The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by imjai19901, 2022-07-04 01:52:21

โอปอและโฟร์

โอปอและโฟร์

Keywords: ปิงปอง

รายงาน
เร่อื ง กีฬาเทเบลิ เทนิส

เสนอ
ครูพิษณุ ประกอบนา

โดย
ด.ช. สุขสนั ต์ สุขใส
ด.ช.จิรัฐตพิ ล เนียมพ่วง
ชั้นมัธยมศกึ ษาปี ที่ 1
รายงานนีเ้ ป็ นสว่ นหน่ึงของรายวชิ าพละศึกษา

ภาคเรียนที่ 1

คานา
รายงานเลม่ นเี้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของวชิ า พลศกึ ษา โดยรวบรวม
ขอ้ มลู ท่เี กี่ยวกบั กีฬาเทเบลิ เทนนสิ คือ ประวตั แิ ละความเป็นมา
ของ กีฬาเทเบลิ เทนนิส หลกั และวธิ ีการเลน่ การแขง่ ขนั การฝึก
เทคนิคและทกั ษะสว่ นบคุ คลในการเล่น การเคลอื่ นไหวของ
รา่ งกายของรา่ งกาย รวมทง้ั กฎและกตกิ าในการแขง่ ขนั ถา้
รายงานเล่มนมี้ ีขอ้ ผดิ พลาดประการใดกข็ ออภยั มา ณ ท่นี ดี้ ว้ ย

ผู้จัดทา
สุขสนั ต์ สุขใส
จิรัฐตพิ ล เนียมพว่ ง

สารบัญ หน้า
3
ประวัติกีฬาปิ งปอง หรอื เทเบลิ เทนนิส 5
วธิ กี ารเลน่ กฬี าปิ งปอง หรือ เทเบิลเทนนิส

ประวตั ิกีฬาปิ งปอง หรอื เทเบิลเทนนิส

กีฬาปิ งปองได้เริ่มขึ้นครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1890 (พ.ศ. 2433) ท่ีประเทศอังกฤษ โดยในอดีต
อุปกรณท์ ่ใี ช้เล่นปิ งปองเป็ นไมห้ ุ้มหนังสตั ว์ ซง่ึ มลี ักษณะคลา้ ยกบั ไมป้ ิ งปองในปัจจุบัน สว่ นลกู ทีใ่ ชต้ ี
เป็ นลูกเซลลลู อยด์ ซ่งึ ทาจากพลาสติกกงึ่ สงั เคราะห์ โดยเวลาที่ลูกบอลกระทบกบั พนื้ โต๊ะ และไม้ตีจะ
เกิดเสยี ง "ปิ ก-ป๊ อก" ดังนัน้ กฬี านจี้ ึงถูกเรยี กช่อื ตามเสียงทไี่ ดย้ นิ ว่า "ปิ งปอง" (PINGPONG) และ
ไดเ้ ร่มิ แพร่หลายในกลมุ่ ประเทศยุโรปก่อน

ซ่ึงวิธีการเล่นในสมยั ยุโรปตอนต้น จะเป็ นการเล่นแบบยนั (BLOCKING) และแบบดันกด
(PUSHING) ซึ่งต่อมาได้พัฒนามาเป็ นการเล่นแบบ BLOCKING และ CROP หรือเรียกว่า
การเล่นถูกตัด ซึ่งวิธีการเล่นน้ีเป็ นท่ีนิยมมากแถบนยุโรป ส่วนวิธีการจับไม้ จะมี 2 ลักษณะ คือ จับ
ไม้แบบจับมือ (SHAKEHAND) ซึ่งเราเรียกกันว่า "จับแบบยุโรป" และการจับไม้แบบจับปากกา
(PEN-HOLDER) ซงึ่ เราเรยี กกนั ว่า "จับไมแ้ บบจนี "

ในปี ค.ศ. 1900 (พ.ศ. 2443) เริ่มปรากฏวา่ มีการหันมาใชไ้ มป้ ิ งปองติดยางเม็ดแทนหนังสตั ว์
ดงั น้นั วิธีการเลน่ แบบรุก หรือแบบบุกโจมตี (ATTRACK หรอื OFFENSIVE) โดยใชท้ ่า หนา้ มือ
(FOREHAND) และ หลงั มอื (BACKHAND) เริ่มมีบทบาทมากขึน้ และยงั คงนยิ มการจบั แบบ
ไม้แบบยโุ รป ดังน้นั จึงถือวา่ ยโุ รปเป็ นศูนยร์ วมของกฬี าปิ งปองอย่างแท้จริง

ต่อมาในปี ค.ศ. 1922 (พ.ศ. 2465) ได้มีบริษัทค้าเคร่ืองกฬี า จดทะเบียนเคร่อื งหมายการคา้
ว่า "PINGPONG" ด้วยเหตุน้ี กีฬาปิ งปองจึงต้องเปล่ียนช่ือเป็ น เทลเบิลเทนนิส (TABLE
TENNIS) และในปี ค.ศ. 1926 (พ.ศ. 2469) ได้มีการประชุมกอ่ ตัง้ สหพนั ธเ์ ทเบลิ เทนนสิ นานาชาติ
(INTERNATIONAL TABLETENNIS FEDERATION : ITTF) ขึน้ ท่กี รุงลอนดอนในเดอื น
ธันวาคม พร้อมกับมกี ารจัดการแข่งขนั เทเบิลเทนนิสแหง่ โลกครั้งท่ี 1 ขึน้ เป็ นคร้งั แรก

จากน้ันในปี ค.ศ. 1950 (พ.ศ. 2493) เป็ นยุคที่ประเทศญ่ีป่ ุนซึ่งได้หันมาสนใจกีฬาเทเบิล
เทนนิสมากขึน้ และได้มกี ารปรบั วิธีการเล่นโดยเนน้ ไปที่ การตบลกู แมน่ ยา และหนักหน่วง และการ
ใช้จังหวะเต้นของปลายเท้า ต่อมาในปี ค.ศ. 1952 (พ.ศ. 2495) ญี่ป่ ุนได้เข้าร่วมการแข่งขันเทเบิล
เทนนสิ โลกเป็ นครง้ั แรก ท่กี รุงบอมเบย์ ประเทศอนิ เดยี และในปี ค.ศ. 1953 (พ.ศ. 2496) สาธารณรฐั
ประชาชนจีนจึงไดเ้ ขา้ รว่ มการแข่งขันเป็ นครั้งแรกท่ีกรุงบคู าเรสต์ ประเทศรูมาเนีย ทาให้จึงกีฬาเท
เบิลเทนนิสกลายเป็ นกีฬาระดับโลกท่ีแท้จริง โดยในยุคน้ีญ่ีป่ ุนใช้การจับไม้แบบจับปากกา และมี
การพฒั นาไม้ปิ งปองโดยใช้ยางเมด็ สอดไส้ดว้ ยฟองนา้ เพมิ่ เติมจากยางชนดิ เมด็ เดมิ ทใี่ ช้กันทวั่ โลก

การเล่นกฬี าปิ งปอง หรือเทเบิลเทนนิส

กีฬาปิ งปอง หรือ เทเบิลเทนนิส ที่เรารู้จักกันนั้น ถือเป็ นกีฬาที่มีความยากในการเล่น
เนื่องจากธรรมชาตขิ องกฬี าประเภทน้ี ถกู จากัดใหต้ ีลกู ปิ งปองลงบนโต๊ะของคตู่ ่อสู้ ซ่งึ บนฝ่ังตรงขา้ ม
มีพนื้ ที่เพียง 4.5 ฟตุ X 5 ฟตุ และลกู ปิ งปองยงั มีนา้ หนกั เบามาก เพียง 2.7 กรมั โดยความเร็วในการ
เคล่ือนท่ีจากฝ่ังหนึ่ง ไปยังอีกฝ่ังหน่ึง ใช้เวลาไม่ถึง 1 วินาที ทาให้นักกีฬาต้องตีลูกปิ งปองที่กาลัง
เคลือ่ นมากลบั ไปทันที ซ่งึ หากลังเลแลว้ ตพี ลาด หรอื ไม่ตเี ลย กอ็ าจทาให้ผูเ้ ล่นเสยี คะแนนได้

ทัง้ น้ี ปิ งปองมปี ระโยชนต์ อ่ ผูเ้ ลน่ เนื่องจากตอ้ งอาศยั ความคล่องแคล่ว วอ่ งไวในทุกสว่ นของ
รา่ งกาย ดงั นี้

1. สายตา : สายตาจะตอ้ งจอ้ งมองลูกอยู่ตลอดเวลา เพื่อสังเกตหน้าไม้ของคู่ต่อสู้ และมอง
ลูกว่าจะหมุนมาในลักษณะใด

2. สมอง : ปิ งปองเป็ นกีฬาท่ีต้องใช้สมองในการคิดอยู่ตลอดเวลา รวมถึงต้องวางแผนการ
เล่นแบบฉับพลนั อกี ด้วย

3. มือ : มือที่ใชจ้ บั ไม้ปิ งปอง จะต้องคล่องแคล่ว และวอ่ งไว รวมถงึ ต้องรู้สกึ ไดเ้ มอ่ื ลกู ปิ งปอง
สมั ผัสถกู หนา้ ไม้

4. ข้อมอื : ในการตีบางลักษณะ จาเป็ นต้องใช้ขอ้ มอื เขา้ ช่วย ลกู จึงจะหมนุ มากย่งิ ขึน้
5. แขน : ต้องมีพละกาลงั และมีความอดทนในการฝึ กซ้อมแบบสม่าเสมอเพ่อื ใหเ้ กดิ ความ
เคยชนิ
6. ลาตัว : การตลี กู ปิ งปองในบางจงั หวะ ต้องใช้ลาตัวเขา้ ช่วย

7. ตน้ ขา : ผ้เู ลน่ ตอ้ งมีตน้ ขาทแ่ี ข็งแรง เพ่ือเตรยี มความพรอ้ มในการเคลอ่ื นทตี่ ลอดเวลา
8. หัวเข่า : ผู้เล่นตอ้ งยอ่ เข่า เพื่อเตรยี มพร้อมในการเคล่ือนที่

9. เทา้ : หากเท้าไมเ่ คล่อื นที่เข้าหาลูกปิ งปอง ก็จะทาใหต้ ามตีลูกปิ งปองไม่ทนั
วิธีการเลน่ กีฬาปิ งปอง หรอื เทเบลิ เทนนิส

1. การส่งลูกท่ีถูกต้อง ลูกจะต้องอยู่ท่ีฝ่ ามือแล้วโยนขึ้นไปในอากาศ สูงไม่น้อยกว่า 16
เซนติเมตร

2. การรบั ลูกท่ถี กู ตอ้ ง เมอ่ื ลูกเทเบลิ เทนนสิ ถูกตีข้ามตาขา่ ยมากระทบแดนของตนครง้ั เดียว
ตอ้ งตีกลับให้ขา้ มตาข่าย หรือออ้ มตาขา่ ยกลับไป ลกู ที่ให้สง่ ใหม่ คือ ลกู เสิรฟ์ ตดิ ตาขา่ ย แล้วขา้ มไป
ตกแดนคู่ตอ่ สูห้ รอื เหตอุ ื่นทีผ่ ูต้ ดั สนิ เห็นว่าจะตอ้ งเสิรฟ์ ใหม่

3. การแขง่ ขันมี 2 ประเภท คอื ประเภทเดีย่ วและประเภทคู่

4. การนบั คะแนน ถา้ ผูเ้ ล่นทาผดิ กติกา จะเสยี คะแนน

5. ผู้เล่นหรือคู่เล่นที่ทาคะแนนได้ 11 คะแนนก่อน จะเป็ นฝ่ ายชนะ ยกเว้นถ้าผู้เล่นท้ังสอง
ฝ่ ายทาคะแนนได้ 10 คะแนนเท่ากนั จะตอ้ งเล่นตอ่ ไป โดยฝ่ ายใดทาคะแนนได้มากกว่าอีกฝ่ ายหนง่ึ 2
คะแนน จะเป็ นฝ่ ายชนะ

6. การแข่งขนั ประเภททีมมี 2 แบบ คือ

6.1. SWAYTHLING CUP มผี เู้ ล่นครั้งละ 3 คน

6.2. CORBILLON CUP มีผูเ้ ลน่ ครั้งละ 2 - 4 คน
YouTube Video

ความคิดเห็น
คณุ ไม่มีสิทธ์เิ พ่ิมความคดิ เหน็
ล ง ช่ื อ เ ข้ า ใ ช้ |กิ จ ก ร ร ม ล่ า สุ ด ข อ ง ไ ซ ต์ |ร า ย ง า น ก า ร ล ะ เ มิ ด |พิ ม พ์ห น้ า เ ว็ บ |ขั บ เ ค ล่ื อ น โ ด ย

Google Sites


Click to View FlipBook Version