The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Arun Krongsub, 2021-05-22 22:26:33

Application regulations_2564_TCAS2

Application regulations_2564_TCAS2

ระเบยี บการรบั สมัครสอบคดั เลอื กบคุ คลเขา้ ศึกษาในสถาบันอดุ มศึกษา TCAS รอบ 2 (Quota)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี
ประจาปีการศึกษา 2564

ขอ้ มลู ณ วันท่ี 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2564

สารบัญ

การรับสมคั รสอบคัดเลอื กบคุ คลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศกึ ษา TCAS รอบ 2 (Quota) หนา้

1

คณะ/วิทยาลัยทเ่ี ปิดรบั สมัครสอบคัดเลือกบุคคลเข้าศกึ ษาในสถาบนั อุดมศึกษา TCAS รอบ 2 (Quota) ประจาปกี ารศกึ ษา 2564 2

1. คณะศลิ ปศาสตร์ 3
5
2. คณะครุศาสตรอ์ ุตสาหกรรม 8
10
3. คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร 13
23
4. คณะวิศวกรรมศาสตร์ 24
27
5. คณะบริหารธุรกจิ 29
32
6. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ 33
35
7. คณะศิลปกรรมศาสตร์ 39

8. คณะเทคโนโลยีสอ่ื สารมวลชน

9. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

10. คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์

11. คณะพยาบาลศาสตร์........................................................................................................................................................

12. วิทยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย .

แผนทภ่ี ายใน มทร.ธัญบุรี .

1

การรับสมคั รสอบคดั เลือกบุคคลเข้าศกึ ษาในสถาบันอุดมศึกษา
TCAS รอบ 2 (Quota) ประจาปกี ารศึกษา 2564

เปดิ รับสมคั รตัง้ แต่วันที่ 28 กมุ ภาพันธ์ – 30 เมษายน 2564

www.oreg.rmutt.ac.th

เมนสู มคั รเขา้ ศกึ ษาตอ่

ปริญญาตรี

ม. 6

หมายเหตุ : กาหนดการตามปฏิทนิ การรับสมัครสอบคดั เลอื กบคุ คลเขา้ ศึกษาในสถาบนั อดุ มศกึ ษา TCAS รอบ 2 (Quota)
ท่ีเว็บไซต์ www.oreg.rmutt.ac.th

คุณสมบัติผู้สมคั ร
- ผู้สมคั รทจ่ี บการศึกษาวุฒิ ม. 6 /กศน. จากสถานศกึ ษาในเขตพ้นื ที่หรือภาค สถานศกึ ษา
เครอื ข่ายความรว่ มมือ
- นักเรียน/นกั ศกึ ษา ทก่ี าลังศกึ ษาอยู่ระดบั ม. 6 ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563
จากสถานศึกษาในเขตพ้ืนทีห่ รือภาค สถานศึกษาเครือข่ายความร่วมมือ
- นกั เรียน/นกั ศึกษา ท่ีกาลงั ศึกษาอยู่ กศน. ภาคการศึกษาสดุ ท้าย ปีการศึกษา 2563
จากสถานศกึ ษาในเขตพน้ื ท่หี รือภาค สถานศึกษาเครือขา่ ยความรว่ มมอื
- มีคุณสมบตั ิตรงตามระเบียบการรับสมัครฯ ปีการศึกษา 2564

2

คณะ/วทิ ยาลัยท่ีเปดิ รบั สมคั รสอบคดั เลอื กบคุ คลเขา้ ศึกษาในสถาบันอดุ มศึกษา TCAS รอบ 2 (Quota)
ประจาปีการศกึ ษา 2564

1 • คณะศิลปศาสตร์

2 • คณะครุศาสตรอ์ ตุ สาหกรรม
3 • คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร
4 • คณะวิศวกรรมศาสตร์
5 • คณะบรหิ ารธรุ กิจ
6 • คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์
7 • คณะศิลปกรรมศาสตร์
8 • คณะเทคโนโลยีสือ่ สารมวลชน
9 • คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
10 • คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์
11 • คณะพยาบาลศาสตร์
12 • วทิ ยาลยั การแพทย์แผนไทย

3

1. คณะศิลปศาสตร์

GPAX รายละเอยี ดในการรับ TCAS2 (Quota)
หลักสูตร / สาขาวิชา ภาค 5 ภาคการศึกษา
ไมต่ า่ กวา่ GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วุฒิท่รี บั เข้าศกึ ษา/รายละเอยี ดอ่นื ๆ

หลกั สตู รศิลปศาสตรบณั ฑติ (ศศ.บ.) หลักสตู ร 4 ปี

การทอ่ งเทีย่ ว ปกติ 2.50 20 30 50 - ม.6 ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
การจัดการการโรงแรม ปกติ 2.50 50 30 20 - สอบสมั ภาษณ์

การจดั การการโรงแรม พเิ ศษ 2.25 50 30 20 -

ภาษาอังกฤษเพือ่ การส่อื สาร ปกติ 2.75 20 30 50 -

ภาษาอังกฤษเพอ่ื การส่อื สาร พิเศษ 2.50 20 30 50 -

อุตสาหกรรมการบริการการบิน ปกติ 2.75 50 30 20 -

ปรัชญา (Philosophy)
“คณุ ธรรมนาหน้า วชิ าการกลา้ แกร่ง เข้มแข็งปฏิบตั ิ พัฒนาตนเองและสงั คม”

วสิ ยั ทัศน์ (Vision)
“คณะศลิ ปศาสตรเ์ ปน็ องคก์ รชนั้ นาระดบั ประเทศ”

ปณิธาน (Determination)
คณะศิลปศาสตร์มุ่งมน่ั จดั การศกึ ษาท่ัวไปที่สอดคล้องกับการเปล่ียนแปลงของสังคมให้แก่คณะวิชาชีพอยา่ งท่ัวถึง และมงุ่ หวงั ทจี่ ะผลิตทรัพยากรบคุ คลให้เปน็ บัณฑิตนักปฏบิ ตั ิทางดา้ น

การทอ่ งเทีย่ ว การโรงแรม และภาษาองั กฤษเพื่อการสื่อสารอย่างมคี ณุ ภาพ มีคณุ ธรรมและมีความรับผิดชอบ สามารถนาความรูไ้ ปใชใ้ หเ้ ป็นประโยชนแ์ ก่ตนเอง สงั คม และประเทศชาติ

4

คณะศิลปศาสตร์ (ตอ่ )

การจัดการเรียนการสอน

ภาคปกติ จัดการเรียนการสอนในเวลาราชการ

ภาคพิเศษ จดั การเรียนการสอนในวนั และเวลา ดงั นี้

จันทร์ – ศกุ ร์ เวลา 13.00 น. – 21.00 น.

เสาร์ – อาทติ ย์ เวลา 9.00 น. – 17.00 น.

อาชพี หลงั สาเรจ็ การศึกษา

ผูส้ าเรจ็ การศกึ ษาสามารถประกอบอาชพี ในหน่วยงานทัง้ ภาครัฐและเอกชนตามความถนัดในสาขาวิชาชพี ท่ีสาเรจ็ การศึกษา เช่น มคั คุเทศก์ การจัดการธุรกจิ เก่ียวกับการท่องเที่ยว การจัดการ
การโรงแรม เลขานุการ งานแปล และล่าม งานประชาสัมพนั ธ์ การบรกิ ารงานภาคพน้ื การบริการบนอากาศยาน งานธุรกจิ สายการบนิ งานบรกิ ารท่ีเกีย่ วเนอื่ งกับอุตสาหกรรมการบรกิ ารการบนิ และอาชพี
อสิ ระอน่ื ๆ

แนวทางการศกึ ษาตอ่

ผูส้ าเร็จการศึกษาสามารถศกึ ษาตอ่ ในระดบั ทส่ี งู ขน้ึ ได้ ในสถาบนั การศกึ ษาของรัฐและเอกชนทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ

ข้อมูลคณะศลิ ปศาสตร์ Website : www.larts.rmutt.ac.th ฝ่ายวชิ าการและวิจยั 0 2549 4933

5

2. คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรม

GPAX รายละเอียดในการรับ TCAS2 (Quota)
หลักสตู ร / สาขาวิชา ภาค 5 ภาคการศกึ ษา
ไม่ต่ากวา่ GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วฒุ ิที่รับเขา้ ศึกษา/รายละเอยี ดอ่นื ๆ

หลักสตู รครศุ าสตรอตุ สาหกรรมบัณฑติ (ค.อ.บ.) หลกั สูตร 4 ปี

วศิ วกรรมเคร่ืองกล ปกติ 2.50 20 30 10 40 PAT 3 = 20 % ม.6 เรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ไมต่ า่ กวา่ 6 หน่วยกิต
ปกติ 2.50 PAT 5 = 20 % กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ไม่ตา่ กว่า 6 หนว่ ยกิต หรอื
วิศวกรรมอตุ สาหการ ปกติ 2.50
ปกติ 2.50 20 30 10 40 PAT 3 = 20 % การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (กศน.)
วิศวกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละระบบ PAT 5 = 20 % 1. สอบสมั ภาษณ์
อตั โนมัติ
วศิ วกรรมคอมพิวเตอร์ 20 30 10 40 PAT 3 = 20 % 2. ต้องมผี ลการสอบ ONET
PAT 5 = 20 % 3. ต้องมีผลการสอบ PAT5

20 30 10 40 PAT 3 = 20 %
PAT 5 = 20 %

หลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑติ (วศ.บ.) หลกั สูตร 4 ปี

วิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ ปกติ 2.50 20 30 15 35 PAT 2 = 15 % ม.6 เรยี นกล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ไมต่ า่ กว่า 6 หน่วยกติ
PAT 3 = 20 % กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ไมต่ า่ กวา่ 6 หน่วยกติ หรอื
การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (กศน.)

1. สอบสมั ภาษณ์
2. ต้องมีผลการสอบ ONET
3. ตอ้ งมผี ลการสอบ PAT3

6

คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม (ต่อ)

GPAX รายละเอยี ดในการรับ TCAS2 (Quota)
หลกั สูตร / สาขาวิชา ภาค 5 ภาคการศกึ ษา
ไม่ต่ากว่า GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วุฒิทรี่ บั เข้าศึกษา/รายละเอยี ดอื่นๆ

หลกั สูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) หลักสูตร 4 ปี

เทคโนโลยีและสื่อสารการศกึ ษา ปกติ 2.00 20 30 10 40 PAT 1 = 20% ม.6 เรยี นกลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ไมต่ า่ กว่า 6 หน่วยกติ
PAT 5 = 20% กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ไม่ต่ากวา่ 6 หนว่ ยกิต หรือ
เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพ่ือการศกึ ษา ปกติ 2.50 การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั (กศน.)
1. สอบสมั ภาษณ์
2. ต้องมผี ลการสอบ ONET
3. ต้องมผี ลการสอบ PAT5

20 30 10 40 PAT 1 = 20% ม.6 เรียนกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ไม่ตา่ กวา่ 6 หนว่ ยกติ
PAT 5 = 20% กลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ไมต่ า่ กว่า 6 หน่วยกติ
1. สอบสัมภาษณ์
2. ตอ้ งมผี ลการสอบ ONET
3. ต้องมีผลการสอบ PAT5

หลกั สูตรวิทยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) หลักสตู ร 4 ปี

นวัตกรรมการเรียนรู้และเทคโนโลยี ปกติ 2.00 20 30 10 40 PAT 1 = 20 % ม.6 เรียนกล่มุ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ไม่ตา่ กว่า 6 หนว่ ยกิต

สารสนเทศ PAT 2 = 20 % กล่มุ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ไมต่ า่ กว่า 6 หนว่ ยกติ หรอื

หลักสตู รอุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต (อส.บ.) หลกั สตู ร 4 ปี การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย (กศน.)
1. สอบสมั ภาษณ์

เทคโนโลยบี ริหารงานกอ่ สรา้ ง ปกติ 2.00 20 30 10 40 PAT 1 = 10 % 2. ตอ้ งมผี ลการสอบ ONET
PAT 2 = 30 % 3. ตอ้ งมีผลการสอบ PAT2

7

คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรม (ตอ่ )

ปรชั ญา (Philosophy)
“ผลติ และพฒั นาครวู ชิ าชีพ บุคลากรทางการศึกษา นกั เทคโนโลยีและนวตั กร เพ่อื พฒั นาประเทศ”

วสิ ยั ทศั น์ (Vision)
“องค์กรช้ันนาในการผลติ ครวู ิชาชพี บุคลากรทางการศึกษา นกั เทคโนโลยี และนวตั กรมืออาชพี ส่สู ากล”

ปณธิ าน (Determination)

“มุ่งม่ันจัดการศกึ ษา ผลิตและพัฒนาครวู ิชาชีพ บุคลากรทางการศึกษา นักเทคโนโลยี และคิดค้นนวตั กรรม เพื่อการพัฒนาประเทศอยา่ งยงั่ ยืน”

การจัดการเรียนการสอน

ภาคปกติ จดั การเรียนการสอนในเวลาราชการ

อาชพี หลงั สาเร็จการศกึ ษา

ผู้สาเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนตามความถนัดในสาขาวิชาชีพท่ีสาเร็จการศึกษา เช่น ครูด้านวิชาชีพทั้ งระดับอาชีวศึกษาและระดับ
การศึกษาข้ันพ้นื ฐาน นักเทคโนโลยีสารสนเทศ ชา่ งเทคนิคหรอื วศิ วกรในบริษัทเอกชนหรอื ประกอบอาชีพอิสระ นักเทคโนโลยีทางการศึกษา

หมายเหตุ :
ในกรณที ่เี ลือกอาชีพครูต้องเรียนและสอบมาตรฐานวชิ าชีพครู 9 มาตรฐาน (โดยครุ ุสภา) หลงั จากทไ่ี ด้ใบอนุญาตสอน สามารถสมคั รเปน็ ครตู ามสถานศกึ ษาตา่ งๆ เชน่ โรงเรยี นเอกชน

ทีไ่ ม่ขอใบประกอบวิชาชีพ เม่ือมีประสบการณส์ อนครบ 1 ปี และผา่ นการประเมินการสอนแล้ว สามารถขึ้นทะเบยี นขอใบประกอบวิชาชพี ครูได้ ซงึ่ ใบประกอบวชิ าชพี นต้ี ้องต่ออายทุ ุก 5 ปี

แนวทางการศกึ ษาต่อ ผูส้ าเร็จการศึกษาสามารถศกึ ษาต่อในระดบั ทส่ี ูงขึ้นได้ ในสถาบนั การศึกษาของรัฐและเอกชนท้ังในประเทศและต่างประเทศ

ข้อมูลคณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรม Website : www.teched.rmutt.ac.th ฝา่ ยวิชาการและวิจัย 0 2549 4714

8

3. คณะเทคโนโลยีการเกษตร

GPAX รายละเอียดในการรับ TCAS2 (Quota)
หลักสูตร / สาขาวิชา ภาค 5 ภาคการศึกษา
ไม่ต่ากวา่ GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วุฒทิ ีร่ ับเข้าศกึ ษา/รายละเอยี ดอื่นๆ

หลกั สตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) หลกั สตู ร 4 ปี

การผลติ พืช ปกติ 2.25 20 30 10 40 PAT 1 = 10 % ม.6 ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้
สัตวศาสตร์ ปกติ 2.25 PAT 2 = 30 % สอบสัมภาษณ์
ประมง ปกติ 2.25 PAT 1 = 10 %
เทคโนโลยีภูมทิ ัศน์ ปกติ 2.25 20 30 10 40 PAT 2 = 30 %
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยกี ารอาหาร ปกติ 2.50
20 30 10 40 PAT 1 = 10 %
PAT 2 = 30 %

20 30 10 40 PAT 1 = 10 %
PAT 2 = 30 %

20 30 10 40 PAT 1 = 10 % ม.6 เรียนกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ไม่ตา่ กว่า 12 หนว่ ยกิต
PAT 2 = 30 % และกลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่ต่ากว่า 22 หนว่ ยกิต

สอบสัมภาษณ์

ปรัชญา (Philosophy)
“นวัตกรรมเกษตรสร้างชาติ”

วิสยั ทัศน์ (Vision)
“ผลิตนวัตกรและนวัตกรรมทางการเกษตรที่สร้างคุณค่าสู่สังคมและประเทศ”

ปณิธาน (Determination)
“ม่งุ มั่นจัดการศกึ ษาและวจิ ัย ผลติ นวัตกรและนวัตกรรมที่ทรงคณุ ค่าตอ่ เศรษฐกจิ สังคม และสงิ่ แวดลอ้ ม เพ่อื การพัฒนาประเทศอยา่ งยง่ั ยนื ”

9

คณะเทคโนโลยีการเกษตร (ต่อ)

การจัดการเรยี นการสอน
ภาคปกติ จดั การเรยี นการสอนในเวลาราชการ

อาชพี หลังสาเรจ็ การศกึ ษา
ผู้สาเร็จการศึกษาสามารถประกอบอาชีพตามความถนัดในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน หรือประกอบอาชีพอิสระทางด้านประมง เพาะเลี้ยงสัตว์น้า หรือจาหน่ายผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสัตว์น้า

ดา้ นอาหารผลติ ภณั ฑ์ท่เี ก่ียวขอ้ งกับการเลี้ยงสตั ว์ ในฟารม์ ปศสุ ัตว์ โรงงานอาหารสตั ว์ นกั วิชาการสง่ เสริมทเ่ี กยี่ วขอ้ งกับการเล้ยี งสตั ว์ การวางผงั การออกแบบและการตกแต่ง หรอื ทางานในสถานประกอบการ
ทางด้านจัดสวน ดแู ลสวน หรอื ออกแบบตกแตง่ สถานท่ี เปน็ ตน้
แนวทางการศกึ ษาต่อ

ผสู้ าเร็จการศกึ ษาสามารถศกึ ษาตอ่ ในระดับทสี่ งู ข้นึ ได้ ในสถาบนั การศกึ ษาของรัฐและเอกชนทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ

ขอ้ มูลคณะเทคโนโลยกี ารเกษตร Website : www.agr.rmutt.ac.th ฝา่ ยวิชาการและวิจยั 0 2592 1943, 02592 1955 ตอ่ 2026

10

4. คณะวิศวกรรมศาสตร์

หลกั สตู รวศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ (วศ.บ.) หลักสตู ร 4 ปี โดยมีเงอ่ื นไข ดงั นี้

รบั ผ้ทู ่สี าเร็จการศกึ ษาชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 6 เรยี นกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ไมต่ ่ากวา่ 12 หนว่ ยกิต กลมุ่ สาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ ไม่ต่ากวา่ 22 หน่วยกิต ดงั น้ี

1) เลือกสาขาวชิ าท่ตี ้องการศึกษาในชนั้ ปที ี่ 1 ดงั นี้
1. วิศวกรรมเกษตรอตุ สาหกรรม
2. วิศวกรรมชลประทานและการจดั การน้า
3. วิศวกรรมอาหาร
4. วิศวกรรมอิเล็กทรอนกิ ส์อากาศยาน

2) เลือกสาขาวิชาทตี่ ้องการในชนั้ ปที ่ี 2 โดยใชเ้ กณฑ์ท่ีคณะวิศวกรรมศาสตรก์ าหนด ดังน้ี

1. สอบผ่านรายวิชาพืน้ ฐานทจ่ี าเป็นของสาขาวิชานน้ั ๆ กาหนด

2. ตามความต้องการของนกั ศึกษาในสาขาวชิ าทีจ่ ะเลือกเรียงตามลาดับ

3. เกรดเฉล่ยี สะสม 2 ภาคการศึกษาในชัน้ ปีที่ 1

4. จานวนหน่วยกติ รวมท่สี อบผ่านรวม 2 ภาคการศกึ ษา

5. เงื่อนไขอื่นๆ ทคี่ ณะวิศวกรรมศาสตรจ์ ะดาเนินการพิจารณากาหนดเพ่ิมเติม โดยในชั้นปีท่ี 2 ใหน้ กั ศึกษาเลือกสาขาวิชา ดงั น้ี

หลกั สตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑติ 11 สาขาวชิ า ดงั นี้

1. วศิ วกรรมโยธา 2. วิศวกรรมส่งิ แวดลอ้ ม

3. วิศวกรรมไฟฟา้ 4. วศิ วกรรมเครื่องกล

5. วศิ วกรรมอตุ สาหการ-วิศวกรรมระบบการผลิตอัตโนมัติ 6. วิศวกรรมอุตสาหการ-วศิ วกรรมอุตสาหการและโลจิสติกส์

7. วิศวกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม 8. วิศกวรรมคอมพวิ เตอร์

9. วศิ วกรรมเคมี 10. วศิ วกรรมนวัตกรรมสิง่ ทอ

11 วศิ วกรรมวสั ดุ-วิศวกรรมพอลิเมอร์

11

คณะวศิ วกรรมศาสตร์ (ต่อ) GPAX รายละเอยี ดในการรับ TCAS2 (Quota)
ภาค 5 ภาคการศกึ ษา
หลกั สตู ร / สาขาวชิ า
ไมต่ ่ากว่า GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วฒุ ิที่รับเข้าศึกษา/รายละเอยี ดอน่ื ๆ
หลักสตู รวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) หลกั สตู ร 4 ปี
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต รวม 11 สาขาวิชา ปกติ 20 30 15 35 PAT 2 = 15% ม.6 เรยี นกลุม่ สาระการเรยี นรู้
วิศวกรรมเคมี ปกติ PAT 3 = 20% คณติ ศาสตร์ ไม่ตา่ กว่า 12 หน่วยกิต
วศิ วกรรมโยธา ปกติ กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์
วศิ วกรรมไฟฟ้า ปกติ ไมต่ า่ กว่า 22 หนว่ ยกติ
วศิ วกรรมเคร่ืองกล ปกติ สอบสัมภาษณ์
วศิ วกรรมอุตสาหการ-วิศวกรรมระบบการผลติ อัตโนมัติ ปกติ หมายเหตุ
วศิ วกรรมอตุ สาหการ-วิศวกรรมอุตสาหการและโลจสิ ตกิ ส์ ปกติ 1. เลือกสาขาวิชาในช้นั ปีท่ี 2
วศิ วกรรมอเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละโทรคมนาคม ปกติ 2. สาขาที่ไมร่ ับตาบอดสี
วศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ ปกติ 1) วศิ วกรรมสง่ิ แวดล้อม
วศิ วกรรมสง่ิ แวดล้อม ปกติ 2.50 2) วิศวกรรมเคมี
วิศวกรรมวสั ดุ-วิศวกรรมพอลเิ มอร์ ปกติ 3) วิศวกรรมวัสดุ-วิศวกรรมพอลเิ มอร์
วิศวกรรมนวัตกรรมสง่ิ ทอ ปกติ
วิศวกรรมเกษตรอตุ สาหกรรม ปกติ 20 30 15 35 PAT 2 = 15% ม.6 เรยี นกลุ่มสาระการเรยี นรู้
PAT 3 = 20% คณิตศาสตร์ ไม่ตา่ กว่า 12 หน่วยกติ
วศิ วกรรมชลประทานและการจดั การน้า ปกติ
20 30 15 35 PAT 2 = 15% กลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์
วศิ วกรรมอาหาร ปกติ PAT 3 = 20% ไมต่ า่ กว่า 22 หนว่ ยกิต

วศิ วกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์อากาศยาน ปกติ 20 30 15 35 PAT 2 = 15% สอบสัมภาษณ์
PAT 3 = 20% หมายเหตุ วศิ วกรรมอิเล็กทรอนกิ ส์

20 30 15 35 PAT 2 = 15% อากาศยาน ไมร่ ับตาบอดสี
PAT 3 = 20%

12

คณะวิศวกรรมศาสตร์ (ต่อ)

วิสยั ทัศน์ (Vision)
“คณะวิศวกรรมศาสตร์เปน็ ศูนยก์ ลางการศึกษาด้านวศิ วกรรมศาสตร์ชน้ั นาของประเทศ ผลิตผลงานวิจยั ผลงานวชิ าการ และผลติ กาลงั คนดา้ นวิศวกรรมศาสตรท์ มี่ ีคุณภาพระดบั สากล

โดยเน้นผลิตวศิ วกรนกั ปฏบิ ัติ ทีม่ ีทกั ษะความชานาญ มีความคดิ สรา้ งสรรค์ มีคุณธรรมจริยธรรม สามารถสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ประดษิ ฐ์และนวตั กรรมเพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศ”

ปณธิ าน (Determination)
“องค์กรผลิตวิศวกรนกั ปฏบิ ัติมอื อาชพี ชน้ั นาระดับสากล”

การจดั การเรยี นการสอน
ภาคปกติ จดั การเรยี นการสอนในเวลาราชการ

อาชพี หลังสาเรจ็ การศึกษา
ผู้สาเร็จการศึกษาในสาขาวิศวกรรมศาสตร์ทุกสาขาวิชา จะเปน็ วิศวกรเช่ยี วชาญเฉพาะทางท่ีสามารถปฏิบัติงานในหน่วยงานราชการและเอกชนและยังสามารถประกอบอาชีพอิสระได้

แนวทางการศกึ ษาต่อ
ผู้สาเร็จการศึกษาสามารถศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึนได้ ในสถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชนท้ังในประเทศและต่างประเทศ

ข้อมูลคณะวศิ วกรรมศาสตร์ Website : www.engineer.rmutt.ac.th ฝา่ ยวชิ าการ 0 2549 3403

13

5. คณะบริหารธรุ กจิ

GPAX รายละเอียดในการรับ TCAS2 (Quota)
หลักสูตร / สาขาวิชา ภาค 5 ภาคการศึกษา
ไมต่ ่ากวา่ GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วฒุ ิทร่ี บั เขา้ ศึกษา/รายละเอียดอ่นื ๆ

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑติ (บธ.บ.) หลกั สูตร 4 ปี

การตลาด-การตลาด ปกติ 2.00 20 30 30 20 PAT 1 ม.6 เรียนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ไม่ตา่ กวา่ 6 หน่วยกิต
พเิ ศษ 2.00
การตลาด-การคา้ ปลกี ปกติ 2.00 กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ ไมต่ า่ กวา่ 6 หนว่ ยกิต กลมุ่ สาระ

การตลาด-การจดั นิทรรศการ การเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ไม่ตา่ กวา่ 6 หน่วยกิต กลุม่ สาระการเรยี นรู้
และการตลาดเชงิ กิจกรรม
สงั คม ศาสนา และวัฒนธรรม ไมต่ า่ กว่า 8 หนว่ ยกิต กลมุ่ สาระ

การเรียนรู้สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ไม่ตา่ กวา่ 3 หน่วยกิต กลมุ่ สาระ

20 30 30 20 PAT 1 การเรยี นรศู้ ลิ ปะ ไม่ตา่ กวา่ 3 หน่วยกิต กลุม่ สาระการเรยี นรู้
การงานอาชพี และเทคโนโลยี ไมต่ ่ากวา่ 3 หน่วยกติ และกลุ่มสาระ

การเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ ไมต่ า่ กวา่ 6 หน่วยกติ หรอื การศกึ ษา

นอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย (กศน.)

1. ต้องมีผลการเรยี นเฉลย่ี กล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย / คณติ ศาสตร์

/ วิทยาศาสตร์ / สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม / สขุ ศึกษาและพลศกึ ษา

20 30 30 20 PAT 1 / ศลิ ปะ / ภาษาตา่ งประเทศ / ศลิ ปะ / ภาษาต่างประเทศ แตล่ ะกล่มุ
ไม่ตา่ กวา่ 1

2. ต้องมผี ลการสอบคะแนนรวม ONET

2. ต้องมีผลการสอบ O-NET 01 / 02 /03 / 04 /05

3. ต้องมผี ลการสอบ GAT 1 / GAT 2

4. ตอ้ งมีผลการสอบรวมกนั ของ PAT 1 และ PAT2

5. สอบสัมภาษณ์
6. ไม่รับผพู้ ิการ

14

คณะบริหารธุรกิจ (ต่อ) GPAX รายละเอียดในการรับ TCAS2 (Quota)
ภาค 5 ภาคการศึกษา
หลักสตู ร / สาขาวชิ า ไม่ตา่ กว่า GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วุฒทิ ร่ี ับเขา้ ศกึ ษา/รายละเอยี ดอ่นื ๆ
การจัดการ-การจดั การทรพั ยากร
มนุษย์ ปกติ 2.00 20 30 30 20 PAT 1 ม.6 เรยี นกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ไมต่ ่ากวา่ 6 หน่วยกิต

การจัดการ-นวัตกรรมการจัดการ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ไม่ตา่ กว่า 12 หนว่ ยกิต กลมุ่ สาระ
ธรุ กิจ
การเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ไมต่ า่ กวา่ 12 หน่วยกติ กลุ่มสาระการเรียนรู้

สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม ไมต่ า่ กวา่ 8 หนว่ ยกิต และกลุ่ม

สาระการเรียนรภู้ าษาต่างประเทศ ไม่ตา่ กวา่ 6 หนว่ ยกิต หรือ

การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอัธยาศัย (กศน.)

1. ตอ้ งมีผลการเรยี นเฉลยี่ กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ไมต่ า่ กวา่ 2/

ปกติ 2.00 20 30 30 20 PAT 1 คณิตศาสตร์ ไมต่ า่ กวา่ 2/ วิทยาศาสตรไ์ มต่ ่ากวา่ 1.5 / สังคม ศาสนา
และวัฒนธรรม ไม่ต่ากวา่ 1/ สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ไม่ตา่ กวา่ 1 /

ศลิ ปะ ไมต่ ่ากว่า 1/ ภาษาตา่ งประเทศ ไมต่ า่ กว่า 1

2. ต้องมผี ลการสอบคะแนนรวม ONET

2. ตอ้ งมีผลการสอบ O-NET 01 / 02 /03 / 04 /05

3. ตอ้ งมีผลการสอบ GAT 1 / GAT 2

4. ตอ้ งมีผลการสอบรวมกนั ของ PAT 1 และ PAT2

5. สอบสมั ภาษณ์

6. ไมร่ ับผูพ้ ิการ

15

คณะบริหารธุรกิจ (ตอ่ ) GPAX รายละเอียดในการรับ TCAS2 (Quota)
ภาค 5 ภาคการศึกษา
หลกั สตู ร / สาขาวชิ า ไมต่ า่ กว่า GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วุฒิทร่ี บั เข้าศึกษา/รายละเอยี ดอน่ื ๆ
คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิ
ปกติ 2.00 20 30 30 20 PAT 1 ม.6 เรียนกลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ไม่ตา่ กวา่ 6 หน่วยกิต

กลุม่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์ ไม่ตา่ กวา่ 6 หนว่ ยกิต กลุม่ สาระ

การเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ ไม่ต่ากวา่ 6 หน่วยกติ กล่มุ สาระการเรยี นรู้

สงั คม ศาสนา และวัฒนธรรม ไมต่ า่ กวา่ 8 หน่วยกติ กลมุ่ สาระ

การเรียนรู้ สขุ ศึกษาและพลศึกษา ไม่ตา่ กว่า 3 หนว่ ยกิต กลมุ่ สาระ

การเรยี นรู้ศิลปะ ไมต่ ่ากวา่ 3 หน่วยกิต กล่มุ สาระการเรียนรู้การงาน

อาชีพและเทคโนโลยี ไมต่ ่ากว่า 3 หน่วยกิต และกลุ่มสาระการเรียนรู้

ภาษาตา่ งประเทศ ไม่ต่ากวา่ 6 หน่วยกิต หรือ การศึกษานอกระบบ

และการศึกษา ตามอธั ยาศยั (กศน.)

1. ตอ้ งมีผลการเรยี นเฉลยี่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ไมต่ า่ กว่า 2/

คณิตศาสตร์ ไมต่ า่ กว่า 2/ วทิ ยาศาสตรไ์ มต่ า่ กว่า 1.5 / สงั คม ศาสนา

และวัฒนธรรม ไมต่ ่ากว่า 1/ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ไม่ตา่ กวา่ 1 /

ศลิ ปะ ไม่ต่ากวา่ 1/ ภาษาตา่ งประเทศ ไมต่ ่ากวา่ 1

2. ต้องมผี ลการสอบคะแนนรวม ONET

2. ตอ้ งมผี ลการสอบ O-NET 01 / 02 /03 / 04 /05

3. ตอ้ งมผี ลการสอบ GAT 1 / GAT 2

4. ตอ้ งมีผลการสอบรวมกนั ของ PAT 1 และ PAT2

5. สอบสัมภาษณ์

6. ไมร่ ับผูพ้ ิการ

16

คณะบริหารธรุ กิจ (ต่อ) GPAX รายละเอยี ดในการรบั TCAS2 (Quota)
ภาค 5 ภาคการศึกษา
หลักสูตร / สาขาวชิ า ไม่ต่ากว่า GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วุฒิทีร่ บั เขา้ ศกึ ษา/รายละเอียดอ่ืนๆ
การบริหารธุรกิจระหวา่ งประเทศ
ปกติ 2.00 20 30 30 20 PAT 1 ม.6 เรยี นกลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ไม่ตา่ กวา่ 6 หนว่ ยกิต
การจัดการโลจสิ ติกส์ กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ไม่ต่ากวา่ 12 หน่วยกิต กลมุ่ สาระ
และซัพพลายเชน การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ไม่ตา่ กว่า 6 หน่วยกิตและกล่มุ สาระการเรียนรู้
ภาษาตา่ งประเทศ ไม่ต่ากวา่ 6 หนว่ ยกติ หรอื การศกึ ษานอกระบบ
และการศึกษา ตามอัธยาศยั (กศน.)
1. ต้องมีผลการเรยี นเฉลยี่ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ไมต่ า่ กวา่ 2/
คณิตศาสตร์ ไมต่ ่ากว่า 2/ วทิ ยาศาสตรไ์ มต่ ่ากว่า 2 / สังคม ศาสนา
และวัฒนธรรม ไมต่ า่ กว่า 1/ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ไมต่ า่ กวา่ 1 /
ศิลปะ ไมต่ ่ากวา่ 1/ ภาษาตา่ งประเทศ ไมต่ ่ากวา่ 1
2. ตอ้ งมีผลการสอบคะแนนรวม ONET
2. ตอ้ งมผี ลการสอบ O-NET 01 / 02 /03 / 04 /05
3. ต้องมผี ลการสอบ GAT 1 / GAT 2
4. ตอ้ งมีผลการสอบรวมกนั ของ PAT 1 และ PAT2
5. สอบสมั ภาษณ์
6. ไม่รับผ้พู ิการ
20 30 30 20 PAT 1 ม.6 เรยี นกล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ไมต่ า่ กวา่ 6 หน่วยกติ
ปกติ 2.00 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ไม่ต่ากวา่ 12 หนว่ ยกติ กลมุ่ สาระ

การเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ ไม่ต่ากว่า 18 หนว่ ยกติ และกลมุ่ สาระ
การเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ ไมต่ ่ากวา่ 6 หน่วยกิต หรอื การศกึ ษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั (กศน.)
1. ตอ้ งมีผลการเรยี นเฉลย่ี กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ไมต่ า่ กวา่ 2/
คณติ ศาสตร์ ไมต่ า่ กวา่ 2/ วิทยาศาสตรไ์ มต่ ่ากวา่ 2 / สังคม ศาสนา
และวัฒนธรรม ไมต่ ่ากว่า 1/ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ไม่ตา่ กว่า 1 /
ศิลปะ ไม่ตา่ กว่า 1/ ภาษาต่างประเทศ ไมต่ า่ กว่า 1
2. ต้องมีผลการสอบคะแนนรวม ONET
2. ตอ้ งมีผลการสอบ O-NET 01 / 02 /03 / 04 /05
3. ต้องมีผลการสอบ GAT 1 / GAT 2
4. ตอ้ งมีผลการสอบรวมกนั ของ PAT 1 และ PAT2
5. สอบสัมภาษณ์
6. ไมร่ บั ผู้พกิ าร

17

คณะบรหิ ารธรุ กิจ (ต่อ) GPAX รายละเอียดในการรับ TCAS2 (Quota)
ภาค 5 ภาคการศกึ ษา
หลักสตู ร / สาขาวชิ า ไม่ตา่ กวา่ GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วฒุ ิท่รี ับเข้าศึกษา/รายละเอียดอืน่ ๆ
การเงิน
ปกติ 2.00 20 30 30 20 PAT 1 ม.6 เรียนกลุ่มสาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ ไมต่ า่ กวา่ 12 หน่วยกิต

กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไม่ตา่ กวา่ 12 หนว่ ยกติ และกล่มุ

สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ ไม่ตา่ กวา่ 6 หนว่ ยกิต หรือ

การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (กศน.)

1. ต้องมผี ลการเรยี นเฉลย่ี กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ไมต่ า่ กว่า 2/

คณิตศาสตร์ ไมต่ ่ากวา่ 2/ วทิ ยาศาสตรไ์ มต่ า่ กวา่ 1.5 / สังคม ศาสนา

และวัฒนธรรม ไม่ตา่ กวา่ 1/ สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา ไมต่ า่ กวา่ 1 /

ศลิ ปะ ไม่ตา่ กว่า 1/ ภาษาต่างประเทศ ไมต่ ่ากวา่ 1

2. ตอ้ งมผี ลการสอบคะแนนรวม ONET

2. ต้องมผี ลการสอบ O-NET 01 / 02 /03 / 04 /05

3. ต้องมผี ลการสอบ GAT 1 / GAT 2

4. ตอ้ งมผี ลการสอบรวมกันของ PAT 1 และ PAT2

5. สอบสมั ภาษณ์

6. ไมร่ ับผ้พู ิการ

18

คณะบรหิ ารธุรกิจ (ต่อ)

หลกั สตู ร / สาขาวิชา GPAX รายละเอยี ดในการรับ TCAS2 (Quota)
ภาค 5 ภาคการศึกษา
PAT% PAT Require วุฒิทีร่ ับเขา้ ศกึ ษา/รายละเอียดอน่ื ๆ
ไม่ตา่ กวา่ GPAX% ONET% GAT%

หลกั สูตรบัญชีบัณฑิต (บช.บ.) หลกั สตู ร 4 ปี

บญั ชบี ณั ฑิต ปกติ 2.50 20 30 30 20 PAT 1 ม.6 เรียนกลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ไม่ตา่ กวา่ 6 หนว่ ยกิต
กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ ไมต่ ่ากวา่ 12 หนว่ ยกติ กลมุ่ สาระ

การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ไมต่ า่ กวา่ 12 หนว่ ยกิต และกลุม่ สาระ
การเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ ไมต่ า่ กวา่ 6 หนว่ ยกิต หรือ การศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (กศน.)
1. ตอ้ งมผี ลการเรยี นเฉลยี่ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ไมต่ ่ากวา่ 1/
คณิตศาสตร์ ไมต่ ่ากวา่ 2/ วิทยาศาสตรไ์ มต่ า่ กว่า 1 / สงั คม ศาสนา
และวฒั นธรรม ไมต่ ่ากวา่ 1/ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ไม่ตา่ กว่า 1 /
ศลิ ปะ ไมต่ า่ กว่า 1/การงานอาชีพและเทคโนโลยี ไมต่ า่ กว่า 2
ภาษาต่างประเทศ ไมต่ า่ กว่า 1
2. ตอ้ งมผี ลการสอบคะแนนรวม ONET
2. ตอ้ งมผี ลการสอบ O-NET 01 / 02 /03 / 04 /05
3. ตอ้ งมีผลการสอบ GAT 1 / GAT 2
4. ต้องมผี ลการสอบรวมกันของ PAT 1 และ PAT2
5. สอบสัมภาษณ์
6. ไมร่ ับผูพ้ กิ าร

19

คณะบรหิ ารธรุ กิจ (ตอ่ )

หลักสตู ร / สาขาวชิ า GPAX รายละเอยี ดในการรับ TCAS2 (Quota)
ภาค 5 ภาคการศึกษา
PAT% PAT Require วุฒิทรี่ บั เขา้ ศกึ ษา/รายละเอียดอนื่ ๆ
ไมต่ า่ กว่า GPAX% ONET% GAT%

หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.) หลกั สตู ร 4 ปี

เศรษฐศาสตร์-เศรษฐศาสตรธ์ รุ กจิ ปกติ 2.00 20 30 30 20 PAT 1 ม.6 เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ไม่ตา่ กวา่ 6 หน่วยกติ
กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ ไม่ตา่ กว่า 12 หน่วยกิต กลุ่มสาระ
การเรียนรูว้ ิทยาศาสตร์ ไม่ตา่ กวา่ 6 หน่วยกติ และกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาตา่ งประเทศ ไม่ต่ากวา่ 6 หนว่ ยกติ หรือ การศกึ ษานอกระบบ

และการศึกษาตามอธั ยาศัย (กศน.)
1. ต้องมีผลการเรยี นเฉลย่ี กลุม่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย ไมต่ ่ากวา่ 2/
คณิตศาสตร์ ไมต่ ่ากวา่ 2/ สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม ไมต่ า่ กว่า 1/
สุขศึกษาและพลศึกษา ไมต่ า่ กวา่ 1 / ศิลปะ ไม่ตา่ กว่า 1/
ภาษาตา่ งประเทศ ไม่ตา่ กวา่ 1
2. ตอ้ งมีผลการสอบคะแนนรวม ONET
2. ตอ้ งมีผลการสอบ O-NET 01 / 02 /03 / 04 /05
3. ต้องมผี ลการสอบ GAT 1 / GAT 2
4. ต้องมผี ลการสอบรวมกันของ PAT 1 และ PAT2
5. สอบสัมภาษณ์
6. ไม่รับผูพ้ กิ าร

20

คณะบริหารธุรกิจ (ตอ่ )

หลกั สตู ร / สาขาวิชา GPAX รายละเอียดในการรับ TCAS2 (Quota)
ภาค 5 ภาคการศกึ ษา
PAT% PAT Require วุฒทิ ่รี บั เขา้ ศึกษา/รายละเอยี ดอื่นๆ
ไมต่ ่ากวา่ GPAX% ONET% GAT%

หลกั สูตรบริหารธุรกิจบัณฑติ (บธ.บ.) หลักสูตร 4 ปี

International Business ปกติ 2.00 20 30 30 20 PAT 1 ม.6 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ไมต่ า่ กวา่ 10 หน่วยกติ

Administration หลักสตู รนานาชาติ กลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ไมต่ ่ากวา่ 10 หนว่ ยกติ และกล่มุ

สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ ไมต่ า่ กวา่ 6 หน่วยกิต หรือ

การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (กศน.)

1. ตอ้ งมผี ลการเรยี นเฉลย่ี กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย ไมต่ า่ กวา่ 2/

คณิตศาสตร์ ไมต่ ่ากว่า 2/วทิ ยาศาสตร์ ไม่ตา่ กวา่ 2 / สงั คม ศาสนา

Logistics and Supply Chain ปกติ 2.00 20 30 30 20 PAT 1 และวฒั นธรรม ไม่ต่ากว่า 1/ สุขศกึ ษาและพลศึกษา ไมต่ า่ กว่า 1 /
ศลิ ปะ ไม่ต่ากวา่ 1/การงานอาชีพและเทคโนโลยี ไมต่ ่ากวา่ 1 /
Management หลกั สตู รนานาชาติ
ภาษาตา่ งประเทศ ไมต่ า่ กวา่ 1

2. ตอ้ งมีผลการสอบคะแนนรวม ONET

2. ตอ้ งมีผลการสอบ O-NET 01 / 02 /03 / 04 /05

3. ตอ้ งมีผลการสอบ GAT 1 / GAT 2

4. ต้องมีผลการสอบรวมกันของ PAT 1 และ PAT2

5. สอบสัมภาษณ์

6. ไมร่ ับผ้พู ิการ

21

คณะบรหิ ารธุรกิจ (ตอ่ )

ปรชั ญา (Philosophy)
ม่งุ ม่ันพัฒนาการศกึ ษาทางดา้ นบรหิ ารธุรกิจ ทมี่ ีคุณภาพระดับสากลด้วยเทคโนโลยีท่ที ันสมัย และพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่อง

วิสยั ทศั น์ (Vision)
เป็นผ้นู าดา้ นการศกึ ษาบรหิ ารธรุ กจิ ระดบั สากล

ปณธิ าน (Determination)
มุง่ ม่ันพฒั นาการศึกษาทางด้านบรหิ ารธุรกจิ ที่มคี ณุ ภาพระดับสากลดว้ ยการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

การจดั การเรยี นการสอน
ภาคปกติ จดั การเรียนการสอนในเวลาราชการ

ภาคพิเศษ จดั การเรยี นการสอนในวนั และเวลา ดงั นี้

จนั ทร์ – ศกุ ร์ เวลา 13.00 น. – 21.00 น.

เสาร์ – อาทติ ย์ เวลา 9.00 น. – 17.00 น.

อาชพี หลงั สาเร็จการศึกษา

1. สาขาวิชาการตลาด-วชิ าเอกการตลาด และวิชาเอกการคา้ ปลีก อาชพี ท่สี ามารถประกอบไดห้ ลงั สาเร็จการศกึ ษา ได้แก่ พนกั งานขาย พนักงานฝ่ายการตลาด พนกั งานฝา่ ยจัดซ้อื พนกั งาน
ฝ่ายประชาสมั พนั ธ์ พนักงานวจิ ยั การตลาด พนักงานควบคุมสนิ ค้าคงคลัง พนกั งานจดั แสดงสนิ คา้ และการตกแต่งรา้ น ผู้จดั การฝา่ ยขาย ผจู้ ดั การร้านค้า ผปู้ ระกอบอาชีพอิสระ

2. สาขาวิชาการตลาด-วิชาเอกการจัดนิทรรศการและการตลาดเชิงกิจกรรม อาชีพท่ีสามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา ได้แก่ นักจัดอีเว้นท์ ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ขายฝ่ายจัดเลี้ยงในโรงแรม
รสี อรท์ และบริษทั ทวั่ ไป สามารถกา้ วหน้าไปถึงผจู้ ดั การเจา้ หนา้ ทข่ี ายในองคก์ ร ผปู้ ระสานงานรนื่ เริงในองค์กรท่จี ัดกจิ กรรม การตลาด และบริษทั ท่ดี าเนินการจดั โปรโมชนั่ องคก์ รท่ไี มใ่ ช่ภาครัฐ หรือองคก์ ร
ภาครัฐ สามารถกา้ วหน้าไปสกู่ ารเป็นผจู้ ัดการกิจกรรม และงานรื่นเรงิ

3. สาขาวชิ าการจัดการ อาชีพทสี่ ามารถประกอบได้หลงั สาเร็จการศึกษา ไดแ้ ก่ เจ้าหน้าท่บี รหิ ารในองคก์ ารภาครฐั และภาคเอกชน ผ้บู ริหารระดับตน้ นกั พัฒนาองคก์ าร ผ้ปู ระกอบการ นักบริหาร
ทรพั ยากรมนุษย์ นกั พฒั นาทรัพยกรมนษุ ย์ นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผน นกั บรหิ ารคา่ จา้ งและผลตอบแทน นักแรงงานสัมพนั ธ์

4. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา ได้แก่ นักบริหารจัดการระบบบริการออนไลน์ นักพาณิชยอิเล็กทรอนิกส์ นักออกแบบเว็บไชต์ นักพัฒนา
และบรหิ ารข้อมูลระบบเว็บไซต์ดา้ นพาณชิ ย์อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ประกอบอาชีพอิสระ เจ้าหนา้ ทีค่ อมพวิ เตอร์ (ขา้ ราชการ และเจา้ หนา้ ท่ีของรฐั ) พนกั งานบริษทั ทม่ี ีความรคู้ อมพวิ เตอร์

22

คณะบรหิ ารธรุ กิจ (ตอ่ )

5. สาขาวิชาการเงิน อาชีพทสี่ ามารถประกอบไดห้ ลังสาเร็จการศกึ ษา ได้แก่ เจ้าหน้าที่การเงินขององค์กรธรุ กิจทวั่ ไป เจ้าหนา้ ทกี่ ารตลาดของบริษัทหลกั ทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แหง่ ประเทศไทย
เจา้ หน้าทใ่ี นธนาคารพาณิชย์ เชน่ เจ้าหน้าที่ฝา่ ยการเงนิ และฝา่ ยสนิ เช่อื นักวเิ คราะห์หลกั ทรพั ย์ของบริษทั หลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทย นกั วชิ าการการบัญชีและการเงนิ ของหนว่ ยงาน
ราชการ เจ้าหนา้ ท่ที ป่ี รกึ ษาการวางแผนการเงนิ ส่วนบคุ คลของบริษัทเงินทุน และธนาคารพาณิชย์ เจ้าของกจิ การ / ประกอบอาชีพอสิ ระ

6. หลกั สตู รบัญชีบัณฑติ อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเรจ็ การศึกษา ได้แก่ ผทู้ าบญั ชี ผู้สอบบัญชีรบั อนญุ าต ผสู้ อบบัญชีภาษีอากร นักบัญชตี ้นทนุ นกั บัญชีบรกิ าร นักออกแบบและ
วางระบบสารสนเทศทางการบัญชี นกั วชิ าการด้านการบัญชี พนักงานบัญชขี องหน่วยงานภาครัฐและเอกชน

7 สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ อาชีพท่ีสามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา ได้แก่ เศรษฐกร เจ้าหน้าท่ีวิเคราะห์ นักวิชาการในหน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจ ที่ปรึกษาทางการ เงิน
นักวเิ คราะหใ์ นสถาบันการเงนิ เจา้ หน้าทีว่ างแผนในหน่วยงานภาคเอกชน นักวิจัยและพยากรณ์ทางดา้ นเศรษฐกจิ และธุรกจิ

8. สาขาวิชาการบริหารธรุ กิจระหว่างประเทศ อาชีพท่ีสามารถประกอบได้หลงั สาเร็จการศกึ ษา ได้แก่ เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานระหวา่ งประเทศ เจ้าหน้าทีบ่ ริหารงานด้านในองค์กรธุรกิจระหว่าง
ประเทศ เจา้ หนา้ ทใ่ี นหน่วยงานราชการท่ตี ิดต่อกบั ตา่ งประเทศ นักธรุ กจิ ท่ดี าเนินธรุ กิจทั้งในและต่างประเทศ นกั ธรุ กิจนาเขา้ สง่ ออก นักวชิ าการ นกั ธรุ กิจอิสระ

9. สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา ได้แก่ พนักงานคลังสินค้า พนักงานควบคุมสินค้าคงคลัง พนักงานจัดการการขนส่ง
และกระจายสนิ ค้า พนักงานบริการโลจิสตกิ ส์และซัพลายเชน รับราชการ/รัฐวสิ าหกิจ ประกอบอาชีพอ่นื ๆ ท่ีเก่ยี วข้องกับโลจิสตกิ ส์ ผปู้ ระกอบอาชีพอิสระ

10. หลักสตู รนานาชาติ

-สาขาวิชาการบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา ได้แก่ นักวิชาการ นักวิเคราะห์แผนและนโยบายเศรษฐกิจ นักการตลาดในและต่างประเทศ
เจ้าหนา้ ที่ในหนว่ ยงานองค์กรระหวา่ งประเทศ เจา้ หนา้ ท่ใี นหนว่ ยงานราชการทตี่ ดิ ต่อกับตา่ งประเทศ นกั ธรุ กจิ นาเขา้ – ส่งออก เจ้าของกจิ การ เจ้าหนา้ ทบ่ี รหิ ารงานดา้ นเอกสารในองคก์ รธรุ กจิ ระหวา่ งประเทศ

- สาขาวชิ าการจดั การโลจสิ ตกิ สแ์ ละซพั พลายเชน อาชพี ท่สี ามารถประกอบไดห้ ลังสาเรจ็ การศกึ ษา ได้แก่ พนักงานคลงั สินคา้ และควบคุมสินคา้ คงคลัง พนกั งานจัดการการขนส่งและกระจาย
สินคา้ ประกอบอาชพี ๆ ที่เกย่ี วข้องกบั โลจิสติกส์

แนวทางการศึกษาตอ่
ผู้สาเร็จการศึกษาสามารถศึกษาต่อในระดับท่ีสูงข้ึนได้ ในสถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชนท้ังในประเทศและตา่ งประเทศ

ขอ้ มูลคณะบรหิ ารธรุ กจิ Website : www.bus.rmutt.ac.th ฝ่ายวชิ าการ 0 2549 3234

23

6. คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์

หลักสตู ร / สาขาวชิ า ภาค GPAX รายละเอียดในการรบั TCAS2 (Quota)
5 ภาคการศึกษา
PAT% PAT Require วฒุ ิที่รบั เขา้ ศึกษา/รายละเอียดอื่นๆ
ไม่ต่ากวา่ GPAX% ONET% GAT%

หลกั สตู รคหกรรมศาสตรบัณฑิต (คศ.บ.) หลกั สตู ร 4 ปี

การออกแบบแฟช่ันและนวตั กรรม ปกติ 2.25 20 30 10 40 PAT 1 = 10% ม.6 ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้
เคร่ืองแต่งกาย PAT 2 = 30% สอบสมั ภาษณ์

อาหารและโภชนาการ ปกติ 2.50 20 30 10 40 PAT 1 = 10%
PAT 2 = 30%

ศิลปประดษิ ฐใ์ นงานคหกรรมศาสตร์ ปกติ 2.25 20 30 10 40 PAT 1 = 10%
PAT 2 = 30%

หลักสตู รศกึ ษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) หลักสูตร 4 ปี

การศกึ ษาปฐมวัย ปกติ 2.50 20 30 20 30 PAT 5

ปรัชญา (Philosophy)
คณะเทคโนโลยีคหกรรมศาสตร์ จัดการศึกษาโดยมงุ่ พฒั นากาลังคนดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ใหม้ ีความสามารถทางวชิ าการและทักษะดา้ นวชิ าชีพใหก้ ับประเทศไทยและภมู ิภาค

วสิ ัยทศั น์ (Vision)
เปน็ ผู้นาดา้ นคหกรรมศาสตร์ ผลติ บณั ฑติ นกั ปฏบิ ัติสร้างสรรคน์ วัตกรรมบนพน้ื ฐานปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง กา้ วสู่ระดบั สากล

ปณธิ าน (Determination)
มุ่งมัน่ จดั การศกึ ษาวชิ าชพี คหกรรมศาสตร์ ท่ีมคี ณุ ภาพดว้ ยการพัฒนาอยา่ งตอ่ เน่ือง

การจดั การเรียนการสอน
ภาคปกติ จดั การเรียนการสอนในเวลาราชการ

แนวทางการศึกษาต่อ
ผ้สู าเรจ็ การศึกษาสามารถศึกษาต่อในระดบั ท่สี งู ขนึ้ ได้ ในสถาบนั การศึกษาของรัฐและเอกชนทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ

ข้อมูลคณะเทคโนโลยคี หกรรมศาสตร์ Website : www.het.rmutt.ac.th ฝ่ายวชิ าการและวจิ ยั 0 2549 3153

24

7. คณะศิลปกรรมศาสตร์

หลกั สตู ร / สาขาวิชา GPAX รายละเอียดในการรบั TCAS2 (Quota) ทกั ษะนาเสนอ
ภาค 5 ภาคการศึกษา
ไม่ตา่ กว่า GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วุฒิทรี่ ับเข้าศึกษา/รายละเอยี ดอื่นๆ

หลักสตู รศลิ ปบัณฑิต (ศล.บ.) หลกั สตู ร 4 ปี

จติ รกรรม ปกติ 2.50 20 30 10 40 PAT 6 ม.6 ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ สอบสมั ภาษณ์
และสอบทักษะปฏบิ ตั ิ
ทัศนศลิ ป์ ปกติ 2.50 20 30 10 40 PAT 6 ม.6 ทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทางดา้ นทศั นศิลป์

ศิลปะไทย ปกติ 2.50 20 30 10 40 PAT 6 ม.6 ทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สอบสมั ภาษณ์
และสอบทักษะปฏบิ ตั ิ
ออกแบบนิเทศศิลป์ ปกติ 2.75 20 30 10 40 PAT 6 ม.6 ทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ทางดา้ นทศั นศลิ ป์

ออกแบบผลิตภัณฑ์ ปกติ 2.50 20 30 10 40 PAT 6 ม.6 ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ สอบสมั ภาษณ์
และสอบทกั ษะปฏบิ ัติ
ออกแบบภายใน ปกติ 2.70 20 30 10 40 PAT 6 ม.6 ทกุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้ ทางดา้ นทัศนศลิ ป์

นวัตกรรมการออกแบบผลติ ภัณฑ์ ปกติ 2.50 20 30 10 40 PAT 6 ม.6 ทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ สอบสัมภาษณ์
รว่ มสมยั และสอบทักษะปฏบิ ัติ
ทางดา้ นออกแบบ

สอบสมั ภาษณ์
และสอบทักษะปฏบิ ตั ิ
ทางดา้ นออกแบบ

สอบสัมภาษณ์
และสอบทกั ษะปฏบิ ตั ิ
ทางดา้ นออกแบบ

สอบสัมภาษณ์
และสอบทักษะปฏบิ ัติ
ทางดา้ นออกแบบ

25

คณะศิลปกรรมศาสตร์ (ตอ่ )

หลกั สูตร / สาขาวิชา GPAX รายละเอยี ดในการรับ TCAS2 (Quota) ทักษะนาเสนอ
ภาค 5 ภาคการศกึ ษา
ไมต่ ่ากว่า GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วุฒทิ ร่ี บั เข้าศกึ ษา/รายละเอียดอน่ื ๆ สอบสัมภาษณ์
และสอบทกั ษะปฏบิ ตั ิ
หลกั สตู รศกึ ษาศาสตรบัณฑิต (ศษ.บ.) หลักสตู ร 4 ปี ทางดา้ นนาฏศิลป์
สอบสมั ภาษณ์
นาฏศิลป์ไทยศึกษา ปกติ - 20 30 10 40 PAT 5 = 20% ม.6 ทุกกลมุ่ สาระการเรียนรู้ และสอบทักษะปฏบิ ตั ิ
PAT6 = 20% ทางดา้ นดนตรีไทย
และคีตศลิ ปไ์ ทย
ดนตรคี ีตศิลปไ์ ทยศกึ ษา ปกติ - 20 30 10 40 PAT 5 = 20% ม.6 ทกุ กล่มุ สาระการเรียนรู้ สอบสัมภาษณ์
PAT6 = 20% และสอบทกั ษะปฎบิ ัติ
เครื่องดนตรสี ากล
ดนตรคี ีตศิลปส์ ากลศึกษา ปกติ 2.00 20 30 10 40 PAT 5 = 20% ม.6 ทกุ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ หรือทักษะในการขบั รอ้ ง
PAT6 = 20% เพลงในรปู แบบดนตรสี ากล
สอบสัมภาษณ์
ศลิ ปศึกษา ปกติ 2.50 20 30 10 40 PAT 5 = 20% ม.6 ทุกกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ และสอบทักษะปฏบิ ัติ
PAT6 = 20% ทางดา้ นทัศนศลิ ป์

ปรัชญา (Philosophy)
ศิลปกรรมศาสตร์นาความร้สู ่กู ารพฒั นา สร้างรากฐานความเปน็ ไทย

วิสัยทัศน์ (Vision)
“คณะศิลปกรรมศาสตร์เป็นผู้นาในการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพ และพัฒนาแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตด้านศิลปวัฒนธรรมบนพ้ืนฐานของเทคโนโลยีนวัตกรรมระดับชาติและนานาชาติ”

ปณธิ าน (Determination)
มุ่งม่ันจัดการศึกษาวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ ท่ีมีคุณภาพด้ายการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง

26

คณะศิลปกรรมศาสตร์ (ต่อ)

การจัดการเรียนการสอน
ภาคปกติ จัดการเรยี นการสอนในเวลาราชการ

อาชีพหลังสาเรจ็ การศกึ ษา
ภาควชิ าทัศนศิลป์ สาขาวชิ าจติ รกรรม สาขาวชิ าทัศนศิลป์ สาขาวชิ าศลิ ปะไทย
นักศกึ ษาท่สี าเรจ็ การศึกษาสามารถประกอบอาชพี เปน็ ศลิ ปนิ อสิ ระหรอื เป็นนักปฏบิ ตั งิ านศลิ ปใ์ นหน่วยงานภาครฐั และเอกชน สร้างอาชพี อสิ ระโดยใชง้ านศลิ ปะเป็นสื่อ อาทิ เจา้ ของกิจการ

จาหนา่ ยผลงานศิลปะ บรหิ ารงานหอศลิ ป์ นกั ออกแบบสร้างสรรค์ งานศิลปะบนคอมพิวเตอร์ บริหารงานพมิ พเ์ ชงิ ศิลปะ เปน็ นักอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวตั ถุ นักประวตั ิศาสตร์ศลิ ปะ เปน็ วทิ ยากร
และบุคลากรทางการศึกษาด้านทัศนศิลป์ เปน็ ตน้

ภาควชิ าศิลปะการออกแบบและเทคโนโลยี สาขาวชิ าออกแบบผลติ ภณั ฑ์ สาขาวชิ าออกแบบภายใน สาขาวชิ านวัตกรรมการออกแบบผลิตภณั ฑร์ ่วมสมยั สาขาวชิ าออกแบบนิเทศศิลป์
นกั ศึกษาทส่ี าเรจ็ การศกึ ษาสามารถประกอบอาชพี เปน็ นักออกแบบสร้างสรรค์ทง้ั สอ่ื กราฟฟกิ ส่อื โฆษณา สือ่ ประชาสัมพนั ธ์ สงิ่ พมิ พ์ ออกแบบผลิตภณั ฑ์ มัณฑนากร นกั สรา้ งสรรคผ์ ลติ ภัณฑต์ ามสาขาวชิ า
เปน็ เจา้ ของกิจการ หรือทางานในหน่วยงานภาครฐั และเอกชน เปน็ ตน้ ////////////////////////////
ภาควิชานาฏดุริยางคศลิ ป์ สาขาวิชานาฏศิลป์ไทยศึกษา สาขาวชิ าดนตรีคีตศลิ ป์ไทยศึกษา สาขาวิชาดนตรคี ีตศลิ ป์สากลศึกษา นกั ศกึ ษาสาเรจ็ การศึกษาจะสามารถไปสอบเพ่ือขอรบั ใบประกอบวชิ าชพี
ครู / อาจารย์ในสาขาวิชาทีเ่ รียน นกั วชิ าการ วิทยากร นาฏศิลปนิ และประกอบอาชพี อสิ ระทางดา้ นนาฏศลิ ป์-ดนตรีไทย-สากล ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนทงั้ ในประเทศ และต่างประเทศ
สาขาวิชาศลิ ปศึกษา สามารถประกอบอาชีพเปน็ ครผู ้สู อน อาจารย์ บคุ ลากรทางการศึกษา นักวิชาการดา้ นการศึกษา ผู้ออกแบบสอ่ื และอปุ กรณ์การเรียนการสอนศลิ ปะ ผ้ปู ระกอบการธุรกจิ
ด้านการศกึ ษา นักสรา้ งสรรคง์ านศิลปะ

แนวทางการศึกษาตอ่
ผู้สาเร็จการศึกษาสามารถศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นได้ ในสถาบันการศึกษาของรัฐและเอกชนท้ังในประเทศและต่างประเทศ

ข้อมูลคณะศลิ ปกรรมศาสตร์ Website : www.fa.rmutt.ac.th ฝ่ายวิชาการและวจิ ยั 0 2549 3273

27

8. คณะเทคโนโลยสี ่อื สารมวลชน

GPAX รายละเอยี ดในการรบั TCAS2 (Quota)
หลกั สูตร / สาขาวชิ า ภาค 5 ภาคการศกึ ษา
ไม่ต่ากว่า GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วฒุ ทิ ีร่ บั เขา้ ศกึ ษา/รายละเอยี ดอื่นๆ

หลกั สตู รเทคโนโลยีบัณฑติ (ทล.บ.) หลักสูตร 4 ปี

เทคโนโลยกี ารถา่ ยภาพ ปกติ 2.00 20 30 10 40 PAT 1 = 10% ม.6 เรียนกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ ไม่ตา่ กว่า 8 หน่วยกติ
และภาพยนตร์ ปกติ 2.50 PAT 2 = 30% และกลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ ไมต่ า่ กวา่ 8 หนว่ ยกติ
เทคโนโลยีการโทรทัศน์ ปกติ 2.00
และวทิ ยกุ ระจายเสยี ง ปกติ 2.30 20 30 10 40 PAT 1 = 10% หรือการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (กศน.)
เทคโนโลยมี ลั ติมีเดีย ปกติ 2.00 PAT 2 = 30% 1. สอบสัมภาษณ์
ปกติ 2.00
เทคโนโลยสี ่อื ดจิ ทิ ลั พิเศษ 2.00 20 30 10 40 PAT 1 = 10% 2. ต้องมีผลการสอบ ONET
พเิ ศษ 2.00 PAT 2 = 30% หมายเหตุ : เทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์ ไมร่ บั
เทคโนโลยีการพิมพด์ จิ ิทลั
และบรรจุภัณฑ์ 20 30 10 40 PAT 1 = 10% ผูส้ มคั รตาบอดสี ท้งั ภาคปกติและภาคพเิ ศษ
เทคโนโลยีการโฆษณา PAT 2 = 30%
และประชาสมั พนั ธ์
เทคโนโลยกี ารถ่ายภาพ 20 30 10 40 PAT 1 = 10%
และภาพยนตร์ PAT 2 = 30%
เทคโนโลยีมลั ติมีเดีย
20 30 10 40 PAT 1 = 10%
PAT 2 = 30%

20 30 10 40 PAT 1 = 10%
PAT 2 = 30%

20 30 10 40 PAT 1 = 10%
PAT 2 = 30%

28

คณะเทคโนโลยีสอื่ สารมวลชน (ต่อ)

วิสัยทศั น์ (Vision)
เป็นสถานศึกษาช้ันนาด้านเทคโนโลยีส่ือสารมวลชนที่มีความแข็งแกร่งในระดับประเทศและก้าวสู่ระดับภูมิภาคและระดบั สากล

การจัดการเรียนการสอน

ภาคปกติ จดั การเรยี นการสอนในเวลาราชการ

ภาคพิเศษ จัดการเรียนการสอนในวนั และเวลา ดังน้ี

จนั ทร์ – ศุกร์ เวลา 13.00 น. – 21.00 น.

เสาร์ – อาทติ ย์ เวลา 9.00 น. – 17.00 น.

อาชีพหลังสาเรจ็ การศกึ ษา

ผู้สาเร็จการศึกษา สามารถประกอบอาชพี ได้ในหนว่ ยงานภาครัฐ และเอกชน รวมทั้งสามารถสร้างงานของตนเองเป็นอาชีพอิสระไดต้ ามความถนดั ในวิชาชีพสาขาที่ได้ศกึ ษา ได้แก่ นักออกแบบ
ส่งิ พิมพ์และทาแมพ่ ิมพ์ นกั เทคโนโลยที างการผลติ สง่ิ พิมพ์และบรรจภุ ณั ฑ์ดว้ ยระบบการพมิ พต์ ่าง ๆ นักเทคโนโลยที างการผลิตกระดาษและหมึกพิมพ์ ผปู้ ระสานงานและควบคมุ การผลติ สิ่งพมิ พ์
นกั ปฏบิ ตั งิ านด้านหลังการพิมพ์

แนวทางการศกึ ษาตอ่
ผู้สาเรจ็ การศกึ ษาสามารถศึกษาต่อในระดบั ทส่ี งู ขึน้ ได้ ในสถาบนั การศึกษาของรัฐและเอกชนทงั้ ในประเทศและตา่ งประเทศ

ขอ้ มูลคณะเทคโนโลยสี ือ่ สารมวลชน Website : www.mct.rmutt.ac.th ฝา่ ยวชิ าการและวิจยั 0 2549 4505

29

9. คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

หลกั สตู ร / สาขาวิชา GPAX รายละเอยี ดในการรับ TCAS2 (Quota) ทักษะนาเสนอ
ภาค 5 ภาคการศกึ ษา

ไม่ตา่ กวา่ GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วุฒทิ ร่ี ับเขา้ ศกึ ษา/รายละเอยี ดอน่ื ๆ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) หลักสูตร 4 ปี

คณติ ศาสตรป์ ระยกุ ต์ ปกติ 2.00 100 - - - - ม.6 เรียนกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ สอบสมั ภาษณ์
ชวี วทิ ยาประยกุ ต์ และ GPAX กลุ่ม ไมต่ ่ากว่า 6 หน่วยกติ และกล่มุ สาระ
สาระการเรียนรู้ การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ไม่ต่ากวา่ 6 หน่วยกิต
สถิติประยกุ ต์ คณติ ศาสตร์ ไมร่ ับผพู้ ิการ
เคมปี ระยุกต์ ไม่ต่ากว่า 2.00
- ม.6 เรียนกล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ สอบสมั ภาษณ์
ปกติ 2.00 100 - - - ไม่ต่ากว่า 9 หน่วยกิตและกลุ่มสาระ
การเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ ไม่ตา่ กวา่ 9 หนว่ ยกิต
ปกติ 2.00 100 - - - หรอื การศึกษานอกระบบหรือการศึกษาตาม
อัธยาศัย (กศน.)
ปกติ 2.00 70 30 - - ไมร่ ับผ้สู มัครตาบอดสี
ไม่รับผู้พิการ

- ม.6 ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ โดยตอ้ งเรียน สอบสัมภาษณ์
กลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ไม่ตา่ กวา่
6 หน่วยกิต และกลุ่มสาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์ไมต่ า่ กวา่ 6 หน่วยกิต
ไมร่ ับผูพ้ กิ าร

- ม.6 ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ โดยต้องเรียน สอบสมั ภาษณ์
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ไมต่ ่ากวา่
6 หน่วยกติ และกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
วิทยาศาสตร์ไม่ตา่ กวา่ 6 หนว่ ยกติ
ไม่รับผ้สู มัครตาบอดสี
ไมร่ บั ผ้พู กิ าร

30

คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ตอ่ )

หลกั สตู ร / สาขาวชิ า ภาค GPAX รายละเอียดในการรับ TCAS2 (Quota)
5 ภาคการศึกษา
GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วฒุ ทิ ีร่ ับเขา้ ศกึ ษา/รายละเอยี ดอืน่ ๆ ทักษะนาเสนอ
ไมต่ า่ กว่า 60 30 10
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ปกติ 2.00 - - ม.6 เรียนกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ สอบสมั ภาษณ์
ดิจทิ ลั
2.00 ไมต่ า่ กว่า 9 หน่วยกิตและกลุ่มสาระการเรียนรู้

2.00 วทิ ยาศาสตร์ ไมต่ า่ กว่า 6 หนว่ ยกิต
2.00
2.50 ไม่รบั ผ้พู กิ าร

วทิ ยาการคอมพิวเตอร์ ปกติ 20 30 10 40 PAT1=20% ม.6 เรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์ นาเสนอเรอื่ งท่ี

PAT2=20% ไม่ตา่ กว่า 15 หน่วยกิต และกลุ่มสาระ สนใจผา่ นเวบ็ ไซต์

การเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์ ไม่ตา่ กวา่ 20 หน่วยกิต บล็อค วีดโี อ

ไม่รับผู้พิการ หรอื ช่องยูทปู

ฟสิ กิ สป์ ระยกุ ต์-เทคโนโลยีเคร่ืองมือวัด ปกติ 100 - - - - ม.6 ทกุ กลุม่ สาระการเรียนรู้ สอบสมั ภาษณ์
ปกติ 100 - -
ฟิสิกส์ประยกุ ต์ –นวัตกรรมวัสดุ ปกติ 50 50 - ไมร่ บั ผู้พกิ าร
และนาโนเทคโนโลยี
วทิ ยาศาสตร์และการจดั การ - - ม.6 ทกุ กลุม่ สาระการเรียนรู้ สอบสัมภาษณ์
เทคโนโลยอี าหาร
ไม่รบั ผพู้ ิการ

- - ม.6 เรียนกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ สอบสมั ภาษณ์

ไม่ตา่ กว่า 12 หน่วยกติ กลุ่มสาระการเรียนรู้

วทิ ยาศาสตร์ ไมต่ า่ กวา่ 22 หนว่ ยกติ

ไมร่ ับผ้สู มัครตาบอดสี

ไม่รบั ผพู้ ิการ

31

หลักสูตร / สาขาวชิ า GPAX รายละเอยี ดในการรบั TCAS2 (Quota)
ภาค 5 ภาคการศกึ ษา
การวเิ คราะห์และจัดการข้อมลู ไม่ตา่ กวา่ GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วฒุ ทิ ี่รบั เขา้ ศึกษา/รายละเอยี ดอ่ืนๆ ทกั ษะนาเสนอ
ขนาดใหญ่
ปกติ 2.25 50 50 - - - ม.6 เรียนกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ สอบสัมภาษณ์
ไม่ต่ากว่า 15 หนว่ ยกติ กลุม่ สาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์ ไม่ตา่ กว่า 6 หนว่ ยกติ หรือ
การศึกษานอกระบบหรือการศกึ ษาตาม
อธั ยาศยั (กศน.)
ไม่รับผู้พกิ าร

ปรัชญา (Philosophy)
“มุ่งเนน้ การพฒั นากาลังคนดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ใหม้ ที กั ษะและความเช่ียวชาญดา้ นวิชาชพี สสู่ ากล”

วสิ ัยทศั น์ (Vision)
“คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เป็นคณะท่ผี ลติ บณั ฑิตนักปฏบิ ัตมิ ืออาชีพชน้ั นา ด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี

และนวัตกรรมในระดบั ประเทศและกา้ วสู่ระดับสากล”

ปณธิ าน (Determination)
“มุ่งมัน่ จัดการศึกษาวชิ าชพี ดา้ นวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีที่มคี ุณภาพดว้ ยการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง”

การจดั การเรยี นการสอน
ภาคปกติ จดั การเรยี นการสอนในเวลาราชการ

อาชพี หลงั สาเรจ็ การศึกษา
ครู อาจารย์ในสถาบันการศึกษา นักวิจัย นักวิชาการและนักวิเคราะห์ข้อมูล ในหน่วยงานภาครัฐและเอกชนนักวิทยาศาสตร์ในหน่วยงานภาครฐั และเอกชน อาชพี เฉพาะทางได้แก่ นักวิเคราะห์

และควบคมุ คุณภาพการผลติ ในอุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมอาหารและอุตสาหกรรมเกษตร อุตสาหกรรมผลิตและแปรรูปผลติ ภณั ฑ์ อุตสาหกรรมอิเลก็ ทรอนกิ ส์ พนกั งานตรวจสอบวเิ คราะหร์ งั สี
เจ้าหนา้ ทีพ่ สิ จู น์หลกั ฐาน เจ้าหน้าทสี่ อบเทยี บเครอ่ื งมอื นักคณติ ศาสตร์ประกนั ภัย นกั สถิติประกนั ภยั นักเทคโนโลยีสารสนเทศสถติ ิ นักพฒั นาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ นกั วิเคราะหแ์ ละออกแบบงานสารสนเทศ
นักพฒั นาเว็บไซต์ เจา้ หนา้ ท่ดี แู ลระบบสารสนเทศ นกั วิทยาการข้อมลู ประกอบอาชีพอิสระ

แนวทางการศึกษาต่อ
ผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาสามารถศึกษาต่อในระดบั ท่สี งู ขึน้ ได้ ในสถาบนั การศึกษาของรฐั และเอกชนทง้ั ในประเทศและตา่ งประเทศ

ขอ้ มูลคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี Website : www.sci.rmutt.ac.th ฝ่ายวชิ าการ 0 2549 4143

32

10. คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์

GPAX รายละเอยี ดในการรบั TCAS2 (Quota)
PAT% PAT Require วฒุ ิท่ีรับเข้าศึกษา/รายละเอียดอนื่ ๆ
หลกั สตู ร / สาขาวิชา ภาค 5 ภาคการศึกษา GPAX% ONET% GAT% ทกั ษะนาเสนอ
ไมต่ ่ากว่า 20 30 10 40 PAT4 ม.6 ทกุ กลุม่ สาระการเรยี นรู้
20 30 10 สอบทักษะทางดา้ น
หลักสตู รสถาปตั ยกรรมศาสตรบัณฑิต (สถ.บ.) หลกั สูตร 5 ปี 40 PAT4 ม.6 ทุกกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ศลิ ปะการออกแบบ
และสอบสมั ภาษณ์
สถาปตั ยกรรม ปกติ 2.00 สอบทกั ษะทางดา้ น
ศิลปะการออกแบบ
สถาปตั ยกรรมภายใน ปกติ 2.00 และสอบสมั ภาษณ์

ปรชั ญา (Philosophy)
สรา้ งสรรค์นวัตกรรมความรู้ด้านสถาปัตยกรรม สู่การปฏบิ ตั ิและพัฒนา

วสิ ัยทศั น์ (Vision)
เปน็ ผ้นู าดา้ นการศกึ ษาสถาปตั ยกรรม ด้วยเทคโนโลยแี ละนวัตกรรมการออกแบบส่เู ศรษฐกจิ สร้างสรรค์

ปณิธาน (Determination)
สรา้ งสรรค์นวตั กรรมการศกึ ษาทางดา้ นสถาปัตยกรรม เพ่อื พัฒนาและตอบรบั เศรษฐกิจสร้างสรรค์

การจดั การเรียนการสอน
ภาคปกติ จัดการเรยี นการสอนในเวลาราชการ

อาชพี หลงั สาเร็จการศึกษา สานกั งานสถาปนกิ ออกแบบ สานักงานทป่ี รกึ ษา บรษิ ัทรบั เหมากอ่ สรา้ ง บริษทั ผลิตวสั ดุกอ่ สร้าง บริษทั พัฒนาอสงั หาริมทรพั ย์
เอกชน นายชา่ งสถาปนิก ฝ่ายโยธาในสว่ นราชการกระทรวงต่าง ๆ หรอื องคก์ ารบริหารสว่ นท้องถน่ิ
รับราชการ สถาปนิกอสิ ระ จัดตั้งสานักงานสถาปนกิ หรอื บรษิ ทั รับเหมากอ่ สร้าง
อาชีพอิสระ

แนวทางการศึกษาต่อ
ผู้สาเร็จการศึกษาสามารถศึกษาตอ่ ระดับปรญิ ญาโทและปริญญาเอก ในสาขาสถาปัตยกรรมทกุ สาขา ในสถาบนั การศกึ ษาของรฐั และเอกชนทัง้ ในประเทศและตา่ งประเทศ

ขอ้ มูลคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ Website : www.arch.rmutt.ac.th ฝ่ายวชิ าการ 0 2549 4777

33

11. คณะพยาบาลศาสตร์

GPAX รายละเอียดในการรับ TCAS2 (Quota)
หลักสตู ร / สาขาวชิ า ภาค 5 ภาคการศึกษา
ไมต่ ่ากวา่ GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วุฒทิ ่ีรับเขา้ ศกึ ษา/รายละเอียดอนื่ ๆ

หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต (พย.บ.) หลักสูตร 4 ปี

พยาบาลศาสตรบณั ฑติ ปกติ 2.00 20 30 20 30 PAT 2 กาลงั ศึกษาหรอื สาเรจ็ การศึกษาระดบั ช้นั ม. 6 ทกุ กล่มุ สาระ

การเรยี นรู้ (ไมร่ ับ กศน.)
1. สอบสมั ภาษณ์
2. ส่วนสงู ไม่นอ้ ยกว่า 150 เซนตเิ มตร
3. น้าหนกั ไม่ตา่ กวา่ 40 กโิ ลกรมั และไม่เกิน 80 กิโลกรมั
4. คา่ ดชั นมี วลกาย ต้องไม่ตา่ กวา่ 17 และไมส่ งู กว่า 30
ในวันสอบสมั ภาษณใ์ หน้ าผลการตรวจสขุ ภาพ ตามแบบฟอรม์
ท่ี www.nurse.rmutt.ac.th จากโรงพยาบาลของรัฐบาล
หรอื โรงพยาบาลเอกชน (ยกเวน้ คลนี ิค) เพ่ือประกอบ

การสอบสมั ภาษณ์ด้วย

34

คณะพยาบาลศาสตร์ (ต่อ)

ปรัชญา (Philosophy)
“คณะพยาบาลศาสตร์ มคี วามเชื่อวา่ การพยาบาลเป็นวิชาชีพทต่ี ้องมีความรู้ในศาสตรแ์ ละศิลปส์ าขาการพยาบาลและสาขาอื่นที่เกีย่ วขอ้ ง รวมท้งั สามารถบรู ณาการเทคโนโลยี

สารสนเทศและนวตั กรรมสูก่ ารปฏบิ ัตกิ ารพยาบาลแบบองค์รวมที่มคี ุณภาพ คุณธรรม จรรยาบรรณ และการมคี วามรู้ ความสามารถ ทักษะ ในการปฏิบตั ิการพยาบาล ทักษะสร้างนวตั กรรม
การส่อื สารภาษาอังกฤษ จาเปน็ ต้องมีการเรียนรจู้ ากประสบการณก์ ารใฝร่ ู้และฝึกฝนพฒั นาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ โดยได้รบั การเอ้ืออานวยโอกาส ทรัพยากร บรรยากาศ และเสรภี าพ
ในการเรยี นรู้”

วิสยั ทศั น์ (Vision)
“คณะพยาบาลศาสตร์ เป็นสถาบันการศกึ ษาทม่ี ุ่งสร้างบณั ฑิต ให้มคี วามเปน็ เลิศทางวิชาการ และทักษะในการปฏิบตั ิวชิ าชพี ทางการพยาบาล กอปรดว้ ยคุณธรรม และจรรยาบรรณ

วิชาชพี มีคณุ ภาพเปน็ ที่ยอมรบั ในระดับประเทศและกา้ วสู่ระดับสากล”

ปณิธาน (Determination)
“มงุ่ มนั่ ผลติ บณั ฑติ พยาบาลที่มีความรู้ ความสามารถ ทักษะในการปฏบิ ตั ิการพยาบาลอย่างมีมาตรฐานวชิ าชีพและมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมในการพยาบาล สามารถปรับตัว ในการดาเนนิ

ชีวติ อยใู่ นสงั คมได้อย่างมีความสุข”

การจัดการเรยี นการสอน
ภาคปกติ จดั การเรียนการสอนในเวลาราชการ

อาชพี หลังสาเรจ็ การศกึ ษา
ผสู้ าเร็จการศึกษา สามารถประกอบอาชีพเปน็ พยาบาลได้ทัง้ ในหนว่ ยงานภาครัฐ และเอกชน

แนวทางการศึกษาตอ่
ผสู้ าเร็จการศึกษาสามารถศกึ ษาตอ่ ในระดับที่สงู ขึน้ ได้ ในสถาบนั การศึกษาของรัฐและเอกชนทง้ั ในประเทศและต่างประเทศ

ขอ้ มูลคณะพยาบาลศาสตร์ www.nurse.rmutt.ac.th งานทะเบียนประมวลผลและสารสนเทศ 0 2549 3109

35

12. วทิ ยาลยั การแพทย์แผนไทย

GPAX รายละเอยี ดในการรับ TCAS2 (Quota)
หลักสตู ร / สาขาวชิ า ภาค 5 ภาคการศึกษา
ไมต่ า่ กวา่ GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วุฒทิ ีร่ บั เข้าศึกษา/รายละเอียดอ่ืนๆ

หลกั สูตรการแพทย์แผนไทยประยกุ ต์บัณฑิต (พทป.บ.) หลักสูตร 4 ปี

การแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์บัณฑติ ปกติ 2.75 20 30 20 30 PAT 2 ม.6 เรียนกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ ไมต่ า่ กว่า 12 หนว่ ยกติ
อาชีพหลังสาเรจ็ การศึกษา
กล่มุ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ ไมต่ า่ กวา่ 22 หนว่ ยกิต

1. สอบสัมภาษณ์

2. ใบรบั รองแพทย์ (รบั รอง 5 โรค)

1. แพทย์แผนไทยประยุกต์ปฏบิ ตั งิ านในสถานบริการภาครัฐและภาคเอกชน หรือโรงงานผลติ ยาสมุนไพร

2. ผู้ประกอบกจิ การสถานพยาบาลการแพทยแ์ ผนไทยประยุกต์

3. ผ้ปู ระกอบการธุรกิจสมนุ ไพร/สุขภาพ

4. ทป่ี รกึ ษาด้านสุขภาพ

5. นักวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ นักวชิ าการ/นักวิทยาศาสตร์

36

วิทยาลัยการแพทย์แผนไทย (ตอ่ )

GPAX รายละเอียดในการรับ TCAS2 (Quota)
หลกั สูตร / สาขาวิชา ภาค 5 ภาคการศกึ ษา
ไม่ตา่ กวา่ GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วุฒทิ ร่ี บั เขา้ ศึกษา/รายละเอยี ดอืน่ ๆ

หลกั สตู รวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) หลักสตู ร 4 ปี

สขุ ภาพและความงาม ปกติ 2.00 20 30 20 30 PAT 2 ม. 6 ทกุ กลุม่ สาระการเรียนรู้ หรอื การศกึ ษานอกระบบ
อาชพี หลงั สาเรจ็ การศกึ ษา
และการศึกษาตามอัธยาศยั (กศน)

1. สอบสัมภาษณ์

2. ไม่รับตาบอดสี

3. ไมร่ บั พกิ ารทางรา่ งกาย

1. ผจู้ ดั การธุรกจิ สุขภาพและความงาม เชน่ Spa manager และ Beauty manager

2. ผูฝ้ ึกสอนทางด้านสุขภาพและความงาม เชน่ Beauty trainer, Spa trainer และ Wellness health coach เป็นต้น

3. บุคลากรในธรุ กิจสขุ ภาพและความงาม เช่น Supervisor, Advisor, Wellness counselor, Spa receptionist, Spa therapist และ Beauty

therapist เปน็ ต้น

4. นักวชิ าการศึกษา นักบริหารโครงการวิจัย ครู วิทยากร นักวิจัย และผู้ประสานงานโครงการ เป็นต้น

5. เจ้าของกิจการ เชน่ Aesthetic Health and Spa , Massage Academy หรือ Massage school, Beauty Center, Wellness Center

และ Cosmetic business เปน็ ตน้

37

วทิ ยาลยั การแพทยแ์ ผนไทย (ต่อ)

GPAX รายละเอยี ดในการรับ TCAS2 (Quota)
หลักสตู ร / สาขาวิชา ภาค 5 ภาคการศกึ ษา
ไมต่ ่ากวา่ GPAX% ONET% GAT% PAT% PAT Require วุฒทิ ีร่ บั เขา้ ศึกษา/รายละเอียดอน่ื ๆ

หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต (วท.บ.) หลักสตู ร 4 ปี

นวตั กรรมผลิตภัณฑส์ ุขภาพ ปกติ 2.00 20 30 20 30 PAT 2 ม. 6 ทกุ กลุ่มสาระการเรียนรู้ และต้องมหี นว่ ยกิตกลุ่มสาระ
อาชพี หลังสาเรจ็ การศึกษา
การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ไม่ตา่ กวา่ 12 หน่วยกติ

1. สอบสมั ภาษณ์

2. ไม่รับตาบอดสี

3. ไมร่ บั พกิ ารทางรา่ งกาย

1. นกั วจิ ยั และพฒั นานวัตกรรมผลิตภัณฑ์สขุ ภาพของภาครัฐและเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ

2. ผู้ประกอบการผลิตภณั ฑ์ธรรมชาตเิ พอ่ื สุขภาพ

3. ผู้ควบคมุ การผลิต ผู้ควบคุมคุณภาพและประกันคณุ ภาพผลิตภัณฑธ์ รรมชาตเิ พ่ือสขุ ภาพ

4. นักวิทยาศาสตร์ด้านวตั ถุดิบ และเทคโนโลยีการผลิต ผลิตภัณฑ์ธรรมชาตเิ พ่ือสุขภาพ

5. นกั วิทยาศาสตรป์ ระจาห้องปฏิบัตกิ ารภาครฐั และเอกชน

6. ผ้ใู หค้ าแนะนาด้านสุขภาพด้วยผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ

7. ผูป้ ระกอบการด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาตเิ พื่อสขุ ภาพ

38

วิทยาลยั การแพทย์แผนไทย (ต่อ)

ปรัชญา (Philosophy)
ผลติ นวตั กรรมด้านวิทยาศาสตร์ สุขภาพสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม

วิสยั ทัศน์ (Vision)
ผลติ นวัตกรและสรา้ งนวัตกรรมดา้ นวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ ดว้ ยองค์ความรู้จากการวจิ ัยเพ่ือยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตและขบั เคลือ่ นเศรษฐกิจไทยและก้าวส่สู ากล

ปณิธาน (Determination)
จดั การศกึ ษาและวิจยั ดา้ นวทิ ยาศาสตร์สุขภาพ ผลิตนวัตกรและนวัตกรรมเพือ่ การพฒั นาประเทศอยา่ งยั่งยนื

การจัดการเรียนการสอน
ภาคปกติ จดั การเรยี นการสอนในเวลาราชการ

แนวทางการศึกษาตอ่
ผสู้ าเร็จการศกึ ษา สามารถศึกษาตอ่ ระดับปรญิ ญาโทและปริญญาเอก ในสาขาวทิ ยาศาสตร์สุขภาพได้ทกุ สาขา ในสถาบันการศึกษาของรฐั และเอกชนท้ังในประเทศและตา่ งประเทศ

ข้อมูลวิทยาลัยการแพทย์แผนไทย Website : https://www.facebook.com/TMCXRMUTT FACEBOOK : http://www.tmc.rmutt.ac.th
ฝา่ ยวิชาการ โทร. 0 2592 1999 ตอ่ 1430, 1211

39

40

ที่ปรกึ ษา อาจารย์ณชั ติพงศ์ อูทอง
ที่ปรึกษา ผอู้ านวยการสานกั ส่งเสรมิ วิชาการและงานทะเบียน

อาจารยพ์ ัฒณร์ พี สุนนั ทพจน์
รองผูอ้ านวยการสานักสง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบียน

ทมี งานผ้จู ดั พมิ พ์

หัวหนา้ ฝา่ ยรบั เข้าศึกษาและทะเบยี นประวัติ
นางสมจติ ร์ สุวรักษ์

สมาชกิ ฝา่ ยรบั เข้าศกึ ษาและทะเบียนประวัติ
1. นางสาวจติ ราภรณ์ โชติชว่ ง
2. นางณิชาภัทธ นุ่มสุข
3. นางสาวจีรนนั ท์ สุขานนท์

ขอขอบคุณภาพปกจากฝ่ายประมวลผลและสถิตขิ อ้ มูล


Click to View FlipBook Version