The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปิงปองภูมฺ ม.3 V2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by imjai19901, 2022-07-06 21:46:39

รายงานปิงปองภูมฺ ม.3 V2

รายงานปิงปองภูมฺ ม.3 V2

รายงาน
เรอ่ื ง เทเบลิ เทนนิส
เสนอ ครูพิษณุ ประกอบนา

จัดทำโดย ด.ช.เอกภพ ซิ้มเจริญ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที 3่ี เลขท่2ี
โรงเรยี นวดั พลอยกระจ่างศรี
รายงานน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวชิ าพละศึกษา
ภาคเรยี นที1่ ปกี ารศกึ ษา2565

คำนำ

รายงานเล่มนเ้ี ป็นสว่ นหน่ึงของวิชา พลศกึ ษา โดยรวบรวมขอ้ มูลท่เี ก่ียวกบั กฬี า
เทเบิลเทนนสิ คือ ประวัตแิ ละความเป็นมาของ กฬี าเทเบิลเทนนิส หลักและ
วธิ ีการเลน่ การแขง่ ขัน การฝกึ เทคนิคและทกั ษะสว่ นบุคคลในการเลน่ การ
เคลื่อนไหวของร่างกายของรา่ งกาย รวมทั้งกฎและกติกาในการแขง่ ขันถ้า
รายงานเลม่ นีม้ ีขอ้ ผดิ พลาดประการใดก็ขออภัยมา ณ ที่นีด้ ว้ ย

สารบญั หนา้
ประวัตเทเบลิ เทนนสิ 1
2
วิธีเล่นปิงปองหรอื เทเบิลเทนยนสิ 3
กติกาการเล่นเทเบลิ เทนนสิ 4
5
บรรณานุกรม 6
7
8

1

กฬี าปิงปองไดเ้ ริม่ ขนึ้ ครงั้ แรก ในปี ค.ศ. 1890 (พ.ศ. 2433) ท่ปี ระเทศ
องั กฤษ โดยในอดีตอปุ กรณท์ ใี่ ชเ้ ลน่ ปงิ ปองเปน็ ไมห้ ้มุ หนงั สัตว์ ซึ่งมีลักษณะ
คลา้ ยกับไมป้ ิงปองในปจั จุบัน สว่ นลกู ทีใ่ ชต้ ีเป็นลกู เซลลลู อยด์ ซ่งึ ทำจาก
พลาสติกกึ่งสังเคราะห์ โดยเวลาทลี่ กู บอลกระทบกบั พ้ืนโต๊ะ และไม้ตจี ะเกิดเสยี ง
“ปกิ -ป๊อก” ดงั นัน้ กฬี านี้จงึ ถูกเรยี กชื่อตามเสียงทีไ่ ด้ยินว่า “ปิงปอง”
(PINGPONG) และไดเ้ ริม่ แพรห่ ลายในกล่มุ ประเทศยโุ รปก่อน ซ่ึงวิธีการเล่นใน
สมัยยุโรปตอนตน้ จะเปน็ การเล่นแบบยนั (BLOCKING) และแบบดนั กด
(PUSHING) ซึ่งต่อมาไดพ้ ฒั นามาเป็นการเลน่ แบบ BLOCKING และ CROP
หรือเรียกว่า การเลน่ ถูกตัด ซึ่งวธิ กี ารเล่นน้เี ปน็ ท่ีนิยมมากแถบนยุโรป สว่ น
วิธกี ารจบั ไม้ จะมี 2 ลกั ษณะ คอื จบั ไม้แบบจับมอื (SHAKEHAND) ซง่ึ เราเรียก
กนั ว่า “จบั แบบยุโรป” และการจับไม้แบบจบั ปากกา (PEN-HOLDER) ซง่ึ เรา
เรียกกันวา่ “จับไมแ้ บบจีน” ในปี ค.ศ. 1900 (พ.ศ. 2443) เริม่ ปรากฏว่า มกี าร
หนั มาใชไ้ ม้ปงิ ปองติดยางเม็ดแทนหนังสตั ว์ ดงั นนั้ วิธีการเล่นแบบรุก หรอื แบบ
บุกโจมตี (ATTRACK หรือ OFFENSIVE) โดยใชท้ ่า หน้ามือ (FOREHAND) และ
หลังมอื (BACKHAND) เรม่ิ มีบทบาทมากข้ึน และยงั คงนิยมการจับแบบไมแ้ บบ
ยโุ รป ดงั น้ันจึงถอื วา่ ยุโรปเปน็ ศนู ยร์ วมของกีฬาปงิ ปองอย่างแทจ้ รงิ
ต่อมาในปี ค.ศ. 1922 (พ.ศ. 2465) ไดม้ บี ริษทั คา้ เครอ่ื งกีฬา จดทะเบยี น
เครอ่ื งหมายการคา้ วา่ “PINGPONG” ด้วยเหตุนี้ กฬี าปงิ ปองจึงตอ้ งเปลย่ี นช่อื
เปน็ เทลเบิลเทนนสิ (TABLE TENNIS) และในปี ค.ศ. 1926 (พ.ศ. 2469) ได้มี
การประชุมกอ่ ตั้งสหพันธเ์ ทเบิลเทนนิสนานาชาติ (INTERNATIONAL
TABLETENNIS FEDERATION : ITTF) ข้ึนท่กี รงุ ลอนดอนในเดือนธันวาคม
พรอ้ มกบั มีการจัดการแข่งขันเทเบลิ เทนนสิ แหง่ โลกครงั้ ที่ 1 ขนึ้ เปน็ ครงั้ แรก

2

จากนั้นในปี ค.ศ. 1950 (พ.ศ. 2493) เปน็ ยคุ ที่ประเทศญป่ี ุ่นซึ่งไดห้ นั มา
สนใจกฬี าเทเบิลเทนนสิ มากขึ้น และไดม้ กี ารปรับวิธกี ารเลน่ โดยเนน้ ไปท่ี การตบ
ลกู แมน่ ยำ และหนักหน่วง และการใชจ้ งั หวะเต้นของปลายเท้า ต่อมาในปี ค.ศ.
1952 (พ.ศ. 2495) ญ่ีปุ่นไดเ้ ขา้ ร่วมการแข่งขนั เทเบิลเทนนสิ โลกเป็นครัง้ แรก ท่ี

กรงุ บอมเบย์ ประเทศอินเดีย และในปี ค.ศ. 1953 (พ.ศ. 2496) สาธารณรฐั
ประชาชนจนี จงึ ได้เข้าร่วมการแข่งขนั เป็นคร้งั แรกท่กี รงุ บคู าเรสต์ ประเทศ
รูมาเนีย ทำใหจ้ ึงกฬี าเทเบิลเทนนิสกลายเป็นกีฬาระดับโลกทแี่ ทจ้ ริง โดยในยุคนี้
ญป่ี นุ่ ใชก้ ารจับไมแ้ บบจบั ปากกา และมกี ารพฒั นาไมป้ งิ ปองโดยใช้ยางเม็ดสอด

ไส้ด้วยฟองน้ำ เพิ่มเตมิ จากยางชนดิ เมด็ เดมิ ทใ่ี ชก้ ันทั่วโลก
ในเรื่องเทคนคิ ของการเลน่ น้ัน ยุโรปรุกดว้ ยความแมน่ ยำ และมีช่วงตวี ง
สวิงส้นั ๆ ซ่ึงเม่อื เปรียบเทียบกับญี่ป่นุ ท่ีใช้ปลายเท้าเป็นศูนยก์ ลางของการตลี กู
แบบรกุ อยา่ งต่อเนือ่ ง ทำให้ญ่ีป่นุ สามารถชนะการเลน่ ของยโุ รปได้ แม้ในช่วงแรก
หลายประเทศจะมองว่าวธิ ีการเลน่ ของญ่ีปุ่น เป็นการเลน่ ที่ค่อนขา้ งเสย่ี ง แต่
ญป่ี นุ่ ก็สามารถเอาชนะในการแข่งขันตดิ ต่อกนั ไดห้ ลายปี เรยี กไดว้ า่ เปน็ ยุคมืด
ของยโุ รปเลยทีเดียว
ในที่สุดสถานการณก์ เ็ ปลี่ยนไป เมอ่ื สาธารณรัฐประชาชนจนี สามารถ
เอาชนะญปี่ นุ่ ไดด้ ว้ ยวิธกี ารเลน่ ที่โจมตแี บบรวดเร็ว ผสมผสานกบั การปอ้ งกนั ซงึ่
จนี ไดศ้ ึกษาการเลน่ ของญ่ปี นุ่ ก่อนนำมาประยุกตใ์ ห้เขา้ กบั การเลน่ แบบทจ่ี ีน
ถนดั กระทง่ั กลายเป็นวธิ กี ารเล่นของจนี ที่เราเหน็ ในปัจจุบั
หลังจากนัน้ ยโุ รปได้เริม่ ฟ้ืนตัวข้ึนมาอกี คร้ัง เนอ่ื งจากนำวธิ กี ารเล่นของชาว
อินเดยี มาปรับปรงุ และในปี ค.ศ. 1970 (พ.ศ. 2513) จึงเป็นปีของการ
ประจันหน้าระหวา่ งผู้เล่นชาวยุโรป และผเู้ ล่นชาวเอเชีย แต่นักกฬี าของญ่ปี นุ่
ได้แก่ตัวลงแลว้ ขณะท่นี กั กีฬารุ่นใหมข่ องยุโรปไดเ้ ริ่มเก่งขน้ึ ทำใหย้ ุโรปสามารถ
ควา้ ตำแหนง่ ชนะเลิศชายเด่ยี วของโลกไปครองไดส้ ำเรจ็

3

จากนน้ั ในปี ค.ศ. 1971 (พ.ศ. 2514) นกั เทเบิลเทนนสิ ชาวสวีเดน ชือ่
สเลงั เบนคส์ นั เป็นผเู้ ปดิ ศกั ราชใหมใ่ หก้ ับชาวยโุ รป โดยในปี ค.ศ. 1973 (พ.ศ.
2516) ทีมสวีเดนสามารถคว้าแชมป์โลกได้ จงึ ทำใหช้ าวยุโรปมีความมั่นใจใน
วิธีการเลน่ ทป่ี รังปรุงมา ดงั นน้ั นักกีฬาของยโุ รป และนกั กฬี าของเอเชีย จึงเป็น
คแู่ ขง่ ทสี่ ำคัญ ในขณะทีน่ ักกฬี าในกล่มุ ชาติอาหรับ และลาตินอเมรกิ า กเ็ ร่มิ
กา้ วหนา้ รวดเร็วขนึ้ และมีการแปลกเปล่ยี นความรู้ทางด้านเทคนคิ ทำให้การเลน่
แบบต้งั รบั ซึ่งหายไปตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 (พ.ศ. 2503) เรม่ิ กลับมามีบทบาทอีก
ครงั้ จากนน้ั จงึ ได้เกิดการพฒั นาเทคนคิ การเปลย่ี นหน้าไมใ้ นขณะเล่นลกู และมี
การปรบั ปรงุ หนา้ ไม้ซ่ึงติดดว้ ยยางปิงปอง ท่ีมีความยาวของเมด็ ยางมากกวา่ ปกติ
โดยการใชย้ างทสี่ ามารถเปล่ียนวิถีการหมนุ และทศิ ทางของลกู เขา้ ได้ จึงนับได้
วา่ กฬี าเทเบิลเทนนสิ เปน็ กฬี าท่แี พร่หลายไปทว่ั โลก โดยมีการพัฒนาอปุ กรณ์
และมวี ิธีการเล่นใหม่ ๆ เกิดขน้ึ ตลอดเวลา กระทั่งกฬี าเทเบลิ เทนนสิ ได้ถูกบรรจุ
เป็นการแข่งขันประเภทหนึง่ ในกีฬาโอลมิ ปิก เมอื่ ปี ค.ศ. 1988 (พ.ศ. 2531) ซ่ึง
จัดขน้ึ ทก่ี รงุ โซล ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี

สำหรับประวตั กิ ีฬาเทเบิ้ลเทนนสิ ในประเทศไทยน้นั ทราบเพยี งว่า คนไทย
ร้จู กั คุ้นเคย และเลน่ กฬี าเทเบิลเทนนิสมาเปน็ เวลาชา้ นาน แตร่ ูจ้ กั กนั ในชอื่ วา่
กีฬาปิงปอง โดยไมป่ รากฏหลักฐานแนช่ ดั วา่ มกี ารนำกีฬาชนดิ นีเ้ ขา้ มาเล่นใน
ประเทศไทยตัง้ แตเ่ ม่อื ใด และใครเป็นผูน้ ำเขา้ มา แต่ปรากฏวา่ มีการเรียนการ
สอนมานานกวา่ 30 ปี โดยในปี พ.ศ. 2500 ประเทศไทยไดม้ ีการจดั ตัง้ สมาคมเท
เบลิ เทนนิสสมคั รเล่นแห่งประเทศไทย และมกี ารแข่งขนั ของสถาบันตา่ งๆ
รวมทัง้ มกี ารแขง่ ขนั ชิงแชมปถ์ ้วยพระราชทานแหง่ ประเทศไทย ต้ังแตน่ ้ันเปน็ ตน้
มา

4

การเล่นกีฬาปิงปอง หรอื เทเบลิ เทนนิส
กีฬาปงิ ปอง หรือ เทเบิลเทนนิส ทเ่ี รารู้จักกนั นั้น ถอื เป็นกีฬาทีม่ ีความยาก
ในการเลน่ เน่อื งจากธรรมชาตขิ องกีฬาประเภทน้ี ถูกจำกดั ใหต้ ีลูกปงิ ปองลงบน
โต๊ะของคูต่ ่อสู้ ซึง่ บนฝัง่ ตรงข้ามมพี นื้ ทเ่ี พียง 4.5 ฟุต X 5 ฟตุ และลูกปิงปองยงั
มีนำ้ หนกั เบามาก เพียง 2.7 กรัม โดยความเร็วในการเคล่อื นท่จี ากฝ่ังหนง่ึ ไปยงั
อกี ฝัง่ หนงึ่ ใชเ้ วลาไม่ถึง 1 วินาที ทำให้นักกฬี าตอ้ งตีลกู ปงิ ปองที่กำลังเคล่ือนมา
กลับไปทันที ซ่ึงหากลงั เลแล้วตพี ลาด หรอื ไม่ตเี ลย ก็อาจทำใหผ้ ู้เล่นเสยี คะแนน
ไดท้ งั้ น้ี ปงิ ปองมปี ระโยชนต์ อ่ ผู้เล่น เนอ่ื งจากต้องอาศยั ความคล่องแคลว่ วอ่ งไว
ในทกุ สว่ นของร่างกาย ดงั นี้
1.สายตา : สายตาจะตอ้ งจอ้ งมองลูกอยตู่ ลอดเวลา เพือ่ สงั เกตหน้าไมข้ องคู่ต่อสู้
และมองลูกว่าจะหมุนมาในลักษณะใด
2.สมอง : ปงิ ปองเปน็ กีฬาทต่ี อ้ งใชส้ มองในการคิดอย่ตู ลอดเวลา รวมถงึ ตอ้ งวาง
แผนการเล่นแบบฉับพลันอีกด้วย
3.มือ : มือทีใ่ ชจ้ บั ไมป้ งิ ปอง จะต้องคล่องแคล่ว และว่องไว รวมถึงตอ้ งรสู้ ึกได้
เมื่อลกู ปิงปองสมั ผัสถูกหน้าไม้
4.ขอ้ มือ : ในการตีบางลักษณะ จำเป็นตอ้ งใช้ขอ้ มือเขา้ ช่วย ลูกจึงจะหมุนมาก
ยงิ่ ขึน้
5.แขน : ตอ้ งมีพละกำลัง และมีความอดทนในการฝึกซอ้ มแบบสม่ำเสมอเพ่อื ให้
เกิดความเคยชิน
6.ลำตัว : การตลี ูกปงิ ปองในบางจงั หวะ ต้องใชล้ ำตวั เข้าช่วย
7.ตน้ ขา : ผู้เลน่ ตอ้ งมีต้นขาทแ่ี ขง็ แรง เพ่อื เตรยี มความพรอ้ มในการเคลื่อนที่
ตลอดเวลา
8.หวั เขา่ : ผูเ้ ลน่ ตอ้ งย่อเข่า เพ่อื เตรยี มพรอ้ มในการเคลอื่ นที่
9.เท้า : หากเท้าไม่เคลื่อนทีเ่ ข้าหาลกู ปงิ ปอง กจ็ ะทำให้ตามตีลกู ปิงปองไมท่ นั

5

กตกิ าการเลน่ เทเบลิ เทนนิส
ในการเลน่ ปิงปองจะใช้วิธตี ีลูกปิงปองโต้กนั ไปมาระหว่างผู้เลน่ สองฝ่าย หากฝา่ ย
ใดได้ 11 คะแนนก่อนเปน็ ฝ่ายชนะ
สำหรับการเสิร์ฟนัน้ วธิ ีเล่นปิงปองจะหาฝา่ ยทเี่ สริ ์ฟครงั้ แรกด้วยการโยนเหรยี ญ
การเสิร์ฟต้องเปดิ ฝา่ มอื และตอ้ งโยนลูกปิงปองให้สงู ไมต่ ่ำกว่า 6 น้วิ
หากผเู้ ล่นทัง้ สองฝ่ายทำคะแนนได้ 10 คะแนนเทา่ กนั จะต้องแขง่ ขันตอ่ จนกว่า
จะมีใครทำคะแนนนำมากกว่า 2 คะแนน เปน้ วิธกี ารเลน่ เทเบิลเทนนิสท่ีเรียกว่า
“ดวิ ซ์”
เมอ่ื จบ 1 เกม ท้ังสองฝ่ายตอ้ งสลับฝั่งกนั

6
ในการเล่นเกมสดุ ท้าย ผ้เู ลน่ ฝ่ายรบั ตอ้ งเปลยี่ นฝัง่ ทนั ทเี ม่อื มฝี ่ายใดฝา่ ยหน่ึงทำ
คะแนนนำได้ 5 คะแนน การเลน่ ปิงปองเริม่ จากกำหนดฝ่ายท่เี ป็นผเู้ สิร์ฟ การ
เสิร์ฟให้เป็นไปตามทก่ี ติกากำหนด จากนนั้ ผู้เล่นทงั้ สองฝา่ ยจะตลี ูกโต้ตอบกนั ไป
มาและพยายามทำคะแนนให้ไดด้ ว้ ยการตบลกู ใหล้ งบนเขตแดนของฝ่ายตรงขา้ ม
แตห่ ากลูกไม่สัมผสั เขตแดนของฝา่ ยตรงข้ามและลกู ออกกจ็ ะเสียแต้ม
การส่งลูกต้องเปดิ ฝา่ มอื ให้เหน้ ชัดเจนและโยนลกู ใหล้ อยเหนอื อากาศ
การรบั ลูกจากฝั่งตรงข้าม ทำไดเ้ มือ่ ลูกตกกระทบโตะ๊ กอ่ นเสมอ
สามารถเลน่ ปงิ ปองไดท้ ้งั แบบเดย่ี วและแบบคู่
หากลูกออก ทำฟาลว์ หรือมีการผดิ กติกาใดๆ จะเสียแต้มทันที
เกรด็ สุขภาพ : ได้รู้จักวธิ ีเลน่ ปงิ ปองไปแลว้ ต้องไม่ลืมเรียนรู้เคล็ดลับอย่างการ
จบั ไมท้ ี่ถกู วิธดี ว้ ยเพราะถือเปน็ เทคนิคสำคัญสำหรบั การเลน่ ปิงปอง วิธีจับไม้
ปิงปองมีสองแบบ แบบแรกคอื จบั แบบจบั ปากกาหรือการจับไมแ้ บบจนี วิธกี ารก็
คือจบั ด้ามไมต้ ปี งิ ปองใหค้ ล้ายกับเวลาจับปากกา ส่วนอกี แบบกค็ อื การจบั แบบ
เชคแฮนด์ ซง่ึ ลกั ษณะการจับกค็ อื แบบเดยี วกบั เวลาเชคแฮนดก์ ับคนอนื่ นั่นเอง
แตไ่ มว่ ่าจะเลอื กจับแบบไหน สง่ิ สำคัญก็คอื ไม่ต้องจับแน่นเกินไป ใหก้ ำดา้ มไม้ตี
ปงิ ปองไว้หลวมๆ ในรูปแบบท่ีเราร้สู กึ สบายมากทีส่ ดุ เพ่ือใหก้ ารเลน่ เปน็
ธรรมชาตยิ ิง่ ขึ้น หมัน่ ฝกึ ฝน : นอกจากเรยี นรวู้ ิธกี ารเลน่ เทเบลิ เทนนสิ ไปแล้ว
หากต้องการเลน่ ให้คลอ่ งหรอื สามารถตีโต้ตอบไดอ้ ย่างชำนาญกต็ ้องหมัน่ ฝึกฝน
การฝึกกับเพือ่ นๆ อาจเลือกเลน่ แบบจริงจังหรือฝกึ ตีโตก้ นั ไปมากไ็ ด้ แตห่ ากใคร
เล่นคนเดยี วก็สามารถเดาะลูกใหม้ ากทสี่ ุดเพื่อฝึกคมุ น้ำหนักและการบงั คับไม้
หรอื จะตโี ตก้ บั ผนงั ให้ลกู กระดอนมาหาตวั เองและพยายามตโี ต้ให้ไดจ้ ำนวนคร้งั
มากท่สี ดุ กไ็ ด้ การฝกึ ฝนบอ่ ยๆ ชว่ ยใหร้ ่างกายคนุ้ เคยกับการตปี งิ ปอง นำ้ หนกั
ของไม้ จงั หวะการตลี กู รวมถงึ ฝึกให้ปฏกิ ริ ิยาโตต้ อบรวดเร็วข้ึน
พัฒนาการเทคนิคการตลี กู ปงิ ปอง : วิธีเล่นปิงปองท่ีสำคัญที่สุดและจะทำให้เรา
เลน่ สนกุ ขึ้นก็คือการรูจ้ กั วธิ ตี ลี ูกโฟรแ์ ฮนดแ์ ละแบ็กแฮนด์ หรอื กค็ ือการตีลูกดว้ ย

7
การหนันหนา้ มอื และหลงั มอื น่นั เอง หากฝึกจนคล่อง ไมว่ ่าลกู ปิงปองถูกตมี าจาก
ทศิ ทางไหนกจ็ ะสามารถรบั ลกู ได้อย่างรวดเรว็ และตีโตก้ ลับไปเพ่ือทำคะแนนได้
รูจ้ กั วิธแี ละจังหวะตอบโต้ : หากพบจังหวะท่สี ามารถตอบโตห้ รือทำคะแนนได้
เชน่ ฝา่ ยตรงขา้ มตลี กู โด่งทสี่ ูงขึ้นในอากาศมาทางเรา ให้ตอบโต้อย่างรวดเรว็
ด้วยการตบลกู ลงในเขตแดนของฝ่ายตรงขา้ มทันที หรอื ทีเ่ รียกว่าเทคนคิ การใช้
ลูกตบ เพราะเป็นลกู ท่เี รว็ แรง และตโี ตก้ ลับยาก เปน็ หนง่ึ ในเทคนคิ สำคัญทท่ี ำ
ใหเ้ ราไดค้ ะแนนและสามารถเอาชนะเกมการเล่นไดใ้ นท่สี ุด

บรรณานุกรม

https://www.shanghaisportthailand.com/2016/01/06/%E0%B8%9B
%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%
E0%B8%B4%E0%B8%9B%E0%B8%B4%E0%B8%87%E0%B8%9B%E0
%B8%AD%E0%B8%87-
%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B9%
E0%B8%A5-%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%AC/


Click to View FlipBook Version