเมนิ ทกุ คน ตามหลกั เกณฑ์

 ดีเด่น (๙๐ – ๑๐๐ คะแนน) หรือ เหมาะสมระดับดีเด่น

 ดีมาก (๘๐ – ๘๙ คะแนน) หรอื เหมาะสมระดบั ดมี าก

 ดี (๗๐ – ๗๙ คะแนน) หรือ เหมาะสมระดบั ดี

 พอใช้ (๖๐ – ๖๙ คะแนน) หรอื เหมาะสมระดบั พอใช้

 ควรปรบั ปรงุ (ตา่ กวา่ ๖๐ คะแนน) หรอื ต้องปรบั ปรงุ

องคป์ ระกอบ ตวั บ่งช้ี และเกณฑ์การประเมินคณุ ภาพ
สานักงบประมาณของรัฐสภาได้กาหนดแนวทางการประเมินคุณภาพไว้ตามชนิดของผลงานทาง

วิชาการ โดยแบ่งรายการประเมนิ เปน็ ๒ ดา้ น คอื ดา้ นคุณภาพ และการใช้ประโยชน์ของผลงาน

แบบประเมินคุณภาพ บทความทางวชิ าการ / รายงานทางวิชาการ

รายการประเมนิ ตัวบง่ ชี้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนระดบั คุณภาพ ระดบั
เน้ือหาสาระมีความถูกต้องและ คะแนน
1. ด้านคณุ ภาพ สมบรู ณ์ตามหลกั วชิ า - มกี ารค้นควา้
1.1 เนอ้ื หา - มกี ารคน้ คว้าจากหลายแหลง่ 1
เนื้อหาทางวิชาการเหมาะสมและ - มีการค้นคว้าจากหลายแหล่ง และมีการสอบทาน 2
สัมพนั ธ์กับชอื่ เรื่อง ขอ้ มูลระหวา่ งกัน 3
- มีการค้นคว้าจากหลายแหล่ง และมีการสอบทาน 4
ขอ้ มลู ระหว่างกัน มกี ารสรุปความจากการคน้ ควา้ 5
- มีการค้นคว้าจากหลายแหล่ง และมีการสอบทาน
ข้อมูลระหว่างกัน มีการสรุปความจากการค้นคว้าจน 1
สามารถแสดงความเห็นทีเ่ ป็นกลาง 2
- ความสาคญั ของปญั หาสอดคล้องกับชื่อเรือ่ ง 3
- ความสาคัญของปัญหาสอดคล้องกับชื่อเรื่อง
เลอื กใช้คาอย่างเหมาะสม กระชบั ไม่ฟมุ่ เฟอื ย 4
- ความสาคัญของปัญหาสอดคล้องกับช่ือเรื่อง
เลือกใช้คาอย่างเหมาะสม กระชับ ไม่ฟุ่มเฟือย 5
มหี ลกั เกณฑ์ ท่มี าอย่างชัดเจน
- ความสาคัญของปัญหาสอดคล้องกับชื่อเร่ือง เลือกใช้
คาอย่างเหมาะสม กระชับ ไม่ฟุ่มเฟือย มีหลักเกณฑ์
ท่มี าอยา่ งชดั เจน เนอื้ หามกี ารอา้ งองิ หลกั วชิ าการ
- ความสาคัญของปัญหาสอดคล้องกับชื่อเร่ือง
เลือกใช้คาอย่างเหมาะสม กระชับ ไม่ฟุ่มเฟือย มี
หลักเกณฑ์ ท่ีมาอย่างชัดเจน เน้ือหามกี ารอ้างอิงหลัก
วิชาการ เนื้อหาสะท้อนความสามารถในการแก้ไข
ปญั หา หรือให้ขอ้ เสนอแนะตามช่ือเร่ืองท่ีศกึ ษา

13

รายการประเมนิ ตวั บง่ ชี้ เกณฑ์การใหค้ ะแนนระดับคณุ ภาพ ระดบั
เน้อื หาตอบสนองตอ่ วัตถุประสงค์ คะแนน
ของการศกึ ษา - มกี ารกาหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา
- มีการกาหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องการศึกษา ชัดเจนตรง 1
เนื้อหามีความนา่ สนใจ กบั ประเด็นทต่ี ้องการศึกษา 2
สมเหตสุ มผล - มีการกาหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องการศกึ ษา ชัดเจนตรง 3
กับประเด็นที่ต้องการศึกษา ผลการศึกษาตอบสนอง 4
มกี ารรวบรวมขอ้ มลู มาแสดงอย่าง ต่อวัตถปุ ระสงค์ 5
ละเอยี ดและถูกต้อง - มกี ารกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา ชัดเจนตรง
กับประเด็นที่ต้องการศึกษา เน้ือหาท่ีได้มาจาก 1
การศกึ ษามีความเกยี่ วขอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ 2
- มกี ารกาหนดวตั ถุประสงคข์ องการศกึ ษา ชัดเจนตรง 3
กับประเด็นท่ีต้องการศึกษา เน้ือหาท่ีนามาศึกษามี 4
ความเก่ียวข้องกับวัตถุประสงค์ ผลการศึกษา
ตอบสนองต่อวัตถุประสงค์ทุกข้อ และมีการอภิปราย 5
ผลอย่างชดั เจน
- ผลงานเปน็ เรื่องท่เี ป็นประโยชน์ 1
- ผลงานเปน็ เรอื่ งท่เี ปน็ ประโยชน์ มีแนวทางการแก้ไข 2
ปญั หาทส่ี มเหตสุ มผล เปน็ ไปได้ 3
- ผลงานเปน็ เรือ่ งท่เี ปน็ ประโยชน์ มแี นวทางการแก้ไข
ปัญหาที่สมเหตุสมผล เป็นไปได้ มีขอบเขตการศึกษา 4
กวา้ งขวางกวา่ ผ้ศู ึกษาเดมิ
- ผลงานเป็นเร่ืองทีเ่ ปน็ ประโยชน์ มีแนวทางการแก้ไข
ปัญหาท่ีสมเหตุสมผล เป็นไปได้ มีขอบเขตการศึกษา
กว้างขวางกว่าผู้ศึกษาเดิม แหล่งข้อมูลมีความ
นา่ เชื่อถอื
- ผลงานเปน็ เรอื่ งที่เปน็ ประโยชน์ มีแนวทางการแกไ้ ข
ปัญหาที่สมเหตุสมผล เป็นไปได้ มีขอบเขตการศึกษา
กว้างขวางกว่าผู้ศึกษาเดิม แหล่งข้อมูลมีความ
น่าเชือ่ ถอื มีระยะเวลาทันตอ่ การใชง้ าน
- มีการรวบรวมเอกสารท่ีเก่ียวข้องในประเด็นหลัก
และประเด็นรอง
- มีการรวบรวมเอกสารที่เก่ียวข้องในประเด็นหลัก
และประเด็นรอง เอกสารหรือหลักฐานท่ีรวบรวมมี
ความเกย่ี วขอ้ งกับหวั ข้อการศกึ ษา
- มีการรวบรวมเอกสารท่ีเกี่ยวข้องในประเด็นหลัก
และประเด็นรอง เอกสารหรือหลักฐานที่รวบรวมมี
ความเกี่ยวข้องกับหัวข้อการศึกษา ข้อมูลไม่มากเกิน
ความจาเป็น
- มีการรวบรวมเอกสารท่ีเก่ียวข้องในประเด็นหลัก
และประเด็นรอง เอกสารหรือหลักฐานท่ีรวบรวมมี
ความเกี่ยวข้องกับหัวข้อการศึกษา ข้อมูลไม่มากเกิน
ความจาเป็น ผลการวิเคราะห์ข้อมูลอธิบายถึง
ความสัมพันธข์ องขอ้ มูลที่รวบรวมมาได้

14

รายการประเมนิ ตวั บง่ ชี้ เกณฑ์การใหค้ ะแนนระดบั คุณภาพ ระดบั

คะแนน

- มีการรวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องในประเด็นหลัก 5

และประเด็นรอง เอกสารหรือหลักฐานที่รวบรวมมี

ความเก่ียวข้องกับหัวข้อการศึกษา ข้อมูลไม่มากเกิน

ความจาเป็น ผลการวิเคราะห์ข้อมูลอธิบายถึง

ความสัมพันธ์ของข้อมูลท่ีรวบรวมมาได้ และสรุปผล

การศึกษาโดยใชแ้ นวทางจากขอ้ มลู ท่ไี ดร้ วบรวม

แนวความคดิ มีความรดั กมุ และ - อธิบายประเด็นของแนวความคิดท่ีต้องการศึกษา 1
ชัดเจน
อยา่ งชัดเจน

- อธิบายประเด็นของแนวความคิดท่ีตอ้ งการศึกษาอย่าง 2

ชดั เจน ระบคุ วามนา่ สนใจของประเด็นท่ีจะศึกษา

- อธิบายประเด็นของแนวความคิดท่ีต้องการศึกษา 3

อย่างชัดเจน ระบุความน่าสนใจของประเด็นที่จะ

ศึกษา มีการอธิบายแนวความคิดเปรียบเทียบกับ

เอกสารหรืองานวิจยั ที่ทบทวนวรรณกรรม

- อธิบายประเด็นของแนวความคิดท่ีต้องการศึกษา 4

อย่างชัดเจน ระบุความน่าสนใจของประเด็นที่จะ

ศึกษา มีการอธิบายแนวความคิดเปรียบเทียบกับ

เอกสารหรอื งานวิจัยที่ทบทวนวรรณกรรม ตรวจสอบ

ข้ อ มู ล ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ อ ย่ า ง ร อ บ ค อ บ แ ล ะ

ครบถว้ น

- อธิบายประเด็นของแนวความคิดที่ต้องการศึกษา 5

อย่างชัดเจน ระบุความน่าสนใจของประเด็นท่ีจะ

ศึกษา มีการอธิบายแนวความคิดเปรียบเทียบกับ

เอกสารหรืองานวิจัยท่ีทบทวนวรรณกรรม ตรวจสอบ

ข้ อ มู ล ท่ี ใ ช้ ใ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ อ ย่ า ง ร อ บ ค อ บ แ ล ะ

ครบถ้วน สรุปประเด็นที่ได้จากการศึกษาได้อย่าง

สมบูรณ์

บทคัดยอ่ หรอื บทสรปุ ผบู้ รหิ าร - มีการสรุปหรือย่อความจากต้นฉบับให้สั้น กระชับ 1
เขา้ ใจงา่ ย
เข้าใจง่าย

- มีการสรุปหรือย่อความจากต้นฉบับให้ส้ัน กระชับ 2

เขา้ ใจง่าย สะท้อนเนอ้ื หาภายในอย่างไม่ผดิ เพี้ยน ไม่มี

การเติมข้อมลู ท่ีไมอ่ ย่ใู นข้อคน้ พบ

- มีการสรุปหรือย่อความจากต้นฉบับให้สั้น กระชับ 3

เข้าใจงา่ ย สะทอ้ นเนื้อหาภายในอยา่ งไม่ผิดเพี้ยน ไมม่ ี

การเตมิ ข้อมลู ทีไ่ มอ่ ยูใ่ นข้อค้นพบ ไมม่ ีการประเมินคา่

หรอื การสอดแทรกความเหน็ ส่วนตัวในลกั ษณะช้ีนา

- มีการสรุปหรือย่อความจากต้นฉบับให้ส้ัน กระชับ 4

เขา้ ใจงา่ ย สะท้อนเนื้อหาภายในอย่างไมผ่ ดิ เพ้ียน ไมม่ ี

การเติมข้อมลู ที่ไม่อยู่ในขอ้ ค้นพบ ไม่มกี ารประเมินค่า

หรือการสอดแทรกความเห็นส่วนตัวในลักษณะชี้นา

ลาดับเน้ือความตามเวลาก่อนหลังเหมือนเน้ือความ

ดา้ นใน

15

รายการประเมิน ตวั บง่ ชี้ เกณฑก์ ารให้คะแนนระดับคุณภาพ ระดบั
คะแนน
1.2 การนาเสนอ การนาเสนอข้อมูลเปน็ กลาง - มีการสรุปหรือย่อความจากต้นฉบับให้สั้น กระชับ
ภาษาและ ปราศจากอคติ ไมเ่ อนเอยี ง เขา้ ใจง่าย สะท้อนเนือ้ หาภายในอยา่ งไมผ่ ิดเพี้ยน ไม่มี 5
การอา้ งอิง การเตมิ ข้อมูลท่ไี มอ่ ยใู่ นข้อค้นพบ ไม่มีการประเมินค่า
การเรยี งลาดบั การนาเสนอถกู ต้อง หรือการสอดแทรกความเห็นส่วนตัวในลักษณะชี้นา 1
มคี วามเช่ือมโยงของหวั ขอ้ ไม่ ลาดับเน้ือความตามเวลาก่อนหลังเหมือนเน้ือความ 2
สบั สน ดา้ นใน อ่านงา่ ย ส้ัน กระชบั ได้ใจความ 3
- ใช้หลักวชิ าการเป็นกรอบการวิเคราะห์ 4
ไมม่ กี ารคดั ลอกผลงานของผอู้ ืน่ - ใชห้ ลกั วชิ าการเป็นกรอบการวิเคราะห์ ไมม่ เี นอ้ื หาท่ี
โดยปราศจากการอ้างองิ แสดงความเป็นอคติหรือเอนเอียง 5
แหล่งขอ้ มลู ทถี่ ูกต้อง เช่อื ถอื ได้ - ใชห้ ลกั วชิ าการเป็นกรอบการวิเคราะห์ ไม่มเี นื้อหาท่ี
(การตรวจสอบโดยใช้โปรแกรม แสดงความเปน็ อคติหรือเอนเอยี ง เสนอข้อคน้ พบตาม 1
อักษราวิสุทธ์ My CAT หรอื ความเป็นจริง 2
โปรแกรมอืน่ - ใช้หลักวิชาการเป็นกรอบการวิเคราะห์ ไม่มีเน้ือหาที่ 3
แสดงความเป็นอคติหรือเอนเอียง เสนอข้อค้นพบตาม 4
ความเป็นจริง ไม่เบ่ียงเบนผลการศึกษา โดยหวังให้เกิด
การตัดสินใจทางใดทางหนง่ึ 5
- ใชห้ ลักวิชาการเป็นกรอบการวเิ คราะห์ ไมม่ เี นอื้ หาท่ี
แสดงความเป็นอคตหิ รือเอนเอยี ง เสนอข้อคน้ พบตาม 1
ความเป็นจริง ไม่เบ่ียงเบนผลการศึกษา โดยหวังให้ 2
เกิดการตัดสินใจทางใดทางหนึ่ง ไม่ขยายข้อค้นพบ 3
โดยปราศจากการตรวจสอบยืนยันในเชงิ วิชาการ 4
- การเรียงลาดับการนาเสนอตามท่ีกาหนดไว้
- การเรียงลาดับการนาเสนอตามที่กาหนดไว้
มกี ารเชอ่ื มโยงระหว่างหวั ขอ้ ตา่ งๆ
- การเรียงลาดับการนาเสนอตามท่ีกาหนดไว้
มีการเช่ือมโยงระหว่างหัวข้อต่าง ๆ มีความเชื่อมโยง
ระหว่างส่วนต่างๆหรอื บท
- การเรียงลาดับการนาเสนอตามที่กาหนดไว้
มีการเช่ือมโยงระหว่างหัวข้อต่างๆ มีความเชื่อมโยง
ระหว่างส่วนต่างๆหรือบท เอกสารต่าง ๆ ที่อ้างอิง
เป็นไปตามหัวขอ้ การนาเสนอ
- การเรียงลาดับการนาเสนอตามท่ีกาหนดไว้
มีการเช่ือมโยงระหว่างหัวข้อต่างๆ มีความเช่ือมโยง
ระหว่างส่วนต่างๆหรือบท เอกสารต่างๆท่ีอ้างอิง
เป็นไปตามหัวข้อการนาเสนอ มีบทสรุปท่ีนาเสนอ
ตามหัวข้อ ไม่สบั สน
- มีการคัดลอกผลงานผู้อื่นโดยไม่มีการอ้างอิง
ไม่เกินร้อยละ 20
- มีการคัดลอกผลงานผู้อ่ืนโดยไม่มีการอ้างอิง
ไมเ่ กนิ ร้อยละ 15
- มีการคัดลอกผลงานผู้อื่นโดยไม่มีการอ้างอิง
ไมเ่ กนิ ร้อยละ 10
- มีการคัดลอกผลงานผู้อื่นโดยไม่มีการอ้างอิง
ไมเ่ กนิ ร้อยละ 5

16

รายการประเมนิ ตวั บ่งชี้ เกณฑ์การใหค้ ะแนนระดับคุณภาพ ระดับ
ความทันสมัยและความถกู ตอ้ ง คะแนน
ทางวิชาการ ใช้เหตผุ ลทาง - มีการคัดลอกผลงานผู้อ่ืนโดยไม่มีการอ้างอิง
วชิ าการเป็นพื้นฐานในการอธิบาย ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 0 5
- มหี ลักฐานยืนยันทม่ี าและความถกู ตอ้ งของข้อมลู 1
รปู แบบบทความ/รายงานทาง - มีหลักฐานยืนยันที่มาและความถูกต้องของข้อมูล 2
วชิ าการถูกต้องตามหลกั วิชา ข้อมูลมีความนา่ เช่ือถือในเชิงวิชาการ 3
- มีหลักฐานยืนยันที่มาและความถูกต้องของข้อมูล 4
ภาษาชัดเจน ความหมายศัพท์ ไม่ ขอ้ มลู มคี วามนา่ เชือ่ ถอื ในเชงิ วชิ าการ ขอ้ มลู ไมล่ า้ สมยั
มขี ้อสงสัย ยงั เปน็ ประโยชน์หากนาขอ้ มูลมาวิเคราะห์ 5
- มีหลักฐานยืนยันท่ีมาและความถูกต้องของข้อมูล
ขอ้ มลู มคี วามนา่ เชื่อถอื ในเชงิ วชิ าการ ข้อมลู ไมล่ ้าสมยั 1
ยังเป็นประโยชน์หากนาข้อมูลมาวิเคราะห์ สามารถ 2
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลท่ีนามาใช้กับผล 3
การศึกษา 4
- มีหลักฐานยืนยันท่ีมาและความถูกต้องของข้อมูล
ขอ้ มูลมคี วามนา่ เชือ่ ถือในเชงิ วชิ าการ ขอ้ มลู ไม่ล้าสมยั 5
ยังเป็นประโยชน์หากนาข้อมูลมาวิเคราะห์ สามารถ
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลท่ีนามาใช้กับผล 1
การศึกษา ใช้ข้อมูลมาประกอบข้อเสนอแนะได้อย่าง 2
เป็นเหตเุ ปน็ ผล 3
- การนาเสนอถูกต้องตามรูปแบบทกี่ าหนด
- การนาเสนอถูกต้องตามรูปแบบท่ีกาหนด มีเนื้อหา 4
สอดคลอ้ งกนั เข้าใจงา่ ย ไมส่ ับสน
- การนาเสนอถูกต้องตามรูปแบบที่กาหนด มีเน้ือหา
สอดคล้องกัน เข้าใจง่าย ไม่สับสน ลาดับการนาเสนอ
แบ่งหัวข้อชัดเจนและเป็นลักษณะเดยี วกันตลอดเลม่
- การนาเสนอถูกต้องตามรูป แบบ ที่ก า ห นด
มีเน้ือหาสอดคล้องกนั เข้าใจง่าย ไม่สับสน ลาดับการ
นาเสนอแบ่งหัวข้อชัดเจนและเป็นลักษณะเดียวกัน
ตลอดเล่ม มีการใช้ภาษา การเลือกใช้แผนภูมิหรือ
ภาพประกอบอยา่ งเหมาะสม
- การนาเสนอถูกต้องตามรูปแบบที่กาหนด มีเน้ือหา
สอดคล้องกัน เข้าใจง่าย ไม่สับสน ลาดับการนาเสนอ
แบง่ หัวขอ้ ชดั เจนและเป็นลกั ษณะเดยี วกนั ตลอดเล่ม มี
การใช้ภาษา การเลือกใช้แผนภูมิหรือภาพประกอบ
อย่างเหมาะสม เข้าใจงา่ ย
- มกี ารใช้ภาษาวิชาการแตม่ คี วามชดั เจน
- มีการใช้ภาษาวิชาการแต่มีความชัดเจน การใช้
ภาษาถูกต้อง กะทดั รดั ชัดเจน สมา่ เสมอ
- มีการใช้ภาษาวิชาการแต่มีความชัดเจน การใช้
ภาษาถกู ต้อง กะทัดรัด ชัดเจน สม่าเสมอ การใช้ศัพท์
บัญญัติ ศัพท์เทคนิค หรือแปลศัพท์เป็นภาษาไทย
เป็นไปตามแบบสากล
- มีการใช้ภาษาวิชาการแต่มีความชัดเจน การใช้
ภาษาถกู ต้อง กะทดั รัด ชดั เจน สม่าเสมอ การใช้ศพั ท์

17

รายการประเมนิ ตวั บง่ ช้ี เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนระดับคุณภาพ ระดับ

คะแนน

บัญญัติ ศัพท์เทคนิค หรือแปลศัพท์เป็นภาษาไทย

เป็นไปตามแบบสากล การใช้ภาษาเหมาะสมเป็นไป

ตามลาดบั การนาเสนอ

- มีการใช้ภาษาวิชาการแต่มีความชัดเจน การใช้ 5

ภาษาถูกตอ้ ง กะทดั รัด ชดั เจน สมา่ เสมอ การใชศ้ ัพท์

บัญญัติ ศัพท์เทคนิค หรือแปลศัพท์เป็นภาษาไทย

เป็นไปตามแบบสากล การใช้ภาษาเหมาะสมเป็นไป

ตามลาดับการนาเสนอ ไม่มีการใช้ภาษาที่ฟุ่มเฟือย

เขา้ ใจยาก

การพิสจู น์อักษร วรรคตอน และ - ไม่มีการสะกดคาผดิ ทง้ั ภาษาไทยและต่างประเทศ 1
การสะกดคาถกู ตอ้ ง
- ไม่มีการสะกดคาผิดท้ังภาษาไทยและต่างประเทศ 2

ตวั อกั ษรเหมาะสมไมเ่ ลก็ หรอื ใหญเ่ กินไป เลขหนา้ ตรง

กบั สารบญั

- ไม่มีการสะกดคาผิดทั้งภาษาไทยและต่างประเทศ 3

ตัวอกั ษรเหมาะสมไม่เล็กหรอื ใหญ่เกินไป เลขหน้าตรง

กับสารบัญ องค์ประกอบหนังสอื ครบถ้วน เชน่ สารบญั

คานา เลขหน้า เปน็ ต้น

- ไม่มีการสะกดคาผิดทั้งภาษาไทยและต่างประเทศ 4

ตัวอักษรเหมาะสมไมเ่ ล็กหรอื ใหญ่เกนิ ไป เลขหน้าตรง

กับสารบัญ องค์ประกอบหนังสือครบถ้วน เช่น

สารบัญ คานา เลขหน้า เป็นต้น ตาแหน่งของหัวข้อ

จดั วางอยา่ งเป็นระบบ

- ไม่มีการสะกดคาผิดท้ังภาษาไทยและต่างประเทศ 5

ตัวอักษรเหมาะสมไม่เล็กหรือใหญ่เกินไป เลขหน้าตรง

กับสารบัญ องค์ประกอบหนังสือครบถ้วน เช่น สารบัญ

คานา เลขหน้า เป็นต้น ตาแหน่งของหัวข้อจดั วางอย่าง

เป็นระบบและเรียงลาดบั ใหช้ ดั เจน อา่ นงา่ ย

ภาพประกอบชดั เจน สอดคล้อง - มีการอธบิ ายรายละเอยี ดของภาพประกอบทกุ ภาพ 1
กบั เนอ้ื หา
- มีการอธบิ ายรายละเอียดและท่ีมาของภาพประกอบ 2
เป็นการแสดงความรู้
ความสามารถ และความเช่ือม่ัน ทุกภาพ
ของผ้เู ขียน
- มกี ารอธบิ ายรายละเอียดและทม่ี าของภาพประกอบ 3

ทุกภาพ มภี าพประกอบเทา่ ทจี่ าเปน็

- มกี ารอธบิ ายรายละเอยี ดและทม่ี าของภาพประกอบ 4

ทุกภาพ มีภาพประกอบเท่าที่จาเป็น ภาพประกอบ

เกี่ยวขอ้ งกับเน้ือหาทน่ี าเสนอ

- มกี ารอธบิ ายรายละเอียดและทม่ี าของภาพประกอบ 5

ทุกภาพ ภาพประกอบเกี่ยวข้องกับเน้ือหาที่นาเสนอ

และง่ายต่อการทาความเข้าใจ

- แสดงให้เห็นว่ามีการเตรียมตัวหรอื ศึกษาข้อมูลเรอ่ื ง 1

ที่ศกึ ษาอยา่ งเพียงพอ

- แสดงให้เห็นว่ามีการเตรยี มตัวหรือศึกษาข้อมูลเรื่อง 2

ที่ศึกษาอยา่ งเพียงพอ ค้นควา้ ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่

เชอื่ ถอื ได้

18

รายการประเมิน ตวั บ่งช้ี เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนระดับคุณภาพ ระดับ

คะแนน

- แสดงให้เห็นว่ามกี ารเตรียมตัวหรอื ศึกษาข้อมูลเร่ือง 3

ทศ่ี กึ ษาอย่างเพยี งพอ ค้นคว้าข้อมลู จากแหล่งข้อมูลที่

เชื่อถอื ได้ มีการวิเคราะห์ในเชิงสร้างสรรค์

- แสดงให้เห็นว่ามกี ารเตรยี มตวั หรือศึกษาข้อมลู เรื่อง 4

ทีศ่ กึ ษาอย่างเพยี งพอ คน้ ควา้ ขอ้ มูลจากแหล่งข้อมูลที่

เชอ่ื ถือได้ มีการวเิ คราะหใ์ นเชิงสรา้ งสรรค์โดยมีข้อมูล

ประกอบอย่างชัดเจน

- แสดงให้เห็นว่ามีการเตรยี มตัวหรอื ศึกษาข้อมลู เรือ่ ง 5

ทีศ่ ึกษาอยา่ งเพยี งพอ ค้นคว้าข้อมลู จากแหล่งขอ้ มูลท่ี

เช่อื ถอื ได้ มีการวิเคราะหใ์ นเชิงสรา้ งสรรคโ์ ดยมีข้อมูล

ประกอบอย่างชัดเจน บทสรุปครบถ้วนตามผล

การศึกษา

สัดส่วนเนอ้ื หาของบทความ - จานวนหน้าของแต่ละส่วนหรือแต่ละบทมี 1
เหมาะสม
ความเหมาะสมกบั เนอื้ หา ไมส่ ั้น หรือไมย่ าวจนเกนิ ไป

- จานวนหน้าของแต่ละส่วนหรือแต่ละบทมี 2

ความเหมาะสมกบั เนื้อหา ไม่ส้นั หรือไมย่ าวจนเกินไป

หัวข้อตรงกับเน้อื หา ไม่กว้างกวา่ หัวขอ้

- จานวนหน้าของแต่ละส่วนหรือแต่ละบทมีความ 3

เหมาะสมกับเนื้อหา ไม่สั้น หรือไม่ยาวจนเกินไป

หัวข้อตรงกับเน้ือหา ไม่กว้างกว่าหัวข้อ หัวข้อระดับ

เดยี วกันมคี วามสาคญั เทา่ กนั

- จานวนหน้าของแต่ละส่วนหรือแต่ละบทมี 4

ความเหมาะสมกบั เน้ือหา ไม่ส้นั หรือไมย่ าวจนเกินไป

หัวข้อตรงกับเน้ือหา ไม่กว้างกว่าหัวข้อ หัวข้อระดับ

เดียวกันมีความสาคัญเท่ากัน บทวิเคราะห์ได้มาจาก

ส่วนของเนื้อหาก่อนหนา้

- จานวนหน้าของแต่ละส่วนหรือแต่ละบทมีความ 5

เหมาะสมกบั เนือ้ หา ไม่สั้น หรอื ไมย่ าวจนเกนิ ไป หวั ข้อ

ตรงกับเนื้อหา ไม่กว้างกว่าหัวข้อ หัวข้อระดับเดียวกนั

มีความสาคัญเท่ากัน บทวิเคราะห์ได้มาจากส่วนของ

เน้ือหาก่อนหน้า บทสรุปและบทสรุปผบู้ ริหารมสี ดั สว่ น

เหมาะสมกับเนอื้ หาด้านใน

แสดงถึงความคดิ ริเรม่ิ และ - สามารถนาหลักการ ทฤษฎีมาใช้ในเร่อื งที่ศึกษา 1
สร้างสรรค์
- สามารถนาหลกั การ ทฤษฎมี าใชใ้ นเรื่องทศี่ ึกษาได้ 2

อย่างลึกซึ้ง

- สามารถนาหลกั การ ทฤษฎมี าใชใ้ นเรือ่ งทศ่ี ึกษาได้ 3

อย่างลึกซงึ้ มีจุดยืนหรอื จุดเด่นตา่ งจากงานท่มี ผี ้อู ่นื

เคยศกึ ษาไว้ มีความคิดรเิ ริ่มแปลกใหม่ หรอื มี

ความคิดเปน็ ของตนเอง

- สามารถนาหลักการ ทฤษฎีมาใช้ในเรื่องท่ีศึกษาได้ 4

อย่างลึกซ้ึง มีจุดยืนหรือจุดเด่นต่างจากงานท่ีมีผู้อ่ืน

เคยศึกษาไว้ มีความคิดริเร่ิมแปลกใหม่ หรือมี

ความคิดเป็นของตนเอง มีเหตุผลสนับสนุนอย่าง

เพยี งพอ

19

รายการประเมนิ ตัวบง่ ชี้ เกณฑ์การใหค้ ะแนนระดบั คณุ ภาพ ระดบั
คะแนน
2. ด้านประโยชน์ ผลงานมปี ระโยชนใ์ นทางวชิ าการ - สามารถนาหลักการ ทฤษฎีมาใช้ในเร่ืองท่ีศึกษาได้
ของผลงาน และตอบสนองตอ่ ความต้องการ อย่างลึกซ้ึง มีจุดยืนหรือจุดเด่นต่างจากงานท่ีมีผู้อื่น 5
ของสมาชิกรฐั สภาและผูใ้ ช้ผลงาน เคยศึกษาไว้ มีความคิดริเร่ิมแปลกใหม่ หรือมี
ความคิดเป็นของตนเอง มีเหตุผลสนับสนุนอย่าง 1
การใชเ้ ปน็ แหล่งอ้างอิงในทาง เพียงพอ มีข้อเสนอแนะที่เป็นแนวทางใหม่ๆ 2
วิชาการ ไมล่ อกเลยี นผู้อน่ื ท้งั หมด 3
4
- สามารถตพี ิมพ/์ เผยแพร่ในระบบอิเล็กทรอนกิ ส์
- สามารถตีพิมพ์/เผยแพร่ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ 5
และผูเ้ กยี่ วข้องนาประเดน็ ไปอภิปราย
- สามารถตีพิมพ์/เผยแพร่ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ 1
และผเู้ กยี่ วข้องนาประเดน็ และวงเงนิ ไปอภิปราย 2
- สามารถตีพิมพ์/เผยแพร่ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ 3
และผู้เก่ียวข้องนาประเด็นและวงเงินไปอภิปราย 4
และปรับลดงบประมาณได้
- สามารถตีพิมพ์/เผยแพร่ในระบบอิเล็กทรอนิกส์ 5
และผู้เก่ียวข้องนาประเด็นและวงเงินไปอภิปราย
และปรับลดงบประมาณได้ สมาชิก/ผู้ใช้ผลงานมี
ความพงึ พอใจไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 70
- ผ ล งา นมี คุณภ าพระ ดับ คะแ นนไม่ น้อยกว่า
รอ้ ยละ 70 และได้รบั การเผยแพร่
- ผ ล งา นมี คุณภ าพระ ดับ คะแ นนไม่ น้อยกว่า
รอ้ ยละ 80 และได้รบั การเผยแพร่
- ผ ล งา นมี คุณภ าพระ ดับ คะแ นนไม่ น้อยกว่า
รอ้ ยละ 90 และได้รบั การเผยแพร่
- ผ ล งา นมี คุณภ าพระ ดับ คะแ นนไม่ น้อยกว่า
ร้อยละ 90 และได้รับการเผยแพร่ และได้รับคานยิ ม
จากผ้เู ช่ยี วชาญในสาขานน้ั
- ผ ล งา นมี คุณภ าพระ ดับ คะแ นนไม่ น้อยกว่า
ร้อยละ 90 และได้รับการเผยแพร่ และได้รับคานิยม
จากผู้เช่ียวชาญในสาขานั้น และได้รับการประเมินให้
อยใู่ นฐานข้อมลู TCI

20

ตารางการดาเนนิ การปรับปรุงแก้ไขเอกสารวชิ าการ
ตามขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการอา่ นและตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารวชิ าการ

เร่ือง.................................................................................................................................................................................

ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไข สรุปประเด็นแก้ไขและระบุหมายเลขหน้า คาอธิบายเพิ่มเตมิ
รายงานวชิ าการ (เคา้ โครง) ทปี่ รับแกไ้ ข

21


Click to View FlipBook Version