The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Wongprasert Tawanrat, 2019-06-06 11:23:33

unit 3

unit 3

การเป็ นผู้ประกอบการเกษตร
หน่วยที่ 3

การลงทุน

นางธวลั รัตน์ วงค์ประเสริฐ

สาระการเรียนรู้

1. ความหมายและลกั ษณะการลงทนุ
2. การลงทนุ ทางการเงิน
3. ผลตอบแทนจากการลงทุน
4. หลกั การลงทุน
5. การลงทุนโดยฝากเงินกบั ธนาคารพาณิชย์
6. การลงทุนในตราสารหน้ี
7. การลงทุนในตราสารทุน
8. การลงทุนโดยการประกนั ชีวิต
9. การลงทุนในกองทนุ 10. การลงทุนประกอบธุรกิจ

จุดประสงค์รายวชิ า

แสดงความรู้ท้งั 10 สาระการ
เรียนรู้ได้

1.ความหมายและลกั ษณะการ
ลงทุน

การลงทุน หมายถึง เป็นการใชท้ รัพยากร

ในลกั ษณะต่างๆ เพื่อหวงั ผลตอบแทน

กลบั คืนมา มากกวา่ ท่ีลงทุนไปในอตั ราที่

พอใจภายใตค้ วามเสี่ยงที่เหมาะสม เช่น

- การลงทุนในการประกอบอาชเงีพนิ ทนุ อาจมาจาก
- การลงทุนในตลาดหลกั ทรัพยเ์งินออมหรือก้จู าก
สถาบนั การเงนิ ตา่ ง
- การลงทุนในบา้ นและท่ีดิน ๆ
- การลงทุนทองคาํ ฯลฯ

ลกั ษณะของการลงทุน

การ1ล. งกทารุนลแงบท่งุนไใดนเ้ ปส็ินนท2รัพลยกัท์ ษ่ีมณีตวัะตคนือ(Tangible

Investment)
2. การลงทุนในสินทรัพยท์ ่ีไม่มีตวั ตน (Intangible

Investments)

12

ปัจจยั ทมี่ ผี ลต่อการตดั สินใจลงทนุ

1. ปัจจยั ส่วนบุคคล(ผลู้ งทุน) ไดแ้ ก่อายุ สุขภาพ ความรู้
เร่ืองการลงทุน เวลา การยอมรับความเส่ียง ความขยนั
อดทน มุ่งมนั่ ความกระตือรือร้น
2. ปัจจยั ดา้ นเศรษฐกิจ ไดแ้ ก่ สภาพคลอ่ งทางการเงิน

อตั ราดอกเบ้ีย

อตั ราแลกเปลี่ยนเงินตราระหวา่ งประเทศ ภาวะเศรษฐกิจ
ตา่ งประเทศ

3. ปัจจยั ดา้ นการเมือง เน่ืองจากรัฐเป็นผกู้ าํ หนด
นโยบายต่าง ๆ ที่ผลกระทบโดยตรงต่อเศรษฐกิจ ไม่วา่ จะ
เป็นการกาํ หนดอตั ราภาษี การส่งเสริมการลงทุน การหา
ตลาดตา่ งประเทศ เป็นตน้

ปัจจยั ทม่ี ผี ลต่อการตดั สินใจลงทนุ

4. ปัจจยั ด้านตลาดหลกั ทรัพย์ เชน่ ขา่ วการเก็ง
กาไร กฎระเบยี บที่เข้มงวดหรือออ่ นแอเกินไป อตั รา
กาไรขนั้ ต้น ผลกาไร ฐานะการเงินของบริษัทจด
ทะเบยี น การเพ่ิมทนุ การจ่ายเงนิ ปันผลหรือขา่ ว
ผ้บู ริหารของบริษัท ก็อาจสง่ ผลผลตอ่ ตลาด
หลกั ทรัพย์ได้

5. ปัจจยั อน่ื ๆ ได้แกฝ่ นแล้ง นา้ ทว่ ม แผน่ ดินไหว
หรือภยั พบิ ตั ิธรรมชาติตา่ ง ๆ รวมทงั้ ความไม่สงบ
ภายในประเทศ หรือบริเวณชายแดนกบั ประเทศ
เพื่อนบ้าน อาจสง่ ผลกระทบตอ่ ภาวะทางเศรษฐกิจ
ด้านอื่น ๆ

2. การลงทุนทางการเงนิ

การลงทุนทางการเงิน (Financial
Investments) หมายถึง การที่ผลู้ งทุนนาํ เงินที่
มีอยไู่ ปซ้ือหลกั ทรัพยต์ ่างๆ ซ่ึงก่อใหเ้ กิด
รายไดก้ บั ผลู้ งทุน โดยจะทาํ ผา่ นตลาด
การเงิน มีวตั ถุประสงคเ์ พ่อื จะไดร้ ับ
ผลตอบแทนในรูปของ

- ดอกเบ้ีย (Interest)
- เงินปันผล (Dividend)
- กาํ ไรจากการซ้ือขายหุน้ (Capital
Gain)
- และสิทธิพเิ ศษอ่ืนๆ

แหล่งข้อมูลของการลงทุน

1. ภายในกิจการ
2. จากหน่วยงานอื่น เช่น ขอคาํ ปรึกษาผเู้ ช่ียวชาญ

การอบรมสัมมนา
3. จากหน่วยงานท่ีเสนอข่าวสารการลงทุน เช่น
ตลาดหลกั ทรัพย์

4. จากส่ิงตีพมิ พท์ ี่เสนอขอ้ มูลเก่ียวกบั การลงทุน

เช่น
หนงั สือพมิ พธ์ ุรกิจ

5. จากเอกสารที่ไดจ้ ากนายหนา้ หรือตวั แทน
ท่ีตอ้ งการผรู้ ่วมลงทุน

แหล่งทมี่ าของเงนิ เพ่ือการลงทุน

เกดิ ลงทุนจากภายใน
1. จากเงินออม
2. จากการออมโดยวิธีบงั คบั หกั จากเงินเดือน +
นายจา้ ง

สมทบ มีบุคคลที่สามเป็นผดู้ ูแลผลประโยชน์
เช่น

กองทุนประกนั สงั คม กองทุน กบข.
3. จากการใชจ้ ่ายอยา่ งประหยดั นาํ เงินที่เหลือ
ไปลงทุน
4. จากการเกบ็ ออมรายไดพ้ ิเศษไว้

แหล่งเงนิ จากภายนอก

คือแหล่งเงนิ ทุนท่ีได้มาจากสถาบันทางการเงินต่าง ๆ ที่ต้ังขึน้
ตามกฎหมาย ได้แก่

1.1 สถาบนั การเงินทว่ั ไป เป็นองคก์ รดาํ เนินกิจการเกี่ยวกบั การเงิน
ใหค้ วามร่วมมือ

ในการจดั หาเงินทุนแก่ธุรกิจไดแ้ ก่ ธนาคาร
1.2 สถาบันการเงินเฉพาะกจิ เช่น

- ธนาคารเพ่ือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร บรรษทั
เงินทุนอตุ สาหกรรม

แห่งประเทศไทย
- สถาบนั การเงินเพอ่ื การออมทรัพยเ์ ช่น ธนาคารออมสิน
- ตลาดหลกั ทรัพย์
- สถาบนั การเงินอน่ื เช่น สหกรณ์การเกษตร โรงรับจาํ นาํ
- หน่วยลงทุน เช่น บรรษทั หลกั ทรัพยก์ องทนุ

3. ผลตอบแทนจากการลงทุน

การลงทุนมีความสมั พนั ธ์กบั
ผลตอบแทน (Returns) และความเส่ียง
(Risks)

สาเหตุของการลงทุน เพราะหวงั จะ
ไดร้ ับผลตอบแทนตามเงื่อนไขที่ตกลงกนั
ไว้ แต่บางคร้ังไม่เป็นไปตามท่ีคาดหมายจึง
ตอ้ งอยภู่ ายใตค้ วามเสี่ยงที่อาจเกิดข้ึนได้
ผลตอบแทนจากการลงทุนมีหลายรูปแบบ
ไดแ้ ก่

ผลตอบแทนจากการลงทนุ

1.รายได้ตามปกต(ติ (C่อu)rrent Income)

ไดแ้ ก่
- ดอกเบ้ีย
- เงินปันผล

2. กาไรจากการซื้อขายหุ้น (Capital
Gains)

3. ค่าเช่า (Rent)
4. ผลตอบแทนอื่นๆ (Others)
เช่น

เป็ นผู้บริหาร หรือได้รับสิทธิ
พเิ ศษ

4.หลกั การลงทุน

เพื่อให้เกดิ ความเส่ียงน้อยทส่ี ุด ควรจะมี
หลกั ในการลงทุน ดงั นี้

1) ความปลอดภยั ของเงินลงทุน
2) เสถียรภาพของรายได้
3) ความเจริญเติบโตของเงินลงทุน
4) ความคล่องตวั ในการซ้ือขาย
5) การกระจายเงินลงทุน
6) หลกั เก่ียวกบั ภาษี

หลกั เกณฑ์ในการพจิ ารณาการ
ลงทุน

ขนึ้ อยู่กบั ปัจจัยต่อไปนี้
1) อุปนิสยั ของผลู้ งทุน
2) ขนาดของจาํ นวนเงินท่ีลงทุน
3) ความเส่ียงการเกง็ กาํ ไร
4) ขอ้ เสนอแนะในการลงทุน
5) ความเส่ียง
6) การกระจายความเสี่ยง

5. การลงทุนโดยฝากเงนิ กบั ธนาคารพ

ธนาคารพาณชิ ย์ หมายถึง การประกอบ
ธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ตอ้ งจ่ายคืนเม่ือทวง
ถาม หรือเม่ือสิ้นระยะเวลาอนั ไดก้ าํ หนดไว้
และธนาคารใชป้ ระโยชนจ์ ากเงินน้นั เช่น

- การใหก้ ยู้ มื
- ซ้ือขาย
- หรือเกบ็ เงินตามตว๋ั หรือตรา
สาร

เปล่ียนมืออื่นใด
- ซ้ือหรือขายเงินตรา
ต่างประเทศ

5. การลงทุนโดยฝากเงนิ กบั ธนาคารพา

ข้อดขี องการฝากเงนิ กบั
ธนาคาร

1. มีความเส่ียงต่าํ และเขา้ ใจง่าย
2. มีสภาพคลอ่ งสูง
3. มีความสะดวกในการฝาก-
ถอน

5. การลงทนุ โดยฝากเงนิ กบั ธนาคารพาณิชย

หน้าท่ีของธนาคารพาณิชย์

1. การรับฝากเงิน
2. การใหก้ ยู้ มื
3. การโอนเงิน
4. การเรียกเกบ็ เงิน
5. การใหเ้ ช่าตูน้ ิรภยั
6. การซ้ือขายเงินตราต่างประเทศ
7. การบริการอื่น ๆ เช่น บตั รเครดิต รับ
ชาํ ระ

ค่าสาธารณูปโภค หนงั สือค้าํ ประกนั ฯลฯ

ตวั อย่างข้นั ตอนการเรียกเกบ็ เงินของ
ธนาคาร

6. การลงทุนโดยตราสารหนี้

ตราสารหน้ี (Debt Instrument) คือ ตราสารทาง
การเงินที่เป็ นเครื่ องมือในการระดมเงินทุนโดยการ
กยู้ มื เงิน ถา้ ออกโดยภาครัฐเรียกวา่ “พนั ธบตั ร” ถา้
ออกโดยเอกชนจะเรียกวา่ “หุน้ ก”ู้ โดย

- ผู้ออกตราสารหนี้ เรียกวา่ ผู้กู้ (ลูกหนี)้ มีขอ้
ผกู พนั ทางกฎหมายจะจ่ายผลตอบแทนในรูปดอกเบ้ีย
และเงินตน้ หรือประโยชนอ์ ่ืนๆ ใหแ้ ก่

- ผู้ซื้อเรียกวา่ ผู้ให้กู้ (เจ้าหนี)้ เม่ือครบเวลาที่
กาํ หนด จะมีท้งั ระยะส้นั ปานกลางและระยะยาว

6. การลงทุนโดยตราสารหนี้
(ต่อ)

ออกจาก 2 แหล่ง คือ

1. ตราสารหนีภ้ าครัฐ

2. ตราสารหนีภ้ าคเอกชน

6. การลงทุนโดยตราสารหนี้
(ต่อ)

1. ตราสารหน้ีภาครัฐ ไดแ้ ก่
- พนั ธบตั รรัฐบาล (Government Bond)
- พนั ธบตั รรัฐวสิ าหกิจ (State-Owned

Enterprise Bond)

- พนั ธบตั รธนาคารแห่งประเทศไทย (Bank of

Thailand Bond)

- พนั ธบตั รกองทุนเพอ่ื การฟ้ื นฟูและพฒั นา
ระบบสถาบนั การเงิน

- ตวั๋ เงินคลงั

6. การลงทุนโดยตราสารหนี้

1. ตราสารห(นตี้ ่อ)

- ภามคี รวาัฐมเสี่ยงต่าํ

- อตั ราผลตอบแทนต่าํ
- อายกุ ารลงทุนระยะยาว เพื่อมิใหเ้ ป็นภาระ

ของรัฐ
ในการบริหารและจดั การหน้ี
ยกเว้นตว๋ั เงนิ คลงั ซ่ึงรัฐบาลออกเพื่อใชใ้ น
การกยู้ มื เงิน
ระยะส้นั ไม่เกิน 180 วนั หรือเพือ่ รักษา
สภาพคลอ่ ง
ส่วนเกินในตลาดเงิน เพอื่ รักษาระดบั อตั รา
ดอกเบ้ียเท่าน้นั





6. การลงทนุ โดยตราสารหนี้ (ต่อ)

2. ตราสารหนภี้ าคเอกชน ได้แก่

2.1 หุน้ กู้ (Debenture)
2.2 หุน้ กมู้ ีประกนั (Secured Debt)
2.3 หุน้ กไู้ ม่มีประกนั (Non-secured Debt)
2.4 หุน้ กไู้ ม่ดอ้ ยสิทธ์ิ (Senior Debt)
2.5 หุน้ กดู้ อ้ ยสิทธ์ิ (Subordinated Debt)
2.6 ตว๋ั แลกเงิน (Bill of Exchange)
2.7 ตว๋ั สญั ญาใชเ้ งิน (Promissory Note)
2.8 บตั รเงินฝากแลกเปลี่ยนมือได้ (Negotiable
Certifacate of Deposit)

ลกั ษณะการออกตราสารและการลงทุนซื้อ
ตราสาร

ตวั แลกเงนิ

ผ้ ูออกตราสารหนี ้
(ลูกหนี)้

ได้รับเงนิ จ่าย จ่าย จ่ ายดอกเบยี ้
ต้น ดอกเบยี ้ ดอกเบยี ้ และมูลค่าไถ่

ผู้ลงทุนซอื้ ตราสาร รับ ถอน
(เจ้าหนี)้ ดอกเบยี ้
รับดอกเบยี ้
ชาระค่า รับ และมูลค่าไถ่
ตราสาร ดอกเบยี ้
ถอน
หนี ้



6. การลงทุนโดยตราสารหนี้

การแบ่งประ(ตเภ่อทข)องตราสารหนี้

1. แบ่งตามประเภทผอู้ อก (รัฐ ,เอกชน)
2. แบ่งตามสิทธิในการเรียกร้อง (หุน้ กดู้ อ้ ยสิทธ
,ไม่ดอ้ ยสิทธิ)
3. แบ่งตามหลกั ประกนั (มีหลกั ประกนั ,ไม่มี
หลกั ประกนั )
4. แบ่งตามชนิดอตั ราดอกเบ้ีย (คงที่, ลอยตวั )
5. แบ่งตามชนิดของสิทธิแฝงที่ติดมาพร้อมกบั
ตราสารหน้ี
6. แบ่งตามกระแสการจ่ายเงินสด
7. หุน้ กทู้ ่ีมีการจดั โครงสร้างพิเศษ

6. การลงทุนโดยตราสารหนี้

ผลตอบแทนก(ารตล่องท)ุนในตราสารหนี้
1. ดอกเบ้ียรับ
2. กาํ ไรขาดทุนจากการขายตราสารหน้ี
3. ส่วนลดรับ
สว่ นลดรับ = ส่วนต่างระหวา่ งราคาซ้ือและ

ราคารับชาํ ระคืน
เมื่อครบกาํ หนด

หลกั เกณฑ์ 1 ปี ทใี่ ช้คานวณดอกเบีย้ โดยท่ัวไป

มี 365 วนั
แต่ถ้าปี ไหนมีปี อธิกสุรทนิ เดือนกมุ ภาพนั ธ์มี 29 วัน

ในปี น้ัน

จะมี 366 วนั

6. การลงทุนโดยตราสารหนี้

ความเส่ียงจาก(กตาร่อลง)ทนุ ในตราสารหนี้

1. อตั ราความเสี่ยงดอกเบ้ีย หรือความเสี่ยงในตลาด
(Interest Rate Risk หรือ Market Risk)

2. ความเส่ียงดา้ นเครดิต ( Credit Risk หรือ Default
Risk)

3. อาํ นาจในการซ้ือหรือความเสี่ยงจากภาวะเงินเฟ้อ
(Inflation Risk)

4. ความเส่ียงในการลงทุนต่อ (Reinvestment Risk)
5. ความเสี่ยงเม่ือครบกาํ หนด (Rollover Risk)

6. การลงทุนโดยตราสารหนี้
(ต่อ)

ความเสี่ยงจากการลงทนุ ในตรา
สารหนี้

6. ความเส่ียงท่ีมีการระบุเง่ือนไข (Call Risk)
7. ความเส่ียงกอ่ นครบกาํ หนด (Prepayment Risk)
8. ความเสี่ยงอตั ราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
(Currentcy Risk)
9. ความเส่ียงสภาพคล่อง (Liquidity Risk)
10. ความเส่ียงคุม้ ทุน (Event Risk)

7. การลงทุนในตราสารทุน

ตราสารทุน (Equity Instruments) คือ
ตราสารที่บริษทั ออกใหแ้ ก่ผถู้ ือหุน้ เพื่อ
แสดงสิทธิของความเป็นเจา้ ของในกิจการ
น้นั แบ่งเป็น
1) หุน้ สามญั (Common Stocks หรือ

Ordinary Shares)

2) หุน้ บุริมสิทธิ (Preferred Stocks)

7. การลงทุนในตราสารทุน
(ต่อ)

ตราสารทุน (Equity Instruments) คือ
ตราสารท่ีบริษทั ออกใหแ้ ก่ผถู้ ือหุน้ เพอ่ื
แสดงสิทธิของความเป็นเจา้ ของในกิจการ
น้นั

7. การลงทุนในตราสารทุน
(ต่อ)

ประเภทของตราสารทุน
1. หุน้ สามญั
2. หุน้ บุริมสิทธ์
3. ใบสาํ คญั แสดงสิทธิ
4. หน่วยลงทุนใกองทุนตราสารแห่งทุน
5. ตราสารแสดงสิทธิในพนั ธะท่ีมี

หลกั ทรัพยอ์ า้ งอิงเป็นหุน้ (Stock
Options & Futures)

7. การลงทุนในตราสารทุน

1) หุ้นสามญั (Com(mตon่อS)tocks หรือ

Ordinary Shares)
- คือตราสารสุทธิท่ีแสดงความเป็นเจา้ ของ
กิจการ
- เป็นตราสารประเภททุนหุน้
- ไดร้ ับเงินปันผลในอตั ราท่ีจดั สรรที่ประชุม
ใหญ่
- เงินปันผลมากหรือนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั กาํ ไร
- จ่ายเงินปันผลเป็นเงินสด ,เป็นหุน้ สามญั
ออกใหม่

7. การลงทุนในตราสารทุน

(ต่อ)

ประโยชน์ทไ่ี ด้จากการลงทนุ หุ้นสามญั
1. ไดร้ ับผลตอบแทนจากการดาํ เนินงาน

ในรูป
เงินปันผลและรายไดส้ ่วนทุน

2. สามญั ขายหุน้ สามญั ไดท้ นั ที มีสภาพ
คล่องสูง

3. ผถู้ ือหุน้ ไม่เก่ียวขอ้ งโดยตรงกบั การ
บริหารงาน

ในกิจการและตลาด

7. การลงทุนในตราสารทุน
(ต่อ)

2) หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stocks)

- เป็นตราสารท่ีแสดงความเป็นเจา้ ของ
โดยจดบุริมสิทธิไวช้ ดั เจน ยกเลิกไม่ได้

- ไดร้ ับเงินปันผลในอตั ราคงท่ีตามที่จด
หุน้ บุริมสิทธิ

- จะไดร้ ับชาํ ระคืนเงินทุนก่อนหุน้
สามญั กรณีที่เลิกกิจการ

7. การลงทุนในตราสารทุน
(ต่อ)

2) หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stocks)

- เป็นตราสารท่ีแสดงความเป็นเจา้ ของ
โดยจดบุริมสิทธิไวช้ ดั เจน ยกเลิกไม่ได้

- ไดร้ ับเงินปันผลในอตั ราคงท่ีตามที่จด
หุน้ บุริมสิทธิ

- จะไดร้ ับชาํ ระคืนเงินทุนก่อนหุน้
สามญั กรณีที่เลิกกิจการ

7. การลงทุนในตราสารทุน

(ต่อ)

ชนิดของหุ้นบุริมสิทธิ

1. หุน้ บุริมสิทธิชนิดสะสม
2. หุน้ บุริมสิทธิชนิดแปลงสภาพได้
3. หุน้ บุรุมสิทธิชนิดมีกองทุนไว้
สาํ หรับไถ่ถอน

7. การลงทุนในตราสารทุน

(ต่อ)

ผลตอบแทนในตราสารทุน(หน้า 70)

1. เงินปันผล (Dividend) คือส่วนแบ่ง
กาํ ไรจากการดาํ เนินกิจการ พิจารณาจากที่
ประชุมใหญ่

2. กาํ ไรส่วนเกินทุน คือเงินไดท้ ี่เกิด
จากผลต่างของราคาขายหลกั ทรัพยท์ ี่สูง
กวา่ ราคาทุน

7. การลงทุนในตราสารทุน

ความเส่ียงจากก(ตาร่อล)งทุนในตราสาร

ทุน (หน้า 70-71)

1. ความเสี่ยงดา้ นเครดิต
2. ความเสี่ยงของธุรกิจหรือ
อุตสาหกรรม
3. ความเส่ียงในตลาดหุน้

8.การลงทุนโดยทาประกนั

ชีวติ

การประกนั ชีวติ เป็นสญั ญาระหวา่ ง
ผใู้ หป้ ระกนั ซ่ึงมกั เป็นบริษัทประกนั ชีวติ กบั
ผ้เู อาประกนั โดยผเู้ อาประกนั ตอ้ งจ่ายเบ้ีย
ประกนั ใหผ้ ู้รับประกนั

หากผเู้ อาประกนั เกิดเสียชีวติ ขณะที่
กรมธรรมม์ ีผลบงั คบั ภายในเงื่อนไขใน
กรมธรรม์ บริษทั ประกนั จะจ่ายเงินจาํ นวน
หน่ึงใหก้ บั ผรู้ ับผลประโยชน์เรียกวา่ เงิน

สินไหม

8.การลงทุนโดยทาประกนั

(7Tช2e-rน7mิด6)1)ข. กอางรกปารระปกรนั ะชกชีวนั ีติวชแติ ีวบติบแชบ่วงบรพะยื้นะฐเวาลนา(หน้า

2. การประกนั ชีวิตแบบออมทรัพย์
(Endowment)

3. การประกนั ชีวิตแบบตลอดชีพ
(Who Life)

4. การประกนั ชีวติ แบบบาํ นาญ
(Annity)

5. การประกนั ชีวิตควบการลงทุน

9.การลงทุนในกองทุน (76-

ประเภทของกองท8นุ0)

1. กองทุนรวม (Mutual Fund หรือ Unit
Trust)

- กองทุนปิ ด (Closed-End Fund)

- กองทุนเปิ ด (Open-End Fund)

2. กองทุนเพ่ือการเลยี้ งชีพ

- กองทุนสาํ รองเล้ียงชีพ
- กองทุนบาํ เหนจ็ บาํ นาญขา้ ราชการ (กบข.)
- กองทุนเพ่ือการเล้ียงชีพ

10. การลงทุนประกอบ

ธุรกจิ

ธุ ร กิ จ ห ม า ย ถึ ง

ก ร ะ บ ว น ก า ร ข อ ง ธุ ร กิ จ
(ประกอบดว้ ย) นบั ต้งั แต่ การผลิต
การ จาหน่ายสินค้า และบริการ
เพ่ือตอบสนองความตอ้ งการของ
ผบู้ ริโภค เพื่อหวงั ผลกาไรที่จะ
ไดร้ ับ

10. การลงทุนประกอบ

ธุรกจิ

การลงทุนประกอบธุรกจิ หมายถึง

การนาํ เงินมาลงทุนเพอ่ื ประกอบการให้
เกิดผลผลิตเป็นสินคา้ หรือบริการและ อยู่
ภายใตข้ อบเขตของกฎหมาย ผทู้ ่ีลงทุนกจ็ ะ
ไดร้ ับรายได้ คือกาํ ไรจากการขายสินคา้
หรือบริการ

10. การลงทุนประกอบธุรกจิ

(ต่อ)

ลกั ษณะการลงทนุ 3 ลกั ษณะ
1. การลงทนุ ของผ้บู ริโภค
2. การลงทุนในธุรกจิ อตุ สาหกรรม
3. การลงทุนในทางการเงนิ

3
2

1

ประเภทของธุรกจิ

1. การพาณิชย์
2. การอุตสาหกรรม
3. การบริการ


Click to View FlipBook Version